พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
1.เชิญคณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วมสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
1.คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วม จำนวน 25 คน 2.ผลการดำเนินงานแต่ละกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ และตัวชี้ัดที่กำหนด
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ไม่มี
อยากให้มีโครงการดีๆแบบนี้อย่างต่อเนื่อง
ไม่มี
ประเมินผลกิจกรรม
1.เชิญคณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา มาร่วมประเมินผลการดำเนินงาน 2.ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยน พร้อมเพิ่มเติมข้อเสนอแนะ
1.คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วม จำนวน 25 คน 2.มีรูปแบบการดำเนินงานที่ชัดเจน 3.ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ และผู้ได้รับการดูแล
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ขอบคุณที่เปิดโอกาสให้ทำโครงการ
เป็นกิจกรรมที่ดี
เพื่อจัดทำคู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
1.นำคู่มือฉบับสจรส.มอ.มาตั้งเป็นเกณฑ์ 2 เพิ่มเติมประเด็นที่ทำอยู่เดิมโดยไม่มีในคู่มือ และประเด็นที่มีเพิ่มจากการทำโครงการ 3.จัดทำคู่มือฉบับใหม่
คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาลเทพาบางส่วน และเจ้าหน้าที่โสตโรงพยาบาลเทพา
ไม่มี
ขอบคุณที่มอบโอกาสดีๆให้โรงพยาบาลเทพา
เป็นโครงการที่ดี
จัดระบบการดูแลผู้ป่วยในส่วนของโรงพยาบาลและชุมชนให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
1.ชี้แจงแนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา พร้อมให้ที่ประชุมเสนอแนะ และเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ 2.วางแผนจัดทำคู่มือปฏิบัติ
1.คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพาเข้าร่วมจำนวน 25 คน 2.คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา 3.แนวทางการดูแลผู้ป่วยในส่วนของโรงพยาบาลและชุมชนสอดคล้องวิถีชีิวิตชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ไม่มี
เป็นโครงการที่ดีมาก
เป็นกิจกรรมที่ดี
เพื่อจัดทำคู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ร่วมกันคิดวิเคราะห์ และจัดทำคู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
1.ผู้เข้าร่วมตามเป้าหมายที่วางไว้ 70 คน 2.มีคู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ไม่มี
ขอบคุณที่มอบโอกาสให้จัดกิจกรรมดีๆแบบนี้
เป็นกิจกรรมที่ดี
เพื่อรับทราบวิธีการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในวิถีพุทธ และมุสลิม
ขั้นเตรียมการ
1. ทำหนังสือ และบันทึกข้อความเชิญ
- คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา
- ตัวแทนผู้รู้วิถีพุทธ มุสลิมของแต่ละพื้นที่ ซึ่งได้แก่ รพ.สต.11 แห่ง และ PCU 3 แห่ง
- ผู้ที่มีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
ขั้นดำเนินการ
1. ทำกิจกรรมการถ่ายทอดประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย โดยลักษณะแบ่งกลุ่ม ร่วมกันคิด พร้อมนำเสนอ
2. สรุปผลการดำเนิน
ผลผลิต
1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 100
ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมาย ได้นำสิ่งที่เรียนรู้จากโครงการ ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง ทั้งในวิถีพุทธ และมุสลิม
2. จัดตั้งกลุ่ม line เครือข่ายสุขภาพในชุมชน จากตัวแทนของแต่ละพื้นที่
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ไม่มี
ขอบคุณที่เปิดโอกาส และสนับสนุนงบประมาณให้ทำกิจกรรมดีๆแบบนี้
เป็นกิจกรรมที่ดีมาก
ถอดบทเรียนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในวิถีพุทธ และวิถีมุสลิม
1.เลือกพื้นที่จัดกิจกรรมสนทนากลุ่ม โดยวิถีพุทธเลือกจัด 2 ที่ ได้แก่ วัดคลองยอ ต.วังใหญ่ จัดในวันที่ 6 กันยายน 2561 และห้องประชุมสสอ.เทพา จัดในวันที่ 10 กันยายน 2561 ส่วนวิถีมุสลิมเลือก 2 ที่ ได้แก่ มัสยิดพรุหมาก จัดวันที่ 13 กันยายน 2561 และห้องประชุมสสอ.เทพา จัดในวันที่ 20 กันยายน 2561 2.ทำหนังสือแจ้งในส่วนของของงานเวช ซึ่งรับผิดชอบ PCU1-3 และสสอ.ซึ่งรับผิดชอบในส่วนของรพ.สต.ทั้ง 11 แห่ง 3.ให้แต่ละพื้นที่ดึงตัวแทนของผู้รู้วิถีละ 2 คน มาร่วมสนทนากลุ่มตามวันและเวลาที่กำหนด 4.แบ่งการสนทนากลุ่มเป็น 2 รอบ/วัน รอบละ 7 คน ( 7 พื้นที่ ) ใช้เวลาไม่เกิน 2 ชม./รอบ 5.แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานของผู้ดำเนินการ
1.ได้ชุดข้อมูลการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมจากการถอดบทเรียนบุคลากรและผู้รู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิถีพุทธ และวิถีมุสลิม 2.เครือข่ายอาสาสมัครชุมชน 41 คน ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในแต่ละพื้นที่ 3.แบบแผนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในวิถีพุทธ และวิถีมุสลิม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รู้ของแต่ชุมชนในอำเภอเทพา ในวิถีพุทธจำนวน 23 คน และผู้รู้ในวิถีมุสลิมจำนวน 18 คน
1.สถานที่ ที่ใช้ในการจัดการทำสนทนากลุ่มในครั้งแรก ไม่เอื้อต่อการดำเนินการ เนื่องจากช่วงเช้าอากาศร้อนมาก พัดลมมีจำนวนน้อย ไม่ทั่วถึง ส่วนรอบบ่ายฝนตกหนัก ลมแรง พูดคุยไม่ได้ยิน จึงปรับเปลี่ยนสถานที่การทำสนทนากลุ่มรอบ 2 เป็นห้องประชุมสสอ.เทพา ซึ่งเงียบ บรรยากาศผ่อนคลาย สบาย จึงได้ประเด็นมากขึ้น 2.บางพื้นที่ไม่มีตัวแทนวิถีพุทธ และบางพื้นที่ ไม่มีตัวแทนวิถีมุสลิม
-
-
ถอดบทเรียนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในวิถีพุทธ และวิถีมุสลิม
สัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรม
1.มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายภายใต้พหุวัฒนธรรมมากขึ้น 2.นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน และช่วยเหลือ/ดูแลผู้ป่วยระแวกบ้าน 3.แบบแผนการดูแลผู้ป่วย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่รพ.เทพาที่ผ่านการอบรม
-
-
-
1.เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลเทพามีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในสังคมพหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีพุทธ วิถีมุสลิม 2.เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลเทพามีสมรรถนะทางวัฒนธรรม 3.เพิ่มแรงจูงใจ/แนวทางความก้าวหน้าในอาชีพให้บุคลากรที่ดำเนินงานด้านการบริการสุขภาพในพ
1.ชี้แจงระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธ โดยผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์รัตติกาล เรืองฤทธิ์ และอาจารย์วิไลพร สมานกสิกรณ์ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีม 3.ถอดบทเรียนกิจกรรม
1.ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 -พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม -จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%) 2.จากการถอดบทเรียนผู้เข้าร่วมอบรม และเก็บแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม พบว่าภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธมากขึ้น ชื่นชมวิทยากรว่ามีความรู้ความสามารถในการถ่ายถอดข้อมูลได้ดีมาก และบอกว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาไม่เคยมีมาก่อน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ตัวแทนเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเทพาทุกหน่วยงาน
-
1.เป็นโครงการที่ดีมาก เปิดโอกาสให้โรงพยาบาลเทพาได้จัดกิจกรรมเพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนสร้างสุขให้ผู้ปฏิบัติงานทุกภากส่วน
1.เป็นโครงการที่ดีมาก เปิดโอกาสให้โรงพยาบาลเทพาได้จัดกิจกรรมเพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนสร้างสุขให้ผู้ปฏิบัติงานทุกภากส่วน
1.เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลเทพามีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในสังคมพหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีพุทธ วิถีมุสลิม 2.เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลเทพามีสมรรถนะทางวัฒนธรรม 3.เพิ่มแรงจูงใจ/แนวทางความก้าวหน้าในอาชีพให้บุคลากรที่ดำเนินงานด้านการบริการสุขภาพในพ
1.ชี้แจงระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธ โดยผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์รัตติกาล เรืองฤทธิ์ และอาจารย์วิไลพร สมานกสิกรณ์ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีม 3.ถอดบทเรียนกิจกรรม
1.1.ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 -พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม -จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%) 2.จากการถอดบทเรียนผู้เข้าร่วมอบรม และเก็บแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม พบว่าภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธมากขึ้น ชื่นชมวิทยากรว่ามีความรู้ความสามารถในการถ่ายถอดข้อมูลได้ดีมาก และบอกว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาไม่เคยมีมาก่อน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ตัวแทนเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเทพาทุกหน่วยงาน
-
1.เป็นโครงการที่ดีมาก เปิดโอกาสให้โรงพยาบาลเทพาได้จัดกิจกรรมเพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนสร้างสุขให้ผู้ปฏิบัติงานทุกภากส่วน
ความร่วมมือของเจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลเทพามีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายในสังคมพหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีพุทธ วิถีมุสลิม 2.เพื่อให้บุคลากรของโรงพยาบาลเทพามีสมรรถนะทางวัฒนธรรม 3.เพิ่มแรงจูงใจ/แนวทางความก้าวหน้าในอาชีพให้บุคลากรที่ดำเนินงานด้านการบริการสุขภาพในพ
1.ชี้แจงระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธ โดยผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์รัตติกาล เรืองฤทธิ์ และอาจารย์วิไลพร สมานกสิกรณ์ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีม 3.ถอดบทเรียนกิจกรรม
1.ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 -พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม -จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%) 2.จากการถอดบทเรียนผู้เข้าร่วมอบรม และเก็บแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม พบว่าภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม ทั้งวิถีอิสลาม และวิถีพุทธมากขึ้น ชื่นชมวิทยากรว่ามีความรู้ความสามารถในการถ่ายถอดข้อมูลได้ดีมาก และบอกว่าเป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ซึ่งที่ผ่านมาไม่เคยมีมาก่อน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเทพาทุกแผนก รวม 50 คน
ความร่วมมือของคณะทำงาน
1.เป็นโครงการที่ดีมาก เปิดโอกาสให้โรงพยาบาลเทพาได้จัดกิจกรรมเพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนสร้างสุขให้ผู้ปฏิบัติงานทุกภากส่วน
ไม่มี
1.เพื่อให้คณะทำงานทีมดูแลผู้ป่วยประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพามีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง 2.เพื่อให้คณะทำงานทีมดูแลผู้ป่วยประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพามีความรู้เรื่องการจัดบริการสุขภาพภายใต้พหุวัฒนธรรม
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ณ อาคารส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลเทพา จำนวน2 วัน
- วันแรกที่จัดอบรม คือวันที่ 26 เม.ย.61 เวลา 08.30-16.00 น.เป็นการให้ความรู้เชิงวิชาการเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง โดยพญ.พฤกษพร ธรรมโชติ และพว.กัลยา แซ่ชิต ซึ่งดูแลศูนย์ประคับประคองโรงพยาบาลสงขลา ( รพ.แม่ข่าย )
- วันที่สองของการจัดอบรม คือวันที่ 27 เม.ย.61 เวลา 08.30-16.00 น.เป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดบริการสุขภาพภายใต้พหุวัฒนธรรม โดยนพ.มาหะมะ เมาะมูลา ผู้อำนวยการโพรงพยาบาลรือเสาะ จ.นราธิวาสและผศ.ดร.ปรียา แก้วพิมล อาจารย์พยาบาล มอ.วิทยาเขตปัตตานี
ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 1.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม ร้อยละ 83.5 คณะกรรมการ ร้อยละ 100 (25/25100) พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรโรงพยาบาลเทพาที่สนใจร้อยละ 81.14 (142/175100)เข้าร่วมอบรม 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรม คณะกรรมการมีความรู้เพิ่มขึ้น(ผ่านเกณฑ์ร้อยละ60) ร้อยละ 100 (25/25*100) จำนวนพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรมีความรู้ระดับปานกลางขึ้นไป เพิ่มขึ้น(71.93%>>>>>92.98%)
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานทีมประคับประคองเครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา และพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเทพาผู้ที่สนใจ จำนวนรวม 50 คน
ผู้เข้าร่วมการอบรมควรหลากหลายวิชาชีพ และให้ครอบคลุมบุคลากรสาธารณสุข
เป็นโครงการที่ดี เปิดโอกาสให้พื้นที่ได้แสดงศักยภาพ/บทบาท ในการดูแลผู้ป่วยอย่างเต็มที่ ซึ่งคาดว่าจะเกิดผลดีทั้งผู้ปฏิบัติ และผู้ป่วยเป็นอย่างสูง
-
ชี้แจงแผนการดำเนินโครงการ ,วางแผนการดำเนินงานร่วมกับคณะกรรมการ,ร่วมปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานตามโครงการพหุวัฒนธรรม
1.นัดหมายวันเวลาสถานที่ประชุม 2.ประธานแจ้งนโยบายแผนงานตามโครงการ 3.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดของโครงการแก่คณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาลเทพา 4.ร่วมปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินงานตามโครงการพหุวัฒนธรรม 5.สรุปผลการดำเนินงาน
1.คณะกรรมการมีความรู้ ความเข้าใจในแผนโครงการ 2.มีแผนปฏิบัติการตามโครงการ 3.มีคณะกรรมการดำเนินงาน 4.มีแผนการดำเนินงานต่อเนื่องในกิจกรรมศึกษาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับพหุวัฒนธรรม ตามวิธีพุทธและมุสลิม ซึ่งจัดการสนทนากลุ่ม กำหนดพื้นที่จัดกิจกรรมดังนี้ - วิถีพุทธ เลือกพื้นที่เขตตำบลวังใหญ่ ณ วัดคลองยอ และอีกพื้นที่ อยู่ในเขตหมู่ 1 ตำบลเทพา ณ ตลาดนัดเทพา - วิถีมุสลิม เลือกพื้นที่เขตหมู่ 3 พรุหมาก และอีกพื้นที่ อยู่ในเขตตำบลสะกอม ณ มัสยิดบ้านสวรรค์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาล ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ในส่วนของโรงพยาบาล และรพ.สต.จำนวน 25 คน
1.เดิมวางแผนจัดอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง จำนวน 5 รุ่น แต่วิทยากรที่จะเชิญมา ไม่สามารถมาร่วมให้ความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้ จึงปรับลดเหลือ 3 รุ่น เพื่อความเหมาะสมของกิจกรรมตามโครงการ
-
-
เพ่ื่อชี้แจงโครงการ 1.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ 2.การบริหารโครงการด้านการเงิน 3.การจัดทำรายงานการเงิน 4.การรายงานกิจกรรมของโครงการย่อยภายใต้แผนงานศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.)
-
1.ความรู้ความเข้าใจการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 2.มีแผนปฏิบัติการและคณะทำงาน 3.มีรายงานการประชุมและการรายงานผลการปฎิบัติการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาลเทพา
- ผู้เข้าร่วมประชุมไม่ถึงร้อยละ 50 ของคณะกรรมการทีมประคับประคองโรงพยาบาลเทพา
-
-