สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช ”

จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นายเจกะพันธ์พรหมมงคล

ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

ที่อยู่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 60-ข-085 เลขที่ข้อตกลง 60-ข-085

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 60-ข-085 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เปรียบเทียบความชุกของนักดื่มอายุ 15 - 19 ปี พ.ศ.2554 ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 – 19ปีขึ้นไป พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2554 พบว่า จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความชุกเพิ่มขึ้น จากความชุกร้อยละ 10.1เป็นร้อยละ 10.2
- สัดส่วนของนักดื่มแล้วขับขี่ยานพาหนะ พบว่าจังหวัดนครศรีธรรมราช มีความชุกร้อยละ 30.9 - เด็กและเยาวชนอายุระหว่าง ๑๒-๑๖ ปี ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพฤติกรรมการดื่มร้อยละ 22.1
- เด็กและเยาวชนอายุระหว่าง ๑๒-๑๖ ปี ร้อยละ 63.8 รู้จักเพื่อนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 34.7 ส่วนใหญ่ดื่มนานๆ ครั้งร้อยละ 72.5 และดื่ม 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ ร้อยละ 14.3
- เด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรกตอนอายุ 9 ปี อายุเฉลี่ยของการดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรก 12.93
- เด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราชดื่มแอลกอฮอล์ส่วนใหญ่เป็นบ้านเพื่อนร้อยละ 30.9 รองลงมาเป็นบ้านตนเองร้อยละ 28.9 แหล่งท่องเที่ยวร้อยละ 11.4 คอนเสิร์ต
- เด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ดื่มแอลกอฮอล์กับ เพื่อน/ญาติร้อยละ 68.5 รองลงมาเป็นคนอื่นๆ ร้อยละ 14.8 และคนในครอบครัวร้อยละ 8.1

สถานการณ์ด้านการบริโภคยาสูบ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ข้อมูลจากโครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากรไทยปี ๒๕๕๔ โดยสำนักสถิติแห่งชาติพบว่า อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป พ.ศ.๒๕๕๔พบมากที่สุด คือ จังหวัดระนอง ร้อยละ ๒๗.๖๔ จังหวัดนครศรีธรรมราช ร้อยละ ๒๗.๓๘ (เป็นอันดับที่ 2 ) แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปพ.ศ.2554

ด้านอุบัติเหตุ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากงานวิจัยพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของวัยรุ่นในจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง ชาย หญิง อายุระหว่าง 13-18 ปีจำนวน 500 คน พบว่า ไม่นิยมสวมหมวกกันน็อค ร้อยละ 51.2 ไม่นิยมคาดเข็มขัดนิรภัย ร้อยละ 26.4 ด้านการใช้สารเสพติด ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สถานการณ์แพร่ระบาด น้ำต้มพืชกระท่อมยังคงเป็นตัวยาหลักที่แพร่ระบาดในทุกพื้นที่ทั้งในกลุ่มเด็กและเยาวชนผู้ใช้แรงงานทั้งคนไทยและพม่าโดยเฉพาะในช่วงนี้ซึ่งเป็นช่วงปิดภาคเรียนแม้ว่าทางอำเภอต่างๆ จะมีการตัดต้นพืชกระท่อมในพื้นที่ไปเป็นจำนวนมากแล้วก็ตาม แต่ราคายาเสพติดก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงและมีแนวโน้มที่จะลดลง ยาแก้ไอทั้งจากร้านขายยาที่มีเภสัชกรและร้านขายของชำลังละ4,500 บาท ขวดละ80บาทขายปลีก ราคาขวดละ150 – 200บาท ยาบ้า ก็ยังคงเป็นตัวยาหลักที่มีการแพร่ระบาดในทุกอำเภอขายส่งเม็ดละ150 -200 บาทขายปลีกราคาเม็ดละ250 – 350บาท ยาไอซ์ปลีก ถุงละ 500 – 1,000 บาท กรัมละ 3,500 – 4,000 บาท กระท่อม กิโลกรัมละ 1,000 – 1,500 บาท ขายปลีก ใบละ 1 – 5 บาท ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมากในพื้นที่เรียงตามลำดับ คือ พืชกระท่อม รองลงมาเป็นยาบ้ากัญชาแห้ง และไอซ์ ตามลำดับ

ด้านความรุนแรง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระทำความรุนแรงฯ

  1. เด็กและเยาวชน
  2. สตรี
  3. คนพิการ
  4. ผู้สูงอายุ

ประเด็นปัญหา

  1. การถูกล่วงละเมิดทางเพศ(ในรอบปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๗๕)
  2. การถูกทำร้ายร่างกาย (ในรอบปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๑๗)
  3. การถูกลักทรัพย์/ชิงทรัพย์/ถูกทำลายทรัพย์ (ในรอบปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๓๘.๘๗)

ด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากข้อมูล HDC พบว่าในปี 2559 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 62,584 คน คิดเป็นร้อยละ 4.02 ของจำนวนประชากร โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 146,807 คิดเป็นร้อยละ 9.44 เมื่อเทียบกับจำนวนประชากร ในปี 2559 มีประชากรจำนวน 1,554,432

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
  4. เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมแกนประสานงานครั้งที่ 1

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ทำสรุปข้อมูล ผลลัพธ์ ต้นทุน ที่เกิดขึ้นแล้ว
    2. ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
    3. ดำเนินการประชุม
    4. สรุปผลการประชุม
    5. จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 เดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การเชื่อมระบบสุขภาพทั้ง 3 ระบบในจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ สช. พชอ.เมือง กองทุนฯ
    2. แกนประสานทั้ง 3 ระบบสุขภาพเกิดความคุ้นเคยกัน
    3. แผนปฏิบัติงานร่วมจากทั้ง 3 ระบบ โดยแบ่งตามแนวทางของแต่ละระบบสุขภาพคือ
      • คณะทำงานสมัชชาสุขภาพ จ.นครศรีฯ เป็นฝ่ายอำนวยการ (Monitor) มีการสนับสนุนเชิงนโยบายสาธารณะระดับจังหวัด ส่งเสริมให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องมีกระบวนการทำงานเพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานของระบบสุขภาพชุมชนระดับอำเภอ ตำบล โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคืบหน้า ทุกๆ 3 เดือน
      • คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ (พชอ.) (Supporter) มีการอำนวยการให้ระบบสุขภาพระดับอำเภอมีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนเชิงโครงสร้าง คำสั่งแต่งตั้ง บริการข้อมูลด้านสุขภาพ สร้างแผนปฏิบัติการ ควบคุม ประเมิน ติดตาม สรุปผลการดำเนิน พัฒนารูปแบบการทำงาน โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคบหน้า ทุกๆ 3 เดือน และมีการพัฒนาศักยภาพ 2 ครั้ง
      • กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล (Actor) มีการปฏิบัติการและสนับสนุนให้เกิดการใช้งบประมาณให้หน่วยงานในพื้นที่ ทั้งหน่วยงาน ท้องที่ ท้องถิ่นองค์กรชุมชน ได้ดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในระดับตำบล และพัฒนาเป็นกติกาหรือข้อตกลงในระดับตำบล โดยจะมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 2 ครั้ง และทีมประสานจะมีการลงพื้นที่เพื่อเสริมพลังตลอดโครงการ
      • หน่วยงานหรือองค์กรภาคประชาสังคมที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ มีการทำงานด้านการสร้างการรู้เท่าทัน ทำงานแบบเกาะติด จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนัก ส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการเฝ้าระวัง/กระตุ้นกลไกการบังคับใช้กฎหมาย
    4. Action Plan ระยะ 3 เดือน คือ
      • เข้าพบนายแพทย์สาธารณสุข นครศรีฯ 1 ครั้ง
      • พัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 1 ครั้ง
      • ประสานนายอำเภอเมืองเพื่อบรรจุประเด็นปัจจัยเสี่ยงใน พชอ.เมืองนครศรีฯ
      • ร่างคำสั่งแต่งตั้งอนุกรรมการรับผิดชอบประเด็น
      • ประชุมอนุกรรมการ
    5. กำหนดพื้นที่ปฏิบัติการณ์ (Unit) และผู้เกี่ยวข้อง โดยกำหนดพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลที่มีโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ เป็นพื้นที่ปฏิบัติการ

     

    6 8

    2. พบปะสร้างความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ครั้งที่ 1/10

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00-17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานงานผู้เข้าร่วม
    2. จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานของเครือข่าย/ระบบสุขภาพที่ผ่านมา และรายละเอียดโครงการ
    3. เข้าพบปะ
    4. สรุปงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดภาคีความร่วมมือกับ สสจ.

    • สสจ.นครศรีธรรมราช มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
    • สสจ.นครศรีธรรมราช เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
    • สสจ.นครศรีธรรมราช รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง

     

    6 6

    3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นที่ครั้งที่ 1

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-21.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมทีมงานหลักเพื่ออกแบบงาน กำหนดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วม
    2. การประสานกลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    3. ประชุมเตรียมทีมงานร่วมเพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
    4. ประชาสัมพันธ์ก่อนงาน
    5. จัดเตรียมสถานที่ / ซักซ้อมก่อนวันงาน
    6. จัดงานแบบมีส่วนร่วมภายใต้ แนวคิด จากเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์ที่สนุกและมีสาระ
    7. สรุปงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดเครือข่ายเยาวชนด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
    • เครือข่ายเยาวชนเกิดการเรียนรู้เรื่องสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่
    • เกิดข้อเสนอต่อเครือข่ายเด็ก เรื่องให้เครือข่ายเยาชนได้มีภารกิจในการสร้างการเรียนรู้สร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับเยาวชนในพื้นที่
    • เกิดการแบ่งกลุ่มเครือข่ายออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
    1. เครือข่ายเด็กชายขอบ(เสี่ยง)
    2. เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสุข
    3. เครือข่ายกลุ่มเด็กมัธยมในจังหวัดนครศรีฯ
    4. เครือข่ายกลุ่มเยาวชนด้านนโยบาย แต่มีเป้าหมายเดียวกันคือ เปลี่ยนเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์
    • เกิดการเชื่อมกลไกการขับเคลื่อนด้านการลดปัจจัยเสี่ยง2 ขบวน คือ

      1. ขบวนระบบสุขภาพระดับอำเภอหรือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
      2. ขบวนเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง นครศรีธรรมราช
    • เกิดข้อเสนอต่อฝ่ายนโยบายในพื้นที่ คือ

    1. ขอให้ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการประกาศนโยบายการปกป้องคุ้มครองเด็กจากปัจจัยเสี่ยง เป็นวาระหลักของจังหวัด
    2. ขอให้มีการบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนด้านปัจจัยเสี่ยง เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
    3. ขอให้หน่วยงานด้านการบังคับใช้กฎหมายมีมาตรการและการดำเนินการที่เข้มข้นและเอาจริงเอาจัง
    4. ขอให้สถานศึกษาทุกแห่งได้มีการจัดการศึกษาด้านการรู้เท่าทันและสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัจจัยเสี่ยงทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพื่อป้องกันการเกิดนักดื่ม นักสูบหน้าใหม่

     

    100 111

    4. ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 2/10

    วันที่ 6 เมษายน 2561 เวลา 13.00-17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าพบปะกับ นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดภาคีความร่วมมือกับ สพม.12
    • สพม.12 มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
    • สพม.12เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
    • สพม.12รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา

     

    1 11

    5. ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 15 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเน้นที่กลุ่มเยาวชน อายุระหว่าง 12-16 ปี
    • กำหนดเนื้อหาเพื่อสร้างความเข้าใจและสามารถกำหนดเป้าหมายได้
    • การแบ่งบทบาทของอนุกรรมการฯแต่ละชุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน 6 ด้าน คือ

    1. ยุทธศาสตร์ด้านการบังคับใช้กฎหมาย
    2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษา
    3. ยุทธศาสตร์ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา
    4. ยุทธศาสตร์ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน
    5. ยุทธศาสตร์ด้านควบคุมจุดจำหน่าย
    6. ยุทธศาสตร์ด้านสื่อสร้างสรรค์
    • แนวทางการทำข้อมูลด้านสถานการณ์ปัญหาด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ในกลุ่มอายุระหว่าง 12-16 ปี โดยเน้นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ และในชุมชน พื้นที่อำเภอเมือง
    • การกำหนดบทบาทหน้าที่แต่ละภาคส่วน ดังนี้
      • ด้านการบังคับใช้กฎหมาย โดย ตำรวจภูธรจังหวัด สสจ.
      • ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษาโดย สพม.12
      • ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา โดย สคล.ใต้บน ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง และภาคประชาสังคม
      • ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน โดย ท้องถิ่น/ปกครองจังหวัด สปสช. เขต 11 อบจ.
      • ควบคุมจุดจำหน่าย โดยสรรพสามิต
      • ด้านสื่อสร้างสรรค์ โดย สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้

     

    7 7

    6. พบปะสร้างความเข้าใจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 3/10

    วันที่ 18 มิถุนายน 2561 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นัดหมาย
    2. ศึกษาเอกสารประกอบการประชุมและสรุปการประชุม
    3. เข้าพบปะ
    4. สรุปงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดรายชื่ออนุกรรมการ จาก 3 ภาคส่วนคือ

    1. ส่วนราชการ
      • ป้องกัน/ท้องถิ่นจังหวัด
      • สคร. 11
      • สพม. 12
      • สรรพสามิต
      • ตำรวจภูธรจังหวัด
      • สสอ.ฉวาง
      • อบจ.นครศรีฯ
    2. ส่วนประชาสังคม
      • นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
      • นายกัณตนัช รัตนวิก สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
      • นายวรวุฒิ ประสานพจน์ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
      • ประธาน อสม. จ.นครศรีฯ
      • นางสาววาณี พงษ์ยี่หล่า มูลนิธิเพื่อนเยาวชนพอเพียง
      • ผอ.รร.ปริยัตรติธรรม วัดสระเรียง
      • เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
    3. ส่วนวิชาการ/สื่อ/เอกชน/ท้องถิ่น
      • ผู้แทนหอการค้า จ.นครศรีฯ
      • นางอรอุมา เรียบร้อย สื่อมวลชน
      • นายอานนท์ มีศรี สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีฯ
      • นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
      • นายนายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลนาเหรง
      • ดร.พวงรัตน์ จินพล วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้

    ที่ปรึกษา

    • ว่าที่ ร.ต.สุภาพร ปราบปราย สภาองค์กรชุมชน จ.นครศรีฯ
    • ดร.ดำรงค์ โยธารักษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
    • นายทวี สร้อยศิริสุนทร สถาบันพัฒนาประชาสังคม
    • ผู้แทน รพ.สต. 2 ท่าน

     

    1 1

    7. ค่าจ้างประสานงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และจัดทำข้อมูล รายงาน งวดที่ 1

    วันที่ 30 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. โทรศัพท์
    2. สื่อสารออนไลน์
    3. เดินทางประสาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

     

    2 2

    8. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล

    วันที่ 18 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมกำหนดโจทย์วิจัย • พัฒนาโจทย์วิจัย • ออกแบบชุดคำถามเพื่อการวิจัย • รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ • ปรับปรุงโจทย์วิจัย • ขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรมจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดข้อมูลปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลด้านความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจังหวัดนครศรีธรรมราช

     

    1 1

    9. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 22 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
    2. คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
    3. คณะทำงานจาก สพม.12
    4. คณะทำงานภาคประชาสังคม
    5. ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในจังหวัดนครศรีฯแต่ขาดกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กมัธยมต้นและไม่เห็นปัจจัยหรือแรงจูงใจที่ทำให้เกิดการดื่ม
    • ข้อมูลที่ทำการสำรวจในกลุ่มเด็กมัธยมต้นในการสุ่มตัวอย่างเด็กมัธยมต้นในเขตจังหวัดนครศรีฯยังไม่มีรายละเอียดมากพอ และไม่มีสถาบันการศึกษาที่น่าเชื่อถือรองรับได้ • เกิดการกำหนดโจทย์วิจัยใหม่คือการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยจะออกแบบและให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีได้ทดลองใช้เครื่องมือกับโรงเรียนระดับมัธยมต้น คือ โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ และจะนำผลมารายงานในการประชุมครั้งต่อไป

     

    7 6

    10. ค่าประสานงานประจำเดือนกันยายน2561

    วันที่ 1 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

     

    1 1

    11. พบปะประชุมสรุปงานวิจัยเด็กมัธยมต้น ในเขตอำเภอเมืองนครศรีฯ

    วันที่ 24 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

    • ประสานนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

    • ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม

    • เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย

    • ดำเนินการกิจกรรม

    • สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดผลการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ)

    • เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ

    • เกิดชุดข้อมูลที่สามารถนำไปอ้างอิงในโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนท้องถิ่นได้

     

    7 6

    12. ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561

     

    1 1

    13. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ

     

    1 1

    14. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน

     

    1 1

    15. ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

    วันที่ 1 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561

     

    1 1

    16. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร

     

    1 1

    17. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

    วันที่ 20 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน

     

    1 1

    18. ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม2562

    วันที่ 1 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม  นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม  นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา

     

    1 1

    19. ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562

     

    1 1

    20. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ

     

    1 1

    21. ประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
    2. ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม
    3. เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย
    4. ดำเนินการกิจกรรม
    5. สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการสรุปเครื่องมือเพื่อใช้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น  ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ) • เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ

     

    7 7

    22. ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

    วันที่ 1 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562

     

    1 1

    23. ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ.

    วันที่ 8 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลการดำเนินโครงการ

     

    1 1

    24. ประชุมกำหนดแนวทางการลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันนักดื่มนักสูบหน้าใหม่

    วันที่ 27 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
    2. ประสานงานกับนักวิชาการ
    3. ประสานกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี
    4. เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ
    5. ดำเนินการกิจกรรม
    6. สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นมีความเข้าใจในระเบียบของกองทุนฯ ในด้านความสอดคล้องในประเด็นการลดปัจจัยเสี่ยงโดยการใช้งบประมาณของกองทุนฯ ในด้าน ป้องกัน ส่งเสริม • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นลดความกังวลการตรวจสอบจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เพราะได้รับการชี้แจงจากผู้ที่รับผิดชอบโดยตรง จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นเข้าใจในสถานการณ์ปัญหาในกลุ่มเด็กมัธยมต้น ทั้งด้านการสูบ ดื่ม เสพ และเห็นปัจจัยที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านั้น และสามารถนำไปเป็นองค์ประกอบในการพัฒนาโครงการเพื่อใช้งบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น • เกิดภาคีความร่วมมือจากภาคประชาสังคม โดยจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่น • เกิดการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ทั้งเชิงพื้นที่คือ 7 กองทุนท้องถิ่น และแนวทางการเสริมศักยภาพให้กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนเป็นผู้ดำเนินโครงการ • เกิดการปรับโครงการให้มีความสอดคล้องกับหลักวิชาการและเหมาะสมกับพื้นที่

     

    20 19

    25. ประชุมกองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น

    วันที่ 5 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
    2. ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
    3. เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ ตัวอย่างโครงการ แบบฟอร์มโครงการ
    4. ดำเนินการกิจกรรม
    5. สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น
    6. สรุปผลการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน จากกองทุนท้องถิ่นทั้ง 6 กองทุนสามารถเขียนโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายและระเบียบของกองทุน • เกิดโครงการตัวอย่างที่ผ่านการวิเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนท้องถิ่นนั้นๆจำนวน 6 โครงการ • เกิดกลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนที่มีความสารถในการดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงโดยใช้ศักยภาพจากกองทุนท้องถิ่นจำนวน 8 กลุ่ม จาก 6 กองทุน

     

    65 48

    26. ประชุมสรุปการดำเนินงานการพัฒนากองทุนท้องถิ่นสู่การลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้น

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง • ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
    • เตรียมเอกสารข้อมูลด้านการรายงานผลดำเนินการ • ดำเนินการกิจกรรม • สรุปผลการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในการดำเนินงานมาทั้งหมดของโครงการและกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนในช่วงต่อไป • เกิดการสรุปบทเรียน ปัญหาอุปสรรค์ และข้อค้นพบ • เกิดการสรุปในเชิงยุทธศาสตร์ของโครงการ และแนวปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

     

    50 34

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน 2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม 4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์ 5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

     

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อมูลอย่างน้อย 5 ด้าน คือ - สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองนครศรีฯ - ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - แนวโน้มความรุนแรง -กลไกหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง - แนวทางแก้ไขและแผนปฏิบัติการโครงการ ของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการร่วม 2. เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพถูกบรรจุในวาระของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ 3. เกิดอนุกรรมการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอำเภอเมืองนครศรี - ร้อยละ 80 ของจำนวนกองทุนฯมีความตระหนักในเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - ร้อยละ 20 ของจำนวนกองทุนฯ มีการขับเคลื่อนเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

     

    3 เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อมูลด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ - จำนวนประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง - ผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง - ทัศนคติ ความรู้ ของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง - ชนิด ประเภท ความถี่ ของพฤติกรรมการทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - สาเหตุ ปัจจัย ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ 2. เกิดงานวิชาการ 1 เล่ม 3. เกิดการนำเสนอต่อฝ่ายนโยบายของจังหวัดนครศรีฯ

     

    4 เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน 2. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ (4) เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 60-ข-085 รหัสสัญญา 60-ข-085 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 31 มีนาคม 2562

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 60-ข-085

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเจกะพันธ์พรหมมงคล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด