สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 การจัดการข้อมูลความมั่นคงด้าน อาหารการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : ข้าว ปศุสัตว์ อาหารทะเล พืชผัก ผลไม้ (ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่)ในประเด็นสำคัญดังนี้ 1.1 สถานการณ์ของอาหารแต่ละประเภท เช่นพื้นที่การผลิต วัตถุประสงค์การผลิต (เพื่อบริโภคหรือเพื่อจำหน่วย หรือทั้งบริโภคและจำหน่าย รูปแบบการผลิต แบบอินทรีย์เคมี หรือผสมผสาน) 1.2 กลุ่มเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต จำหน่วย และบริโภค ระบบการตลาดภายใน หรือการตลาดภายนอกชุมชน ของอาหารและประเภท 1.4 ระบบการกระจายผลผลิต ของอาหารแต่ละประเภท 1.5 หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการสนับสนุน หรือขับเคลื่อน การดำเนินงานแต่ละประเภทอาหาร

 

 

เกิดกลุ่มการผลิตและจำหน่ายผักปลอดสารพิษในชุมชน

2 การจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัด : เกิดกลไก ระบบการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

 

 

จะมีกลุ่มของโรงพยาบาลที่เข้ามาตรวจคุณภาพของสารปนเปื่นในอาหารสมเด็จพระยุพราช

3 การจัดการข้อมูลสถานการณ์ด้านสภาวะโภชนาการการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เกิดข้อมูลกลุ่ม - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ - กลุ่มเด็ก 0- 3 ปี - กลุ่มเด็ก 3-5 ปี - กลุ่มเด็ก 6-14 ปี - กลุ่มผู้สูงอายุ

 

 

 

4 การกำหนดเป้าหมาย หรือ ภาพอนาคตของชุมชนที่ต้องการในเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เกิดการกำหนดเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ในการจัดการความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการที่สมวัย

 

 

มีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมในโครงการ

5 การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย การกำหนดยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เกิดแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่นเรื่องความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการที่สมวัยเกิดแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่นเรื่องความมั่นคงทางอาหาร และโภชนาการที่สมวัย

 

 

 

6
ตัวชี้วัด :