สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ”

โรงพยาบาลเทพา และ รพ.สต.ในพื้นที่อำเภอเทพา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.นงลักษณ์ เหนี่ยวทอง

ชื่อโครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ โรงพยาบาลเทพา และ รพ.สต.ในพื้นที่อำเภอเทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลเทพา และ รพ.สต.ในพื้นที่อำเภอเทพา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลเทพา และ รพ.สต.ในพื้นที่อำเภอเทพา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 180,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 240 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 หมวดที่ 1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพมาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตจำนง ไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้ ซึ่งความเป็นมาและความสำคัญของหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขตามพ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาตินั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยที่ทำหนังสือแสดงเจตนาสามารถปฏิเสธการรักษาที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยที่อยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต เช่นผู้ป่วยที่มีสภาพฟื้นไม่ได้ตายไม่ลง มีชีวิตอยู่ด้วยเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึงผู้ป่วยที่ต้องทุกข์ทรมานจากโรคบางโรคในระยะยาวโดยไม่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ผู้ป่วยมีอาการทรุดหนักลงเรื่อยๆ การรักษาบางวิธีการอาจเป็นสิ่งที่เกินความจำเป็น หรือไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วย อีกทั้งยังกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมากโดยไม่เกิดประโยชน์ใดๆ นอกจากนั้น ยังเป็นภาระต่อระบบบริการสาธารณสุขของประเทศโดยรวม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา มีจำนวนผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น และในขณะเดียวกันผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวก็มีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเช่นกันดังจะเห็นได้จากข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 – เดือนมกราคม 2561 มีจำนวนผู้ป่วย 25 ,34 ,35 และ 40 ราย ตามลำดับ พบอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวจำนวน 3 ,5 ,4 และ 5 ราย ตามลำดับซึ่งเมื่อจำแนกโรค พบว่าอันดับหนึ่งเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็ง รองลงมาเป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะท้าย การดูแลที่ผ่านมาเน้นการดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย จิตใจ และจิตสังคม แต่ยังไม่ครอบคลุมมิติทางด้านจิตวิญญาณ คณะกรรมการ Palliative care โรงพยาบาลเทพาได้ดำเนินการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง และเล็งเห็นความสำคัญว่าควรพัฒนาให้เกิดบริการนี้ทั้งในส่วนของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลเทพา และเครือข่ายสาธารณสุข เพื่อต้องการพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้ และทักษะการดูแลผู้ป่วย ให้มีเจตคติที่ดีต่อการพยาบาลผู้ป่วยระยะท้าย โดยสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนครอบคลุมมิติทางด้านกาย จิต จิตสังคม และจิตวิญญาณ ตลอดจนสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพื้นที่อำเภอเทพาให้มีศักยภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีองค์ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
  2. 2.เพื่อจัดรูปแบบการบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงโครงการ

    วันที่ 17 มกราคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ความรู้ความเข้าใจการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 2.มีแผนปฏิบัติการและคณะทำงาน 3.มีรายงานการประชุมและการรายงานผลการปฎิบัติการ

     

    25 12

    2. ประชุมครั้งที่ 2 ประชุมจัดทำแผนปฎิบัติการ

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นัดหมายวันเวลาสถานที่ประชุม 2.ประธานแจ้งนโยบายแผนงานตามโครงการ 3.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดของโครงการแก่คณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาลเทพา 4.ร่วมปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานตามโครงการพหุวัฒนธรรม 5.สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะกรรมการมีความรู้ ความเข้าใจในแผนโครงการ 2.มีแผนปฏิบัติการตามโครงการ 3.มีคณะกรรมการดำเนินงาน 4.มีแผนการดำเนินงานต่อเนื่องในกิจกรรมศึกษาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับพหุวัฒนธรรม ตามวิธีพุทธและมุสลิม ซึ่งจัดการสนทนากลุ่ม กำหนดพื้นที่จัดกิจกรรมดังนี้ - วิถีพุทธ เลือกพื้นที่เขตตำบลวังใหญ่ ณ วัดคลองยอ และอีกพื้นที่ อยู่ในเขตหมู่ 1 ตำบลเทพา ณ ตลาดนัดเทพา - วิถีมุสลิม เลือกพื้นที่เขตหมู่ 3 พรุหมาก และอีกพื้นที่ อยู่ในเขตตำบลสะกอม ณ มัสยิดบ้านสวรรค์

     

    25 25

    3. จัดอบรมให้ความรู้ครั้งที่1 รุ่นที่ 1 จำนวน 2 วัน รุ่นละ 2 วัน

    วันที่ 26 เมษายน 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ณ อาคารส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลเทพา จำนวน2 วัน
    2. วันแรกที่จัดอบรม คือวันที่ 26 เม.ย.61 เวลา 08.30-16.00 น.เป็นการให้ความรู้เชิงวิชาการเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง โดยพญ.พฤกษพร ธรรมโชติ และพว.กัลยา แซ่ชิต ซึ่งดูแลศูนย์ประคับประคองโรงพยาบาลสงขลา ( รพ.แม่ข่าย )
    3. วันที่สองของการจัดอบรม คือวันที่ 27 เม.ย.61 เวลา 08.30-16.00 น.เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดบริการสุขภาพภายใต้พหุวัฒนธรรม โดยนพ.มาหะมะ เมาะมูลา ผู้อำนวยการโพรงพยาบาลรือเสาะ จ.นราธิวาสและผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์พยาบาล มอ.วิทยาเขตปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 คณะกรรมการ ร้อยละ 100 (25/25100) พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 (142/175100)เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม คณะกรรมการมีความรู้เพิ่มขึ้น(ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60) ร้อยละ 100 (25/25*100) จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%)

     

    50 50

    4. จัดอบรมให้ความรู้ครั้งที่2 รุ่นที่ 2 ระยะเวลา 1 วัน

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธ โดยผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์รัตติกาล เรืองฤทธิ์ และอาจารย์วิไลพร สมานกสิกรณ์ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีม 3.ถอดบทเรียนกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 -พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม -จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%) 2.จากการถอดบทเรียนผู้เข้าร่วมอบรม และเก็บแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม พบว่าภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธมากขึ้น ชื่นชมวิทยากรว่ามีความรู้ความสามารถในการถ่ายถอดข้อมูลได้ดีมาก และบอกว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาไม่เคยมีมาก่อน

     

    50 50

    5. จัดอบรมให้ความรู้ครั้งที่ 3 รุ่นที่ 3 ระยะเวลา 1 วัน

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธ โดยผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์รัตติกาล เรืองฤทธิ์ และอาจารย์วิไลพร สมานกสิกรณ์ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีม 3.ถอดบทเรียนกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.1.ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 -พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม -จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%) 2.จากการถอดบทเรียนผู้เข้าร่วมอบรม และเก็บแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม พบว่าภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธมากขึ้น ชื่นชมวิทยากรว่ามีความรู้ความสามารถในการถ่ายถอดข้อมูลได้ดีมาก และบอกว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาไม่เคยมีมาก่อน

     

    50 50

    6. จัดอบรมให้ความรู้ครั้งที่4 รุ่นที่ 4 ระยะเวลา 1 วัน

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธ โดยผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์รัตติกาล เรืองฤทธิ์ และอาจารย์วิไลพร สมานกสิกรณ์ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีม 3.ถอดบทเรียนกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 -พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม -จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%) 2.จากการถอดบทเรียนผู้เข้าร่วมอบรม และเก็บแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม พบว่าภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธมากขึ้น ชื่นชมวิทยากรว่ามีความรู้ความสามารถในการถ่ายถอดข้อมูลได้ดีมาก และบอกว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาไม่เคยมีมาก่อน

     

    50 50

    7. ศึกษาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับพหุวัฒนธรรม กลุ่มที่ 1

    วันที่ 1 สิงหาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายภายใต้พหุวัฒนธรรมมากขึ้น 2.นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน และช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยระแวกบ้าน 3.แบบแผนการดูแลผู้ป่วย

     

    50 50

    8. ศึกษาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับพหุวัฒนธรรม กลุ่มที่ 2 จำนวน 4 รอบๆละ 7 คน

    วันที่ 6 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เลือกพื้นที่จัดกิจกรรมสนทนากลุ่ม โดยวิถีพุทธเลือกจัด 2 ที่ ได้แก่ วัดคลองยอ ต.วังใหญ่ จัดในวันที่ 6 กันยายน 2561 และห้องประชุมสสอ.เทพา จัดในวันที่ 10 กันยายน 2561 ส่วนวิถีมุสลิมเลือก 2 ที่ ได้แก่ มัสยิดพรุหมาก จัดวันที่ 13 กันยายน 2561 และห้องประชุมสสอ.เทพา จัดในวันที่ 20 กันยายน 2561 2.ทำหนังสือแจ้งในส่วนของของงานเวช ซึ่งรับผิดชอบ PCU1-3 และสสอ.ซึ่งรับผิดชอบในส่วนของรพ.สต.ทั้ง 11 แห่ง 3.ให้แต่ละพื้นที่ดึงตัวแทนของผู้รู้วิถีละ 2 คน มาร่วมสนทนากลุ่มตามวันและเวลาที่กำหนด 4.แบ่งการสนทนากลุ่มเป็น 2 รอบ/วัน รอบละ 7 คน ( 7 พื้นที่ ) ใช้เวลาไม่เกิน 2 ชม./รอบ 5.แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานของผู้ดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ชุดข้อมูลการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมจากการถอดบทเรียนบุคลากรและผู้รู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิถีพุทธ และวิถีมุสลิม 2.เครือข่ายอาสาสมัครชุมชน 41 คน ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในแต่ละพื้นที่ 3.แบบแผนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในวิถีพุทธ และวิถีมุสลิม

     

    56 41

    9. จัดกิจกรรมถ่ายทอดประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

    วันที่ 6 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นเตรียมการ 1. ทำหนังสือ และบันทึกข้อความเชิญ - คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา
    - ตัวแทนผู้รู้วิถีพุทธ มุสลิมของแต่ละพื้นที่ ซึ่งได้แก่ รพ.สต.11 แห่ง และ PCU 3 แห่ง - ผู้ที่มีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ขั้นดำเนินการ 1. ทำกิจกรรมการถ่ายทอดประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย โดยลักษณะแบ่งกลุ่ม ร่วมกันคิด พร้อมนำเสนอ 2. สรุปผลการดำเนิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 100
    ผลลัพธ์ 1. กลุ่มเป้าหมาย ได้นำสิ่งที่เรียนรู้จากโครงการ ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง ทั้งในวิถีพุทธ และมุสลิม 2. จัดตั้งกลุ่ม line เครือข่ายสุขภาพในชุมชน จากตัวแทนของแต่ละพื้นที่

     

    50 0

    10. ประชุมวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ

    วันที่ 7 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันคิดวิเคราะห์ และจัดทำคู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้เข้าร่วมตามเป้าหมายที่วางไว้ 70 คน 2.มีคู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

     

    25 0

    11. จัดระบบการดูแลผู้ป่วยในส่วนของโรงพยาบาลและชุมชน

    วันที่ 11 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงแนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา พร้อมให้ที่ประชุมเสนอแนะ และเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ 2.วางแผนจัดทำคู่มือปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วมจำนวน 25 คน 2.คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา 3.แนวทางการดูแลผู้ป่วยในส่วนของโรงพยาบาลและชุมชนสอดคล้องวิถีชีิวิตชุมชน

     

    25 0

    12. จัดทำคู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา

    วันที่ 12 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นำคู่มือฉบับสจรส.มอ.มาตั้งเป็นเกณฑ์ 2 เพิ่มเติมประเด็นที่ทำอยู่เดิมโดยไม่มีในคู่มือ และประเด็นที่มีเพิ่มจากการทำโครงการ 3.จัดทำคู่มือฉบับใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

     

    25 4

    13. ประชุมประเมินผลกิจกรรม

    วันที่ 13 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เชิญคณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา มาร่วมประเมินผลการดำเนินงาน 2.ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยน พร้อมเพิ่มเติมข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วม จำนวน 25 คน 2.มีรูปแบบการดำเนินงานที่ชัดเจน 3.ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ และผู้ได้รับการดูแล

     

    25 0

    14. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

    วันที่ 14 ธันวาคม 2561 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เชิญคณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วมสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วม จำนวน 25 คน 2.ผลการดำเนินงานแต่ละกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ และตัวชี้ัดที่กำหนด

     

    25 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีองค์ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเทพาที่เข้าร่วมประชุม 2.ผลการประเมินความรู้หลังการฝึกอบรมเพิ่มขึ้น

     

    2 2.เพื่อจัดรูปแบบการบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
    ตัวชี้วัด : 1.คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา 2.ระบบการดูแลผู้ป่วยในส่วนของโรงพยาบาลและชุมชนสอดคล้องวิถีชีวิตชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีองค์ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (2) 2.เพื่อจัดรูปแบบการบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.นงลักษณ์ เหนี่ยวทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด