พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ชื่อโครงการ | พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองในพหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา |
ภายใต้โครงการ | แผนงานโซนใต้ล่าง |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 |
งบประมาณ | 180,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | น.ส.นงลักษณ์ เหนี่ยวทอง |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | น.ส.หทัยรัตน์ ชัยดวง |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงพยาบาลเทพา และ รพ.สต.ในพื้นที่อำเภอเทพา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 17 ม.ค. 2561 | 11 ก.ค. 2561 | 60,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 60,000.00 |
คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (60,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (180,000.00 บาท)
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 หมวดที่ 1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพมาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตจำนง ไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้ ซึ่งความเป็นมาและความสำคัญของหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขตามพ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาตินั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยที่ทำหนังสือแสดงเจตนาสามารถปฏิเสธการรักษาที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยที่อยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต เช่นผู้ป่วยที่มีสภาพฟื้นไม่ได้ตายไม่ลง มีชีวิตอยู่ด้วยเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึงผู้ป่วยที่ต้องทุกข์ทรมานจากโรคบางโรคในระยะยาวโดยไม่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ผู้ป่วยมีอาการทรุดหนักลงเรื่อยๆ การรักษาบางวิธีการอาจเป็นสิ่งที่เกินความจำเป็น หรือไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วย อีกทั้งยังกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมากโดยไม่เกิดประโยชน์ใดๆ นอกจากนั้น ยังเป็นภาระต่อระบบบริการสาธารณสุขของประเทศโดยรวม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา มีจำนวนผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น และในขณะเดียวกันผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวก็มีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเช่นกันดังจะเห็นได้จากข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 – เดือนมกราคม 2561 มีจำนวนผู้ป่วย 25 ,34 ,35 และ 40 ราย ตามลำดับ พบอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวจำนวน 3 ,5 ,4 และ 5 ราย ตามลำดับซึ่งเมื่อจำแนกโรค พบว่าอันดับหนึ่งเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็ง รองลงมาเป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะท้าย การดูแลที่ผ่านมาเน้นการดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย จิตใจ และจิตสังคม แต่ยังไม่ครอบคลุมมิติทางด้านจิตวิญญาณ คณะกรรมการ Palliative care โรงพยาบาลเทพาได้ดำเนินการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง และเล็งเห็นความสำคัญว่าควรพัฒนาให้เกิดบริการนี้ทั้งในส่วนของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลเทพา และเครือข่ายสาธารณสุข เพื่อต้องการพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้ และทักษะการดูแลผู้ป่วย ให้มีเจตคติที่ดีต่อการพยาบาลผู้ป่วยระยะท้าย โดยสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนครอบคลุมมิติทางด้านกาย จิต จิตสังคม และจิตวิญญาณ ตลอดจนสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในพื้นที่อำเภอเทพาให้มีศักยภาพ
1.การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.ถอดบทเรียนการแพทย์วิถีอิสลาม และวิถีพุทธจากสถานพยาบาล และพื้นที่อำเภอเทพา
3.สัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่รพ.เทพา และสนทนากลุ่มผู้รู้ของแต่ละพื้นที่อำเภอเทพา จำนวน 14 แห่ง
4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน และสรุปผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีองค์ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม 1.ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเทพาที่เข้าร่วมประชุม 2.ผลการประเมินความรู้หลังการฝึกอบรมเพิ่มขึ้น |
||
2 | 2.เพื่อจัดรูปแบบการบริการสุขภาพผู้ป่วยระยะสุดท้ายในพหุวัฒนธรรมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร 1.คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองภายใต้พหุวัฒนธรรมของอำเภอเทพา 2.ระบบการดูแลผู้ป่วยในส่วนของโรงพยาบาลและชุมชนสอดคล้องวิถีชีวิตชุมชน |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2561 15:55 น.