1.เพื่อศึกษากลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองระนอง
1.มีการจัดทำแบบสอบถาม
2.มีการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล ทั้ง 3 ตำบลนำร่อง
1.ได้ข้อมูลสถานการณ์ ของเเต่ละพื้นที่
2.ได้ภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.กลุ่มภาค 2.คณะทำงาน
-
-
-
1.เพื่อติดตามประเมินผล สรุป การปฏิบัติงานและตรวจเอกสารพร้อมให้คำเเนะนำ
1.ตรวจเอกสารการเงิน 2.ให้คำเเนะนำในการลงข้อมูลใน website
1.ได้ความรู้ในการลงข้อมูล
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม
1.มีการจัดรายการวิทยุ สวท.ระนอง FM 107.25 MHz ทุกวันอาทิตย์ 11.00-12.00 น. และมีการ live ผ่าน Facebook สวท.ระนอง FM 107.25 MHz 2.มีการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมผ่าน line และ Facebook
มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมข่าวสารในทุกช่องทางทำให้ประชาชนรับรู้ข่าวสารที่เป็นประโยชน์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
1.เพื่อนำเสนอผลการทำงานที่ผ่านมา จุดดี จุดอ่อนของการทำงาน
1.บรรยายชี้เเจงตัวโครงการ 2.เเลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม 3.นำเสนอ 4.สรุปผล
1.ได้ข้อสรุปแนวทางการดำเนินงานต่อไป 2.ได้ภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.กลุ่มภาคีเครือข่ายต่างๆ หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน ประชาชน
-
-
-
1.เพื่อติดตามประเมินผล สรุป การปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
1.นำเสนอผลการดำเนินงาน 2.สรุป ถอดบทเรียน 3.ตรวจเอกสารและรับคำเเนะนำจากทีม สจรส.
1.ได้แนวทางการดำเนินงาน 2.ได้ข้อเสนอแนะในการจัดทำรายงานและรายละเอียดกิจกรรม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.ผู้ประสานงานจังหวัดและทีมเลขา 2.นักวิชาการ 3.เจ้าหน้าที่ สจรส.
-
-
-
1.เพื่อติดตามประเมินผล สรุป การปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
ประชุมชี้เเจงแกนเตรียมงานแบ่งงานและรายงานผล
ได้แผนงานกิจกรรมจากการแลกเปลี่ยน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.ทีมแกนนำ 2.คณะทำงาน
-
-
-
1.มีแผนปฏิบัติการในระดับตำบลนำร่อง
1.มีการบรรยาย 2.แบ่งกลุ่มเเลกเปลี่ยน นำเสนอ 3.รวบรวมเเละเรียบเรียงให้เกิดแผน 4.สรุปแผน
ได้เเผนงานที่ผ่านการกลั่นกรองจากทุกคนในที่ประชุมเเล้ว
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2.หน่วยงานรัฐ เอกชน ประชาชน
-
-
-
1.เพื่อชี้เเจงแนวทางการดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพโดยระบบสุขภาพชุมชน2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลให้สามารถใช้งบจากกองทุนดำเนินการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพๆด้
1.ประชุมสัมนา และบรรยาย 2.ให้ผู้เข้าร่วมได้เเลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอเเนวทางดำเนินงาน
ได้ข้อสรุปและเเนวความคิดต่างๆ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.ภาคเอกชน 3.ภาคประชาสังคม
-
-
-
1.เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นในการเสนอประเด็นแรงงานนนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพเข้าสู่คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมข้อมูล ระดมความคิด สรุปเป็นแผนงานร่วม
1.ได้ข้อมูลสรุปเกี่ยวกับตำบลที่เลือก 2.แผนงานที่ดำเนินการต่อ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.คณะทำงาน 2.หน่วยงานราชการ 3.หน่วยงานภาคประชาสังคม
-
-
-
1.เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
- รายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
- ประชุมพูดคุยทำความเข้าใจและให้นิยาม "แรงงานนอกระบบ" คือใคร
- วางแผนการทำงเนินงานในก้าวต่อไปของโครงการ
ผลผลิต -แกนประสานงานความเข้าใจตรงกันและเห็นเป้าหมายทิศทางในการดำเนินงานโครงการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ผลลัพธ์ - แกนประสานงานสามารถนำ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนประสานงานและทีมประเมิน จำนวน 15 คน
-
-
-
1.จัดตั้งหน่วยรับเรื่องร้องเรียน ม.50(5) ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำร่อง อำเภอละ 3 หน่วย 2.เพื่อให้กระตุ้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแนวทางให้คนในท้องถิ่นเข้าใจกองทุนตำบล
- ขอความร่วมมือที่จะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งหน่วยรับเรื่องร้องเรียน ม.50(5) ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำร่อง อำเภอละ 3 หน่วย
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกียวกับกองทุนตำบล
- ทำอย่างไรให้ประชาชนทุกคนเข้าถึงกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
ผลผลิต - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้รู้ที่ตั้งของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนตำบลในจังหวัดระนอง - เกิดความเขาใจกับกองทุนตำบล
ผลลัพธ์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ผู้ประสานงานศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนตำบลในจังหวัดระนอง -หน่วยรับเรื่องร้องเรียน ม.50(5)จังหวัดระนอง
-
-
-
1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง 2.เพื่อยกระดับการทำงานเชิงยุทธศาสตร์วืิเคราะห์หาจุดคานงัด การสร้างเเคมเปญ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.ชี้เเจงรายละเอียดโครงการ แลความสำคัในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ 2.ให้ความรู้ในเรื่องแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 3.แบ่งกลุ่มระดมความคิด 4.นำเสนอ
1.ได้ข้อเสนอต่างๆ เช่นปัญหาของเเรงงานนอกระบบ ปัญหาสุขภาพ 2.เกิดภาคีเครือข่ายมากขึ้น 3.ทุกตำบลเริ่มเห็นแนวทางในการขับเคลื่อนงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้แทนจาก 6 ภาคส่วน คือ 1.ภาคราชการ 2.ภาควิชาการ 3.ภาคประชาสังคม 4.ภาคเอกชน 5.ภาคสื่อมวลชน 6.อบท.
คนบางกลุ่มยังไม่เข้าใจและให้ความสำคัญในเรื่องนี้มากนัก
1.อยากให้ สสส. จัดอบรมให้แกนจังหวัดแบบเต็มรูปแบบ
ตำบลบางนอน เสนอกลุ่มเเรงงานนอกระบบคือวินมอเตอร์ไซต์ เพราะถ้าหากทำในหลายๆกลุ่มจะดำเนินการยากขึ้นต้องเริ่มจากทีละกลุ่มก่อน
1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง 2.เพื่อยกระดับการทำงานเชิงยุทธศาสตร์วืิเคราะห์หาจุดคานงัด การสร้างเเคมเปญ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.ชี้เเจงรายละเอียดโครงการ แลความสำคัในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ 2.ให้ความรู้ในเรื่องแรงงานนอกระบบและปัจจัยเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 3.แบ่งกลุ่มระดมความคิด 4.นำเสนอ
1.ได้ข้อเสนอต่างๆ เช่นปัญหาของเเรงงานนอกระบบ ปัญหาสุขภาพ 2.เกิดภาคีเครือข่ายมากขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.ภาคราชการ 2.ภาควิชาการ 3.ภาคประชาสังคม 4.ภาคเอกชน
คนบางกลุ่มยังไม่เข้าใจและให้ความสำคัญในเรื่องนี้มากนัก
1.อยากให้ สสส. จัดอบรมให้แกนจังหวัดแบบเต็มรูปแบบ
1.พื้นที่ตำบลบางนอน เสนอให้จัดกิจกรรมนี้ขึ้นอีก 2.พื้นที่ตำบลเขานิเวศน์ เสนอให้มีการประชาสัมพันธ์เรื่องนี้ให้มากขึ้น
1.เพื่อติดตามประเมินผล สรุป การปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
1.ชี้เเจงการประชุมในครั้งแรก 2.รายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.สรุปผล และวางแผน
ได้กลุ่มแกนนำ และแผนงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานแกนประสานงาน
การไม่เข้าในคำจำกัดความ แรงงานนอกระบบ
1.จัดทีมลงมาจัดเวที1 ครั้ง
1.ชี้เเจงความหมายให้ชัดเจน
เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
- ชี้แจ้งความเป็นมาของโครงการ
- ชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
- กำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
- พัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯ ด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง
เกิดแผนปฏิบัติการลงพื้นที่ถอดบทเรียนในแต่ละตำบล
- ตำบลบางนอนวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
- ตำบลเขานิเวศน์วันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
- ตำบลปากน้ำวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
- ตำบลปากน้ำท่าเรือวันที่ ๑๖กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
- ตำบลบางริ้น วันที่ ๑๖กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
คณะทำงานจำนวน 27 คน
-
-
-
เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
- เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
- เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯ ด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง
- เพื่อยกระดับการทำงานเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์หาจุดคานงัด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- เกิดภาคีความร่วมมือ
- ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
- คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
- คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
- เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
-
ได้มีการเสนอโครงลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพแรงงานนอกระบบจังหวัดระนองกับคณะทำงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อเตรียมความพร้อม กลไล คณะทำงาน
นายชยพล บัวดิษ และนายสุชีพ เป็นผู้ดำเนินการหลักในการพูดคุยหารือการวางแผนการดำเนินโครงการ
- ได้แผนการดำเนินงาน
- ได้สร้างความเข้าใจที่ตรงกันกับคณะทำงาน
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
แกนประสานงานจำนวน 12 คน
-
-
-
- รายงานความก้าวหน้าโครงการและตรวจเอกสารการเงิน
- เรียนรู้เรื่องการรายงานกิจกรรมออนไลน์
- เรียนรู้เรื่องเอกสารการเงิน
- เข้าใจการรายงานกิจกรรมออนไลน์
- เข้าใจเรื่องเอกสารการเงิน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน
-
-
-
-
เวทีแลกเปลี่ยนและเสนอแนะแนวทางการสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติ จัดขึ้นวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมทินิดี อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง นายแพทย์นรเทพ อัศวพัชระ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระนอง กล่าวเปิดงาน และมีการผู้คุยแลกเปลี่ยนความรูป และแลกเปลี่ยน
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ตัวแทนจากภาคส่วนต่างที่เกี่ยวข้อง
-
-
-