สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ดร.อิบรอฮิม สารีมาแซ

ชื่อโครงการ การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ การจัดการภัยพิบัติโด เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ การจัดการภัยพิบัติโด ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 มกราคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 400,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการภัยพิบัติ คน องค์กร เครือข่ายของการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  2. เพื่อวิเคราะห์กลไกการจัดการภัยพิบัติ เพื่อพัฒนาคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และบ่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)
  3. เพื่อหาแนวทางความร่วมมือของคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศุนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)
  4. เพื่อเสนอตัวแบบในแก้ไขปัญหาการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานร่วมกับสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
  2. ประชุมทีมคณะทำงานเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่
  3. ประชุมทีมคณะทำงาน เพื่อนำไปสู่การจัดเวทีฯ วิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติป่าพรุโต๊ะแดง
  4. ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุโต๊ะแดง
  5. ประชุมสรุปการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  6. ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาป่าพรุบาเจาะ
  7. ประชุมโดยการจัดเวทีเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่พรุบาเจาะ
  8. ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุบาเจาะ
  9. ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้ที่ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
  10. สัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมฯ
  11. การประชุมวิเคราะห์การสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องฯ
  12. ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องฯ ในพื้นที่ป่าพรุ
  13. การสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องฯ ในพื้นที่พรุ
  14. ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้นำและประชาชนในชุมชนรอบป่าพรุ(หลังการสัมภาษณ์)
  15. การประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนป่าพรุทั้ง 2 พื้นที่
  16. การสัมภาษณ์ประชาชนในชุมชนเกี่ยวข้องฯ
  17. ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลประชาชนในพื้นที่ป่าพรุ
  18. ตรวจสอบเอกสารการเงินและบันทึกกิจกรรมออนไลน์
  19. ประชุมทีมวิชาการเพื่อสรุปข้อค้นพบที่ได้ในการกำหนดแนวทางการจัดการภัยพิบัติและร่างข้อเสนอการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  20. ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีคืนข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  21. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  22. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  23. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  24. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  25. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  26. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  27. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ
  28. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  29. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  30. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  31. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  32. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  33. ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
  34. ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ
  35. ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ
  36. ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ
  37. ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ
  38. ถอดบทเรียน “การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและ ป่าพรุบาเจาะ”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานร่วมกับสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 12 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมงาน เพื่อวางแผนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการจัดการภัยพิบัติฯ เพื่อขอเอกสารหรือข้อมูลเบื้องต้นในเก็บรวบรวมข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายชื่อหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่ประสานงานในการจัดการภับพิบัติ

  • photo

 

5 0

2. ประชุมคณะทำงานร่วมกับสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 26 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล จากเอกสารที่ได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารสถาการณ์การจัดการไฟป่า ของจังหวัดนราธิวาส

 

5 0

3. ประชุมทีมคณะทำงาน เพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานเจ้าหน้าที่ เพื่อเข้าร่วมจัดเวทีประชุม 2. ติดต่อสถานที่ในการจัดเวที 3. ระบุกำหนดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้พื้นที่ในการดำเนินการ คือ ป่าพรุโต๊ะแดง ในพื้นที่เทศบาลตำบลปาเสมัส
    • ป่าพรุบาเจาะ ในพื้นที่ อบต.โคกเคียน นิคมสหกรณ์บาเจาะ
  1. กำหนดการในการจัดเวที
  • photo

 

4 0

4. ประชุมทีมงานเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

[1] รายงานข้อมูลสถานการณ์ของสถาการณ์ไฟป่าพรุโต๊ะแดง [2] ร่างทีมคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการภัยพิบัติอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ข้อมูลจากการบันทึกข้อมูล
  2. ร่างรายชื่อทีมคณะกรรมการขับเคลื่อนการจัดการภัยพิบัติอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่พรุโต๊ะแดง
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

16 0

5. ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 16 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำข้อมูลจาการถอดเทปจากการจัดเวทีประชุม
  2. วิเคราะห์เพื่อจัดทำร่างแนวทางการบริหารจัดการไฟป่าในพื้นที่ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่างแนวทางการบริหารจัดการไฟป่า ในสถานการณ์การควบคุมไฟป่าพรุโต๊ะแดง

 

4 0

6. ประชุมทีมงานเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 28 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทีม เพื่อเตรียมสถานที่การจัดเวทีประชุม 2. ทบทวนหัวข้อการจัดเวทีประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดเตรียมสถานที่ในการจัดเวทีประชุม

 

4 0

7. ประชุมทีมงานเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 29 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมเวทีนำเสนอ เพื่อพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภับพิบัติป่าพรุบาเจาะ
  2. ร่างรายชื่อคณะกรรมการการขับเคลื่อนการจัดการภัยพิบัติป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ข้อมูลที่บันทึกเทปจากการจัดประชุม
  2. รายชื่อคณะกรรมการการขับเคลื่อนการจัดการภัยพิบัติ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

21 0

8. ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 3 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

วิเคราะห์ข้อมูลจากการถอดเทปของรายงานข้อมูลสถานการณ์ทั่วไปของสถานการณ์บาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่างแนวทางการบริหารจัดการไฟป่า ในสถานการณ์การควบคุมไฟป่าพรุบาเจาะ

 

4 0

9. ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 25 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. กำหนดพพื้นที่เป้าหมายเพื่อทำการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสรา้งการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติทั้ง 2 พื้นที่
  2. กำหนดข้อคำถามในการสัมภาษณ์ กลุ่มเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตามรายชื่อผู้ประสานงานที่ได้รับจากการจัดเวทีประชุมฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พื้นที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
  2. รูปแบบสัมภาษณ์ฯ

 

4 0

10. การสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 30 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมตัวผู้เก็บข้อมูล 2. ผู้เก็บข้อมูลทำการสัมภาษณ์ตามรูปแบบข้อคำถามที่กำหนดไว้ 3. วิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์ที่ได้รับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลการสัมภาษณ์ตามรูปแบบข้อคำถามการสัมภาษณ์ในเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

15 0

11. ประชุมโดยการจัดเวทีเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในชุมชน

วันที่ 7 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์หน่วยงานเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่ทั้ง 2 พื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานการสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์หน่วยงานเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่ทั้ง 2 พื้นที่

 

4 0

12. การประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 8 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. กำหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อทำการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสรา้งการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติป่าพรุโต๊ะแดง
  2. กำหนดข้อคำถามในการสัมภาษณ์กลุ่มผู้นำชุมชนในรอบป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พื้นที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
  2. รูปแบบสัมภาษณ์ฯ
  • photo
  • photo

 

4 0

13. การสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 15 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมตัวผู้เก็บข้อมูล 2. ผู้เก็บข้อมูลทำการสัมภาษณ์ตามรูปแบบข้อคำถามที่กำหนดไว้ 3. วิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์ที่ได้รับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลการสัมภาษณ์ตามรูปแบบข้อคำถามการสัมภาษณ์ในกลุ่มผู้นำชุมชนในพื้นที่ป่าพรุทั้ง 2 แห่ง

  • photo
  • photo
  • photo

 

50 0

14. ประชุมทีมวิชาการการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 25 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

สังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานการสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่ป่าพรุ

 

4 0

15. การประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ประชาชนในชุมชนที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 30 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. กำหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อทำการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสรา้งการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติป่าพรุบาเจาะ
  2. กำหนดข้อคำถามในการสัมภาษณ์กลุ่มผู้นำชุมชนในรอบป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-1. พื้นที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. รูปแบบสัมภาษณ์ฯ

  • photo

 

4 0

16. การสัมภาษณ์ประชาชนในชุมชนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

วันที่ 5 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-1.เตรียมตัวผู้เก็บข้อมูล 2. ผู้เก็บข้อมูลทำการสัมภาษณ์ตามรูปแบบข้อคำถามที่กำหนดไว้ 3. วิเคราะห์ข้อมูลการสัมภาษณ์ที่ได้รับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ข้อมูลการสัมภาษณ์ตามรูปแบบข้อคำถามการสัมภาษณ์ในกลุ่มผู้นำชุมชนในพื้นที่ป่าพรุทั้ง 2 แห่ง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

119 0

17. ประชุมทีมวิชาการการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่(หลังสัมภาษณ์)

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-สังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ประชาชนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-รายงานสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ประชาชนชุมชนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่

 

4 0

18. ตรวจสอบเอกสารการเงินและบันทึกกิจกรรมออนไลน์

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสอบเอกสารการเงินและบันทึกกิจกรรมออนไลน์บนเว็บไซต์ ศวนส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบงบประมาณการใช้จ่ายทั้งหมด

 

0 0

19. ประชุมทีมวิชาการเพื่อสรุปข้อค้นพบที่ได้ในการกำหนดแนวทางการจัดการภัยพิบัติและร่างข้อเสนอการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมวิชาการเพื่อสรุปข้อค้นพบในการจัดเวทีฯ และสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

(ร่าง) แนวทางการจัดการภัยพิบัติฯ เพื่อดำเนินการคืนข้อมูลกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

 

4 0

20. ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีคืนข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีคืนข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.หนังสือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ประชาชน และผู้นำชุมชน บริเวณป่าพรุ 2.กำหนดการประชุมเพื่อคืนข้อมูล โดยแบ่งเป็น 4 เวที

 

4 0

21. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 1 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

“ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

22. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 2 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง
  2. ร่างรายงานการจัดการภัยพิบัติฯ ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่างรายงานการจัดการภัยพิบัติฯ ป่าพรุโต๊ะแดง

 

4 0

23. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 3 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

“ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

21 0

24. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 4 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง 2.ร่างรายงานการจัดการภัยพิบัติฯ พรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานการจัดการภัยพิบัติฯ พรุโต๊ะแดง

 

4 0

25. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 5 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

“ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

28 0

26. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 6 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทีมโดยการนำข้อมูลที่ได้จากการจัดเวทีฯ และสัมภาษณ์
2.ร่างรายงานการจัดการภัยพิบัติฯ เพื่อไปนำเสนอข้อมูลในเวทีคืนข้อมูลของป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานการจัดการภัยพิบัติฯ เพื่อไปนำเสนอข้อมูลในเวทีคืนข้อมูลของป่าพรุโต๊ะแดง

 

4 0

27. การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 7 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

“ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

24 0

28. ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง

วันที่ 8 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทีมโดยการนำข้อมูลที่ได้จากการจัดเวทีฯ และสัมภาษณ์ มาสังเคราะห์ 2.ร่างรายงานการจัดการภัยพิบัติฯ เพื่อไปนำเสนอข้อมูลในเวทีคืนข้อมูลของป่าพรุโต๊ะแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่างรายงานการจัดการภัยพิบัติฯ เพื่อไปนำเสนอข้อมูลในเวทีคืนข้อมูลของป่าพรุโต๊ะแดง

 

4 0

29. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 12 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ จำนวน 4 ข้อเสนอเชิงนโยบาย ซึ่งได้จากการสังเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย

 

4 0

30. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 13 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
    1. ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการภัยพิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ จำนวน 4 ข้อเสนอเชิงนโยบาย ซึ่งได้จากการสังเคราะห์ข้อมูล

 

4 0

31. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 14 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
    1. ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการภัยพิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ จำนวน 4 ข้อเสนอเชิงนโยบาย

 

4 0

32. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 22 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
    1. ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการภัยพิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ จำนวน 4 ข้อเสนอเชิงนโยบาย

 

4 0

33. ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 24 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

 

4 0

34. ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 25 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

 

4 0

35. ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 26 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

 

4 0

36. ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 3 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมและตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

 

4 0

37. ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

วันที่ 4 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมและตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ

 

4 0

38. ถอดบทเรียน “การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและ ป่าพรุบาเจาะ”

วันที่ 6 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ถอดบทเรียน    “การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและ                      ป่าพรุบาเจาะ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอดบทเรียน    “การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและ                      ป่าพรุบาเจาะ”

 

4 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการภัยพิบัติ คน องค์กร เครือข่ายของการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อวิเคราะห์กลไกการจัดการภัยพิบัติ เพื่อพัฒนาคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และบ่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อหาแนวทางความร่วมมือของคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศุนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อเสนอตัวแบบในแก้ไขปัญหาการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการภัยพิบัติ คน องค์กร เครือข่ายของการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (2) เพื่อวิเคราะห์กลไกการจัดการภัยพิบัติ เพื่อพัฒนาคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และบ่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก) (3) เพื่อหาแนวทางความร่วมมือของคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศุนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง  และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก) (4) เพื่อเสนอตัวแบบในแก้ไขปัญหาการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานร่วมกับสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2) ประชุมทีมคณะทำงานเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่ (3) ประชุมทีมคณะทำงาน เพื่อนำไปสู่การจัดเวทีฯ วิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติป่าพรุโต๊ะแดง (4) ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุโต๊ะแดง (5) ประชุมสรุปการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (6) ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาป่าพรุบาเจาะ (7) ประชุมโดยการจัดเวทีเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่พรุบาเจาะ (8) ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุบาเจาะ (9) ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้ที่ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง (10) สัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมฯ (11) การประชุมวิเคราะห์การสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องฯ (12) ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องฯ ในพื้นที่ป่าพรุ (13) การสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องฯ ในพื้นที่พรุ (14) ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้นำและประชาชนในชุมชนรอบป่าพรุ(หลังการสัมภาษณ์) (15) การประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนป่าพรุทั้ง 2 พื้นที่ (16) การสัมภาษณ์ประชาชนในชุมชนเกี่ยวข้องฯ (17) ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลประชาชนในพื้นที่ป่าพรุ (18) ตรวจสอบเอกสารการเงินและบันทึกกิจกรรมออนไลน์ (19) ประชุมทีมวิชาการเพื่อสรุปข้อค้นพบที่ได้ในการกำหนดแนวทางการจัดการภัยพิบัติและร่างข้อเสนอการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (20) ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีคืนข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (21) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (22) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (23) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (24) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (25) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (26) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (27) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ (28) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (29) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (30) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (31) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (32) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (33) ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง          และป่าพรุบาเจาะ (34) ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (35) ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (36) ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (37) ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (38) ถอดบทเรียน “การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและ                      ป่าพรุบาเจาะ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ การจัดการภัยพิบัติโด

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.อิบรอฮิม สารีมาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด