
- เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการและกำหนดแนวทางการดำเนินต่อไป
• ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
• ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
• เตรียมเอกสารข้อมูลด้านการรายงานผลดำเนินการ
• ดำเนินการกิจกรรม
• สรุปผลการประชุม
• ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในการดำเนินงานมาทั้งหมดของโครงการและกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนในช่วงต่อไป • เกิดการสรุปบทเรียน ปัญหาอุปสรรค์ และข้อค้นพบ • เกิดการสรุปในเชิงยุทธศาสตร์ของโครงการ และแนวปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
• ผู้แทนหรือผู้รับผิดชอบงานกองทุนท้องถิ่น 7 ท้องถิ่น • ผู้แทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่น 7 ชุด • กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนจาก 7 กองทุน • คณะทำงานโครงการ • คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
• กรณีความกังวลของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบกองทุนท้องถิ่นเรื่องการตรวจสอบการใช้งบประมาณโดย สตง. ต้องมีการประสานงานให้ สปสช.เขต 11 ได้ลงมาสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง • กรณีการติดขัดเชิงนโยบายจากผู้บริหารท้องถิ่น ทางโครงการและผู้เกี่ยวข้องควรมีการสร้างความเข้าใจกับผู้บริหารท้องถิ่นนั้นๆก่อนที่จะทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ • การเสนอเพื่อเป็นนโยบายระดับ พชอ. ต้องพัฒนาให้เป็นเชิงบูรณาการกับประเด็นอื่นๆ เพื่อสร้างน้ำหนักให้ประเด็นปัจจัยเสี่ยง เช่น ประเด็นอุบัติเหตุ NCD เป็นต้น
ไม่มี
ไม่มี
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหลักประกับสุขภาพระดับตำบล 2. เพื่อพัฒนาโครงการตัวอย่างในการขอรับงบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น 3. เพื่อสนับสนุนให้กองทุนท้องถิ่นสามารถดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มมัธยมต้นได้
- ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
- ประสานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ ตัวอย่างโครงการ แบบฟอร์มโครงการ
- ดำเนินการกิจกรรม
- สนับสนุนงบประมาณตั้งต้น
- สรุปผลการประชุม
• ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน จากกองทุนท้องถิ่นทั้ง 6 กองทุนสามารถเขียนโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายและระเบียบของกองทุน • เกิดโครงการตัวอย่างที่ผ่านการวิเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนท้องถิ่นนั้นๆจำนวน 6 โครงการ • เกิดกลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนที่มีความสารถในการดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงโดยใช้ศักยภาพจากกองทุนท้องถิ่นจำนวน 8 กลุ่ม จาก 6 กองทุน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
- นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
- นายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลตำบลนาเหรง(พี่เลี้ยงกองทุน)
- นายอนันต์ พรมนิน คณะทำงานสาธารณสุขอำเภอเมืองนครศรีฯ
- ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลปากนคร
- ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงเซา
- ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
- ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลตำบลท่าแพ
- ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลเมืองปากพูน
- ผู้รับผิดชอบกองทุน/คณะกรรมการกองทุน/องค์กรชุมชน เทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
• กลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนยังขาดข้อมูลเชิงลึกในประเด็นปัจจัยเสี่ยง จึงต้องมีการสนับสนุนงบประมาณตั้งต้นเพื่อให้ใช้ในการสำรวจข้อมูลและสร้างความเข้าใจให้กับองค์กรต่างๆในชุมชน
• ควรพัฒนาศักยภาพเครือข่าย สสส.ให้มีการเชื่อมโยงการทำงานในระดับพื้นที่กับกองทุนท้องถิ่น
• ควรเร่งให้มีการสร้างความเข้าใจในระเบียบกองทุนให้กับคณะกรรมการกองทุนที่ตั้งขึ้นใหม่ในปี 2562 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
- เพื่อเสริมศักยภาพผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนท้องถิ่น 2. เพื่อสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการให้กับผู้เกี่ยวข้องกับกองทุนท้องถิ่น 3. เพื่อสรุปผลและประเมินโครงการจากการดำเนินงานที่ผ่านมา
- ประสานงานกับท้องถิ่นเพื่อเชิญผู้เกี่ยวข้อง
- ประสานงานกับนักวิชาการ
- ประสานกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี
- เตรียมเอกสารข้อมูลด้านวิชาการ
- ดำเนินการกิจกรรม
- สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
• ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นมีความเข้าใจในระเบียบของกองทุนฯ ในด้านความสอดคล้องในประเด็นการลดปัจจัยเสี่ยงโดยการใช้งบประมาณของกองทุนฯ ในด้าน ป้องกัน ส่งเสริม • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นลดความกังวลการตรวจสอบจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เพราะได้รับการชี้แจงจากผู้ที่รับผิดชอบโดยตรง จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต 11 • ผู้แทนจากกองทุนท้องถิ่นเข้าใจในสถานการณ์ปัญหาในกลุ่มเด็กมัธยมต้น ทั้งด้านการสูบ ดื่ม เสพ และเห็นปัจจัยที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านั้น และสามารถนำไปเป็นองค์ประกอบในการพัฒนาโครงการเพื่อใช้งบประมาณจากกองทุนท้องถิ่น • เกิดภาคีความร่วมมือจากภาคประชาสังคม โดยจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่น • เกิดการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ทั้งเชิงพื้นที่คือ 7 กองทุนท้องถิ่น และแนวทางการเสริมศักยภาพให้กลุ่ม/ชมรม/องค์กร ในชุมชนเป็นผู้ดำเนินโครงการ • เกิดการปรับโครงการให้มีความสอดคล้องกับหลักวิชาการและเหมาะสมกับพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
- นายชญานิน เอกสุวรรณ ผู้แทน สปสช.11
- นายชัชวาล บุญอมร ผู้แทนกองทุนฯ อบต.ท่าเรือ
- นายปราโมทย์ บุญคมรัตน์ ผู้แทนกองทุนฯ อบต.ท่าเรือ
- นายธีระ ด้วงสิน ผู้แทนกองทุนฯ อบต.กำแพงเซา
- นางสาวเรวดี สุดภักดี ผู้แทนกองทุนฯ เทศบาลเมืองปากพูน
- นางสาวธัญลักษณ์ ขวดทอง ผู้แทนกองทุนฯ เทศบาลตำบลท่าแพ
- นางสาวโปรดปราน คำอ่อน ม.สงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
- นางสายสุณีย์ จำรัส ม.สงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
- ดร.ดุริยางค์ วาสนา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.กาญจนดิษฐ์
- ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- นายทวีวัตร เครือสาย พี่ลี้ยงกองทุนฯ
- นายธนาวุธ คงจันทร์ สคล.ใต้บน
- นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
- นายอนันต์ พรมนิน นักวิชาการสาธารณสุขอำเภอเมืองนครศรีฯ
- นางสาวภานุชนารถ คงแก้ว ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
- นางสาวชนิดาภา โชติรัตน์ ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
- นางสาวนุจรีย์ โจมนุพงศ์ ผู้แทนกองทุนเทศบาลเมืองเมืองนครศรีฯ
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
• กลุ่ม/ชมรม/องค์กรในชุมชนยังขาดความเข้าใจในประเด็นปัจจัยเสี่ยง จึงต้องมีการเสริมศักยภาพเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
• ควรพัฒนาศักยภาพเครือข่าย สสส.ให้มีการเชื่อมโยงการทำงานในระดับพื้นที่กับกองทุนท้องถิ่น
• ควรมีการสร้างความเข้าใจในระเบียบกองทุนให้กับคณะกรรมการกองทุนที่ตั้งขึ้นใหม่ในปี 2562 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ.
รายงานผลการดำเนินโครงการ
รายงานผลการดำเนินโครงการ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
-
-
-
เพื่อประสานงานโครงการ
ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562
ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
-
-
-
- เพื่อสรุปผลเครื่องมืองานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อกำหนดแนวทางการวิจัยโดยการมีส่วนร่วม
- ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม
- เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย
- ดำเนินการกิจกรรม
- สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
• เกิดการสรุปเครื่องมือเพื่อใช้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ) • เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
- นายกัณตนัช รัตนวิก เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
- นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
- นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
- นายองอาจ พรหมมงคล สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
• เพื่อให้ผลการวิจัยเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานราชการและสาธารณะ จึงต้องขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรม จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งอาจใช้เวลานาน
• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น
• ควรนำผลการวิจัยไปอ้างอิงในการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน เพื่อทำให้โครงการมีความน่าเชื่อถือ
เพื่อประสานงานกองทุนสุขาพตำบล เทศบาลท่าแพ
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
-
-
-
เพื่อประสานงานโครงการ
ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
-
-
-
ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม
ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
-
-
-
เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
-
-
-
เพื่อประสานงานกองทุนสุขาพตำบล อบต.ปากนคร
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
-
-
-
เพื่อประสานงานโครงการ
ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561
ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
-
-
-
เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
-
-
-
เพื่อลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ
ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
-
-
-
เพื่อประสานงานโครงการ
ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
-
-
-
1.เพื่อรายงานผลการทดลองใช้เครื่องมืองานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2.เพื่อสรุปบทเรียนการใช้เครื่องมือวิจัย
• ประสานงานกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• ประสานนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• ประสานงานกับคณะทำงานทั้งส่วนประชาสังคม
• เตรียมเอกสารผลการสำรวจและแบบอภิปราย
• ดำเนินการกิจกรรม
• สรุปผลการประชุมและออกแบบการดำเนินงานต่อ
• เกิดผลการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ตามเอกสารแนบ)
• เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัยถูกพัฒนาให้มีความเข้าใจมากขึ้น เช่น ชุดคำถาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มข้อมูลด้านการรับรู้ต่อการดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นฯ
• เกิดชุดข้อมูลที่สามารถนำไปอ้างอิงในโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนท้องถิ่นได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
• คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• คณะทำงานจาก สพม.12
• คณะทำงานภาคประชาสังคม
• ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ
• ผลการวิจัยเป็นการทดลองทำแค่ 1 โรงเรียน จึงยังไม่สามารถสะท้อนภาพที่แท้จริงในพื้นที่อำเภอเมืองนครศรีฯได้หมด จึงจะขยายให้มีการทำวิจัยเพื่อให้ครอบคลุมอำเภอเมืองนครศรีฯ
• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น
• ควรนำผลการวิจัยไปอ้างอิงในการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน เพื่อทำให้โครงการมีความน่าเชื่อถือ
เพื่อประสานงานโครงการ
ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
ค่าประสานงานนางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา
-
-
-
1.เพื่อรวบรวมข้อมูลด้านสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบของเด็กและเยาวชนในจังหวัดนครศรีฯ
2.เพื่อทบทวนและสรุปข้อมูลด้านวิชาการด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ
- คณะทำงานด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- คณะทำงานจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง
- คณะทำงานจาก สพม.12
- คณะทำงานภาคประชาสังคม
- ผู้ประสานงานโครงการและกองเลขาฯ
• เกิดชุดข้อมูลสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในจังหวัดนครศรีฯแต่ขาดกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กมัธยมต้นและไม่เห็นปัจจัยหรือแรงจูงใจที่ทำให้เกิดการดื่ม
• ข้อมูลที่ทำการสำรวจในกลุ่มเด็กมัธยมต้นในการสุ่มตัวอย่างเด็กมัธยมต้นในเขตจังหวัดนครศรีฯยังไม่มีรายละเอียดมากพอ และไม่มีสถาบันการศึกษาที่น่าเชื่อถือรองรับได้
• เกิดการกำหนดโจทย์วิจัยใหม่คือการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยจะออกแบบและให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีได้ทดลองใช้เครื่องมือกับโรงเรียนระดับมัธยมต้น คือ โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ และจะนำผลมารายงานในการประชุมครั้งต่อไป
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ดร.พิมาน ธีรรัตนสุนทร นักวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการฯ
- นายกัณตนัช รัตนวิก เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
- นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
- นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
- นายองอาจ พรหมมงคล สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
• ขาดชุดข้อมูลที่ทำให้เห็นสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในจังหวัดนครศรีฯ จึงมีแนวทางให้คณะทำงานด้านวิชาการได้จัดทำขึ้นภายใต้การรับรองจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• ควรมีการสนับสนุนงานวิจัยด้านการการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในระดับประเทศ
• ควรมีการพัฒนาชุดข้อมูลด้านการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบในระดับเด็กมัธยมต้นในทุกๆกองทุนท้องถิ่น
- ประเมินปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อประเมินผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. เพ
• ประชุมกำหนดโจทย์วิจัย • พัฒนาโจทย์วิจัย • ออกแบบชุดคำถามเพื่อการวิจัย • รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ • ปรับปรุงโจทย์วิจัย • ขอการรับรองคุณธรรม จริยธรรมจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• เกิดข้อมูลปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครศรีธรรมราช • เกิดข้อมูลด้านความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจังหวัดนครศรีธรรมราช
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ดร.พิมาน ธีระรัตนสุนทร
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
- โทรศัพท์
- สื่อสารออนไลน์
- เดินทางประสาน
- รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้ประสานงานเครือข่ายปัจจัยเสี่ยง
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี

- เพื่อกำหนดรายชื่อคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- เพื่อกำหนดรายละเอียดการเชิญประชุมคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- นัดหมาย
- ศึกษาเอกสารประกอบการประชุมและสรุปการประชุม
- เข้าพบปะ
- สรุปงาน
เกิดรายชื่ออนุกรรมการ จาก 3 ภาคส่วนคือ
- ส่วนราชการ
- ป้องกัน/ท้องถิ่นจังหวัด
- สคร. 11
- สพม. 12
- สรรพสามิต
- ตำรวจภูธรจังหวัด
- สสอ.ฉวาง
- อบจ.นครศรีฯ
- ส่วนประชาสังคม
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
- นายกัณตนัช รัตนวิก สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
- นายวรวุฒิ ประสานพจน์ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
- ประธาน อสม. จ.นครศรีฯ
- นางสาววาณี พงษ์ยี่หล่า มูลนิธิเพื่อนเยาวชนพอเพียง
- ผอ.รร.ปริยัตรติธรรม วัดสระเรียง
- เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
- ส่วนวิชาการ/สื่อ/เอกชน/ท้องถิ่น
- ผู้แทนหอการค้า จ.นครศรีฯ
- นางอรอุมา เรียบร้อย สื่อมวลชน
- นายอานนท์ มีศรี สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีฯ
- นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
- นายนายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลนาเหรง
- ดร.พวงรัตน์ จินพล วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
ที่ปรึกษา
- ว่าที่ ร.ต.สุภาพร ปราบปราย สภาองค์กรชุมชน จ.นครศรีฯ
- ดร.ดำรงค์ โยธารักษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
- นายทวี สร้อยศิริสุนทร สถาบันพัฒนาประชาสังคม
- ผู้แทน รพ.สต. 2 ท่าน
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
นางมันทณา เฮ่าตระกูล นักวิชาการชำนาญการ สสจ.นครศรีฯ
ผู้ที่มีรายชื่อเป็นอนุกรรมการฯ จำเป็นต้องได้รับการเสริมศักยภาพทั้งด้านสถานการณ์ปัญหา แนวทางป้องกัน และการทำแผนร่วมเชิงยุทธศาสตร์
สสส.ควรสนับสนุนให้เกิดหน่วยจัดการด้านเชื่อมประสานภาคี บูรณาการแผนงานด้านสุขภาพ ในระดับจังหวัด
จัดให้มีพื้นที่กลางในการเรียนรู้ร่วมกัน และบูรณาการการทำงานอย่างเป็นระบบ
- เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนของอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- เพื่อกำหนดแนวทางการเสริมศักยภาพอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- เพื่อกำหนดบทบาทของอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
- ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเน้นที่กลุ่มเยาวชน อายุระหว่าง 12-16 ปี
- กำหนดเนื้อหาเพื่อสร้างความเข้าใจและสามารถกำหนดเป้าหมายได้
- การแบ่งบทบาทของอนุกรรมการฯแต่ละชุด
เกิดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน 6 ด้าน คือ
- ยุทธศาสตร์ด้านการบังคับใช้กฎหมาย
- ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษา
- ยุทธศาสตร์ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา
- ยุทธศาสตร์ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน
- ยุทธศาสตร์ด้านควบคุมจุดจำหน่าย
- ยุทธศาสตร์ด้านสื่อสร้างสรรค์
- แนวทางการทำข้อมูลด้านสถานการณ์ปัญหาด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ในกลุ่มอายุระหว่าง 12-16 ปี โดยเน้นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ และในชุมชน พื้นที่อำเภอเมือง
- การกำหนดบทบาทหน้าที่แต่ละภาคส่วน ดังนี้
- ด้านการบังคับใช้กฎหมาย โดย ตำรวจภูธรจังหวัด สสจ.
- ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษาโดย สพม.12
- ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา โดย สคล.ใต้บน ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง และภาคประชาสังคม
- ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน โดย ท้องถิ่น/ปกครองจังหวัด สปสช. เขต 11 อบจ.
- ควบคุมจุดจำหน่าย โดยสรรพสามิต
- ด้านสื่อสร้างสรรค์ โดย สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้
- ด้านการบังคับใช้กฎหมาย โดย ตำรวจภูธรจังหวัด สสจ.
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- ผู้แทนจากสำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
- ผู้แทนจากเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- ผู้แทนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
- ผู้แทนจากสำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 11
- ผู้แทนจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต 12
- ผู้แทนจากศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยงจังหวัดนครศรีธรรมราช
- ผู้แทนจากสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 11
ไม่มี
ควรสนับสนุนให้เกิดกลไกที่คอยทำหน้าที่เชื่อมประสานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงในระดับจังหวัด
ควรเร่งดำเนินการด้านการแต่งตั้งอนุกรรมการฯให้เรียบร้อยโดยเร็ว เพื่อทำหน้าที่ชงข้อมูล แนวปฏิบัติ ให้คณะกรรมการระดับจังหวัด

- เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมารวมทั้งกลไกที่ขับเคลื่อน
- เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการทั้งระดับพื้นที่และนโยบายสาธารณะ
- เพื่อเสนอให้มีการสนับสนุนเชิงนโยบายด้านการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหร
เข้าพบปะกับ นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ
- เกิดภาคีความร่วมมือกับ สพม.12
- สพม.12 มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
- สพม.12เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
- สพม.12รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12
ยังขาดนโยบายสนับสนุนจากทางจังหวัดให้หน่วยงานตั้งเรื่องปัจจัยเสี่ยงเป็นเป้าหมายหลัก จึงต้องผลักดันในการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดต่อไป
- ไม่มี
สพม.12 ควรมีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัด มีการดำเนินงานด้านการป้องกัน ส่งเสริม ด้านการลดปัจจัยเสี่ยง ทั้งด้านนโยบายโรงเรียนปลอดเหล้า การบูรณาการสู่การเรียน การสอน และจัดตั้งชมรมในสถานศึกษา
- เยาวชนได้เสนอเครื่องมือและผลการดำเนินงานขององค์กรตัวเองที่ใช้สื่อสารตลอด 1 ปี ที่ผ่านมา
- เยาวชนแลกเปลี่ยนและนำเสนอ ปัญหาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อเยาวชน จ.นครศรีธรรมราช รวมถึงทางออกในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
- สร้างการมีส่วนร่วม และ สร้างข้อเสนอต่อนโยบ
- ประชุมทีมงานหลักเพื่ออกแบบงาน กำหนดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วม
- การประสานกลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ประชุมเตรียมทีมงานร่วมเพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
- ประชาสัมพันธ์ก่อนงาน
- จัดเตรียมสถานที่ / ซักซ้อมก่อนวันงาน
- จัดงานแบบมีส่วนร่วมภายใต้ แนวคิด จากเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์ที่สนุกและมีสาระ
- สรุปงาน
- เกิดเครือข่ายเยาวชนด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- เครือข่ายเยาวชนเกิดการเรียนรู้เรื่องสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่
- เกิดข้อเสนอต่อเครือข่ายเด็ก เรื่องให้เครือข่ายเยาชนได้มีภารกิจในการสร้างการเรียนรู้สร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับเยาวชนในพื้นที่
- เกิดการแบ่งกลุ่มเครือข่ายออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
- เครือข่ายเด็กชายขอบ(เสี่ยง)
- เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสุข
- เครือข่ายกลุ่มเด็กมัธยมในจังหวัดนครศรีฯ
- เครือข่ายกลุ่มเยาวชนด้านนโยบาย แต่มีเป้าหมายเดียวกันคือ เปลี่ยนเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์
เกิดการเชื่อมกลไกการขับเคลื่อนด้านการลดปัจจัยเสี่ยง2 ขบวน คือ
- ขบวนระบบสุขภาพระดับอำเภอหรือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
- ขบวนเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง นครศรีธรรมราช
เกิดข้อเสนอต่อฝ่ายนโยบายในพื้นที่ คือ
- ขอให้ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการประกาศนโยบายการปกป้องคุ้มครองเด็กจากปัจจัยเสี่ยง เป็นวาระหลักของจังหวัด
- ขอให้มีการบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนด้านปัจจัยเสี่ยง เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
- ขอให้หน่วยงานด้านการบังคับใช้กฎหมายมีมาตรการและการดำเนินการที่เข้มข้นและเอาจริงเอาจัง
- ขอให้สถานศึกษาทุกแห่งได้มีการจัดการศึกษาด้านการรู้เท่าทันและสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัจจัยเสี่ยงทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพื่อป้องกันการเกิดนักดื่ม นักสูบหน้าใหม่
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- โรงเรียนโรงเรียนจรัสพิชากร
- โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา
- โรงเรียนสหมิตรบำรุง
- เครือข่ายเยาวชน south youth ranger
- กลุ่มเยาวชนทุ่งใสหัวใจยิ้ม
- กลุ่มยุวทัศนจ.นครศรีธรรมราช
- เครือข่ายตลาดสีเขียว อ.พรหมคีรี
- ชุมชนหัวลำภู อ.หัวไทร
- คณะทำงานสมัชชาสุขภาพจ.นครศรีธรรมราชประเด็น ปกป้องเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง
- กลุ่มลูกขุนน้ำ คีรีวงค์ อ.ลานสะกา
- มหาวิทยาลัยนาฎศิลป์
- มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- ทีวิลิกอร์
- ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีธรรมราช
- เทศบาลนครนครศรีธรรมราช ทั้งหมดจำนวน 111 คน
- เครือข่ายเยาวชนบางเครือข่ายยังไม่ค่อยเท่าทันต่อสถานการณ์ปัญหาด้านปัจจัยเสี่ยง ดังนั้นจึงต้องมีการเสริมศักยภาพในด้านนี้อย่างต่อเนื่อง
- ในการขับเคลื่อนเรื่องเหล้า บุหรี่ ในกลุ่มเยาวชน ยังขาดแกนนำเยาวชนที่จะคอยทำหน้าที่พี่เลี้ยงหรือคอยสร้างความรู้ให้กับเยาวชน โดยเฉพาะในสถานศึกษา
- ยังขาดพื้นที่ที่จะเชื่อมโยงระบบหรือกลไกสุขภาพในพื้นที่กับเครือข่ายเยาวชน ดังนั้นจึงจะสร้างพื้นที่เชื่อมโยงทั้ง 2 ส่วนเข้าด้วยกัน
ควรสนับสนุนให้เกิดกลไกที่คอยทำหน้าที่เชื่อมประสานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพและปัจจัยเสี่ยงในระดับจังหวัด
- สร้างการมีส่วนร่วมและส่งเสริมบทบาทของเครือข่ายเยาวชนในระบบสุขภาพในพื้นที่
- ควรมีนโยบายระดับจังหวัดด้านปัจจัยเสี่ยงต่อเยาวชนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้หน่วยงานที่ทำด้านปัจจัยเสี่ยงสามารถขับเคลื่อนได้อย่างคล่องตัว

- เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมารวมทั้งกลไกที่ขับเคลื่อน
- เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการทั้งระดับพื้นที่และนโยบายสาธารณะ
- เพื่อเสนอให้มีการสนับสนุนเชิงนโยบายด้านการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหร
- ประสานงานผู้เข้าร่วม
- จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานของเครือข่าย/ระบบสุขภาพที่ผ่านมา และรายละเอียดโครงการ
- เข้าพบปะ
- สรุปงาน
เกิดภาคีความร่วมมือกับ สสจ.
- สสจ.นครศรีธรรมราช มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
- สสจ.นครศรีธรรมราช เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
- สสจ.นครศรีธรรมราช รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
- นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12
- นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
- นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ์ประชาคมงดเหล้า จังหวัดนครศรีฯ
- นางมันทณา เฮ่าตระกูล นโยบายและแผน สสจ.
- นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา กองเลขาฯ
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
ยังขาดนโยบายสนับสนุนจากทางจังหวัดให้หน่วยงานตั้งเรื่องปัจจัยเสี่ยงเป็นเป้าหมายหลัก จึงต้องผลักดันในการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดต่อไป
ควรเชื่อมร้อยภาคีสุขภาพของ สสส.ในระดับจังหวัด และสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
สสจ.นครศรีธรรมราช ควรมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัด มีการดำเนินงานด้านการป้องกัน ส่งเสริม ด้านการลดปัจจัยเสี่ยง เช่น สสอ. รพ.สต.
- เพื่อบูรณาการแนวทางการทำงานระบบสุขภาพในจังหวัดนครศรีธรรมราช
- เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติการร่วมกันแบบบูรณาการ
- ทำสรุปข้อมูล ผลลัพธ์ ต้นทุน ที่เกิดขึ้นแล้ว
- ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
- ดำเนินการประชุม
- สรุปผลการประชุม
- จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 เดือน
- การเชื่อมระบบสุขภาพทั้ง 3 ระบบในจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ สช. พชอ.เมือง กองทุนฯ
- แกนประสานทั้ง 3 ระบบสุขภาพเกิดความคุ้นเคยกัน
- แผนปฏิบัติงานร่วมจากทั้ง 3 ระบบ โดยแบ่งตามแนวทางของแต่ละระบบสุขภาพคือ
- คณะทำงานสมัชชาสุขภาพ จ.นครศรีฯ เป็นฝ่ายอำนวยการ (Monitor) มีการสนับสนุนเชิงนโยบายสาธารณะระดับจังหวัด ส่งเสริมให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องมีกระบวนการทำงานเพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานของระบบสุขภาพชุมชนระดับอำเภอ ตำบล โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคืบหน้า ทุกๆ 3 เดือน
- คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ (พชอ.) (Supporter) มีการอำนวยการให้ระบบสุขภาพระดับอำเภอมีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนเชิงโครงสร้าง คำสั่งแต่งตั้ง บริการข้อมูลด้านสุขภาพ สร้างแผนปฏิบัติการ ควบคุม ประเมิน ติดตาม สรุปผลการดำเนิน พัฒนารูปแบบการทำงาน โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคบหน้า ทุกๆ 3 เดือน และมีการพัฒนาศักยภาพ 2 ครั้ง
- กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล (Actor) มีการปฏิบัติการและสนับสนุนให้เกิดการใช้งบประมาณให้หน่วยงานในพื้นที่ ทั้งหน่วยงาน ท้องที่ ท้องถิ่นองค์กรชุมชน ได้ดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในระดับตำบล และพัฒนาเป็นกติกาหรือข้อตกลงในระดับตำบล โดยจะมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 2 ครั้ง และทีมประสานจะมีการลงพื้นที่เพื่อเสริมพลังตลอดโครงการ
- หน่วยงานหรือองค์กรภาคประชาสังคมที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ มีการทำงานด้านการสร้างการรู้เท่าทัน ทำงานแบบเกาะติด จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนัก ส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการเฝ้าระวัง/กระตุ้นกลไกการบังคับใช้กฎหมาย
- Action Plan ระยะ 3 เดือน คือ
- เข้าพบนายแพทย์สาธารณสุข นครศรีฯ 1 ครั้ง
- พัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 1 ครั้ง
- ประสานนายอำเภอเมืองเพื่อบรรจุประเด็นปัจจัยเสี่ยงใน พชอ.เมืองนครศรีฯ
- ร่างคำสั่งแต่งตั้งอนุกรรมการรับผิดชอบประเด็น
- ประชุมอนุกรรมการ
- เข้าพบนายแพทย์สาธารณสุข นครศรีฯ 1 ครั้ง
- กำหนดพื้นที่ปฏิบัติการณ์ (Unit) และผู้เกี่ยวข้อง โดยกำหนดพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลที่มีโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ เป็นพื้นที่ปฏิบัติการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ สพม.12 (ผู้แทนคณะทำงานสมัชชา สุขภาพ จังหวัดนครศรีฯ)
- นายยงยุทธ นาทะชัย ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไชยมนตรี (ผู้แทนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯและจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล)
- นายวรวุฒิ ประสานพจน์ ประชาคมงดเหล้า จังหวัดนครศรีธรรมราช
- นางสาวสาวิตรี หมั่นช่วย ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- นางสาวปัญชนางค์ รัตนสุวรรณ์ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- นางสาวพวงเพ็ญ จิ๋ววิเศษณา เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ
- นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
- นางสาวนาถอนงค์ คงชัย ผู้แทน สพป.4
ไม่มี
ประสานความร่วมมือกับโครงการที่มีการปฏิบัติการในพื้นที่ เช่น โครงการขนาดเล็ก ชุมชนน่าอยู่
การแบ่งบทบาทหน้าที่ของแต่ละระบบสุขภาพทำได้ดีและสอดคล้องกัน แต่ขอให้เน้นกระบวนการพัฒนาศักยภาพ ที่ไม่ใช่เน้นแต่ทักษะ เทคนิค เท่านั้น ควรเพิ่มเรื่องเจตจำนง คุณค่า และความหมาย ในแต่ละระบบสุขภาพด้วย