แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา ”
ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
หัวหน้าโครงการ
ดร จินดา สวัสดิ์ทวี
ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา
ที่อยู่ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,750.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โควิด 19 ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาตั้งแต่ต้นปี 2563 เป็นต้นมา ส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีการเดินทางน้อยลง รวมไปถึงการมีมาตราการณ์ต่าง ๆ ที่ออกมาโดยรัฐบาล เพื่อป้องกันสถานการณ์โควิด 19 ทั้งนี้ส่งผลให้สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ทั้งกระแสหลักและกระแสรอง ได้รับผลกระทบทั้งสิ้น รวมไปถึงการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์นี้เช่นกัน ผู้วิจัยจึงได้นำกระบวนการ HIA มาเป็นเครื่องมือในการประเมินเพื่อประเมินผลกระทบของการจัดการท่องเที่ยวโดยชมุชนของชุมชนบ้านสามช่องเหนือที่ได้รับจากสถานการณ์โควิด 19
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินและติดตามการดำเนินโครงการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนภายใต้สถานการณ์โควิด 19
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 ครั้งที่ 1
- สรุป วิเคราะห์ สรุปผลที่ได้จากการลงพื้นที่ ครั้งที่ 1
- ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 (เพิ่มเติม) และจัดทำข้อสรุปทีได้จากการสัมภาษณ์
- จัดทำรายงาน และข้อสรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ได้ทราบเกี่ยวกับผลกระทบในด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากสถานการณ์โควิด 19 เมื่อเทียบกับสถานการ์ปกติ
2 นำผลการวิเคราะห์ไปพัฒนาสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 ครั้งที่ 1
วันที่ 9 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่บ้านสามช่องเหนือ เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากสถานการณ์โควิด 19
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากลงพื้นที่ พบว่า บ้านสามช่องเหนือได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุด เนื่องจากจำนวนนักท่องเที่ยวลดลง ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ และรายได้ที่ได้จากการท่องเที่ยวในชุมชนลดลง ทำให้คนในชุมชนขาดรายได้เสริม แต่ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พบว่า คนในชุมชนสามารถทำอาชีพประมง หา ปู ปลา เพื่อนำมาขายเป็นรายได้เพื่อใช้ในครอบครัวได้
30
0
2. สรุป วิเคราะห์ สรุปผลที่ได้จากการลงพื้นที่ ครั้งที่ 1
วันที่ 15 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
สรุป รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผลกระทบต่างๆ ของบ้านสามช่องเหนือ ทีไ่ด้รับจากสถานการณ์โควิด 19
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลทีไ่ด้ พบว่า ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ของชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ ด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากปริมาณนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในชมุชนลดน้อยลง ส่งผลให้รายได้เข้าสู่ชุมชน ลดลง
3
0
3. ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 (เพิ่มเติม) และจัดทำข้อสรุปทีได้จากการสัมภาษณ์
วันที่ 13 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่ครั้งที่ 2 เพื่อนำข้อสรุปทีไ่ด้จากการลงพื้นที่ครั้งแรก พร้อมทั้งจัดทำข้อสรุปที่ได้จากการสัมภาษณ์ ไปสู่ข้อสรุปเชิงนโยบาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม
1 นำผลการวิเคราะห์ข้อสรุปต่าง ๆ ในประเด็นของผลกระทบด้านต่าง ๆ ทีเ่กิดจากสถานการณ์โควิด 19 ไปสรุปให้คนในชุมชนฟัง เพื่อความถูกต้องและชัดเจน
2 สัมภาษณ์ ประชุม และจัดทำข้อสรุปเชิงนโยบาย เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุมชนในอนาคต
15
0
4. จัดทำรายงาน และข้อสรุปโครงการ
วันที่ 18 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
สรุป ผลการวิเคราะห์จากการลงพื้นที่ทั้ง 2 ครั้ง โดยใช้กระบวนการและเครืองมือ HIA
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปได้ว่า ชุมชนมีความต้องการในการพัฒนาอย่างมากที่สุด เนื่องจากอยู่ในช่วงของหลังสถานการณ์โควิด ทั้งเพื่อเตรียมพร้อมรับในการต้อนรับนักท่องเที่ยวชาวไทย และนักท่องเที่ยวต่างชาติในอนาคตข้างหน้าเมื่อสถานการณ์นี้คลีคลาย นอกจากนี้ ชาวบ้านในชุมชน พร้อมทั้งแกนนำ ร่วมมือกันในการพัฒนาและต่อยอด แม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด
3
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประเมินและติดตามการดำเนินโครงการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนภายใต้สถานการณ์โควิด 19
ตัวชี้วัด : ผลการะทบทางด้านเศรษฐกิจ มีรายได้ลดลง เมื่อเทียบกับสถารการณ์ปกติ
3.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร จินดา สวัสดิ์ทวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา ”
ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงาหัวหน้าโครงการ
ดร จินดา สวัสดิ์ทวี
ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา
ที่อยู่ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ตำบลกะไหล อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,750.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โควิด 19 ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาตั้งแต่ต้นปี 2563 เป็นต้นมา ส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีการเดินทางน้อยลง รวมไปถึงการมีมาตราการณ์ต่าง ๆ ที่ออกมาโดยรัฐบาล เพื่อป้องกันสถานการณ์โควิด 19 ทั้งนี้ส่งผลให้สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ทั้งกระแสหลักและกระแสรอง ได้รับผลกระทบทั้งสิ้น รวมไปถึงการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ก็เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์นี้เช่นกัน ผู้วิจัยจึงได้นำกระบวนการ HIA มาเป็นเครื่องมือในการประเมินเพื่อประเมินผลกระทบของการจัดการท่องเที่ยวโดยชมุชนของชุมชนบ้านสามช่องเหนือที่ได้รับจากสถานการณ์โควิด 19
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประเมินและติดตามการดำเนินโครงการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนภายใต้สถานการณ์โควิด 19
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 ครั้งที่ 1
- สรุป วิเคราะห์ สรุปผลที่ได้จากการลงพื้นที่ ครั้งที่ 1
- ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 (เพิ่มเติม) และจัดทำข้อสรุปทีได้จากการสัมภาษณ์
- จัดทำรายงาน และข้อสรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ได้ทราบเกี่ยวกับผลกระทบในด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากสถานการณ์โควิด 19 เมื่อเทียบกับสถานการ์ปกติ
2 นำผลการวิเคราะห์ไปพัฒนาสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่บ้านสามช่องเหนือ เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากสถานการณ์โควิด 19 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากลงพื้นที่ พบว่า บ้านสามช่องเหนือได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุด เนื่องจากจำนวนนักท่องเที่ยวลดลง ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ และรายได้ที่ได้จากการท่องเที่ยวในชุมชนลดลง ทำให้คนในชุมชนขาดรายได้เสริม แต่ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พบว่า คนในชุมชนสามารถทำอาชีพประมง หา ปู ปลา เพื่อนำมาขายเป็นรายได้เพื่อใช้ในครอบครัวได้
|
30 | 0 |
2. สรุป วิเคราะห์ สรุปผลที่ได้จากการลงพื้นที่ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำสรุป รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผลกระทบต่างๆ ของบ้านสามช่องเหนือ ทีไ่ด้รับจากสถานการณ์โควิด 19 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลทีไ่ด้ พบว่า ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ของชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ ด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากปริมาณนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในชมุชนลดน้อยลง ส่งผลให้รายได้เข้าสู่ชุมชน ลดลง
|
3 | 0 |
3. ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลของชุมชนที่จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ก่อนและหลังสถานการณ์ โควิด 19 (เพิ่มเติม) และจัดทำข้อสรุปทีได้จากการสัมภาษณ์ |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่ครั้งที่ 2 เพื่อนำข้อสรุปทีไ่ด้จากการลงพื้นที่ครั้งแรก พร้อมทั้งจัดทำข้อสรุปที่ได้จากการสัมภาษณ์ ไปสู่ข้อสรุปเชิงนโยบาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม 1 นำผลการวิเคราะห์ข้อสรุปต่าง ๆ ในประเด็นของผลกระทบด้านต่าง ๆ ทีเ่กิดจากสถานการณ์โควิด 19 ไปสรุปให้คนในชุมชนฟัง เพื่อความถูกต้องและชัดเจน 2 สัมภาษณ์ ประชุม และจัดทำข้อสรุปเชิงนโยบาย เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุมชนในอนาคต
|
15 | 0 |
4. จัดทำรายงาน และข้อสรุปโครงการ |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำสรุป ผลการวิเคราะห์จากการลงพื้นที่ทั้ง 2 ครั้ง โดยใช้กระบวนการและเครืองมือ HIA ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปได้ว่า ชุมชนมีความต้องการในการพัฒนาอย่างมากที่สุด เนื่องจากอยู่ในช่วงของหลังสถานการณ์โควิด ทั้งเพื่อเตรียมพร้อมรับในการต้อนรับนักท่องเที่ยวชาวไทย และนักท่องเที่ยวต่างชาติในอนาคตข้างหน้าเมื่อสถานการณ์นี้คลีคลาย นอกจากนี้ ชาวบ้านในชุมชน พร้อมทั้งแกนนำ ร่วมมือกันในการพัฒนาและต่อยอด แม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด
|
3 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินและติดตามการดำเนินโครงการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนภายใต้สถานการณ์โควิด 19 ตัวชี้วัด : ผลการะทบทางด้านเศรษฐกิจ มีรายได้ลดลง เมื่อเทียบกับสถารการณ์ปกติ |
3.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ชุมชนบ้านสามช่องเหนือ จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร จินดา สวัสดิ์ทวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......