สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9 ”

จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์

หัวหน้าโครงการ
นส.วนิดา วิระกถุล

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9

ที่อยู่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 655,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
  2. ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
  2. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
  3. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ(ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
  4. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
  5. พัฒนาแผนปฏิบัติงานสนับสนุนการพัฒนาแผนงาน/โครงการ
  6. จัดประชุม coaching ทีมพื้นที่ในการจัดทำแผน/โครงการ
  7. ประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่อำเภอปากช่อง จ.นครราชสีมา เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการผ่านระบบออนไลน์
  8. ประชุมคณะกรรมการรพัฒนาคุณภาพโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่
  9. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  10. ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมพี่เลี้ยงกลไกสุขภาวะ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ
  11. ประชุมเชิงปฎิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการกองทุนในเว็บไซต์ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ
  12. การประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำพัฒนาคุณภาพโครงการระดับตำบลเมืองสุรินทร์
  13. การประชุมเชิงปฏิบติการระดับเขตกองทุนสุขภาพตำบลคุณภาพเพื่อบันทึกแผนงานโครงการ
  14. สรุปบทเรียนติดตามกองทุน
  15. ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุน
  16. ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุนเป็นวาระอำเภอ
  17. ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุนเป็นวาระอำเภอ
  18. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลและบทเรียนการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาแผนปฏิบัติงานสนับสนุนการพัฒนาแผนงาน/โครงการ

วันที่ 18 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

แนะนำวัตถุประสงค์ของโครงการกับคณะกรรมการ พชอ. และแนวททางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
แลกเปลี่ยนสถานการณ์การดำเนินงาน การขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ การตอบโจทย์พื้นที่วัตถุประสงค์ชัดเจน กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการมีตัวชี้วัด ได้ข้อสรุปสถานการณ์จากพื้นที่ ความคาดหวัง พัฒนาศักยภาพ สร้างทีมที่มีคุณภาพ การพัฒนาให้มีฐานข้อมูลที่สามารถให้มีการสร้างระบบมีคนรับผิดชอบและมีการใช้ประโยชน์ของพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

2. จัดประชุม coaching ทีมพื้นที่ในการจัดทำแผน/โครงการ

วันที่ 20 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การจัดประชุมเพื่อพัฒนาคุณภาพโครงการ และพัฒนาการเรียนรู้ทักษะในการจัดการข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาคีเครือข่ายได้เรียนรู้ขบวนการพัฒนาแผนงานแบบมีคุณภาพ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

120 0

3. ประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่อำเภอปากช่อง จ.นครราชสีมา เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 23 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต  ผู้รับผิดชอบกองทุนสามารถบันทึกแผนงานโครงการเพื่อขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์  มีการใช้เวบไซต์ในการพัฒนาแผนงานโครงการและมีการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการโดยผู้รับผิดชอบกองทุน

 

25 0

4. ประชุมคณะกรรมการรพัฒนาคุณภาพโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่

วันที่ 9 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

การจัดประชุมพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ตัวแทน รพ.สต.รับรู้ รับฟัง และสามารถบันทึกแผนงานโครงการที่มีคุณภาำ ผลลัพธ์ มีการใช้เว็บไซด์ในการพัฒนาแผนงานโครงการ

 

20 0

5. ประชุมคณะกรรมการรพัฒนาคุณภาพโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่

วันที่ 9 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

การจัดประชุมพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ตัวแทน รพ.สต.รับรู้ รับฟัง และสามารถบันทึกแผนงานโครงการที่มีคุณภาำ ผลลัพธ์ มีการใช้เว็บไซด์ในการพัฒนาแผนงานโครงการ

 

20 0

6. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้รับผิดชอบมีการรับรู้ รับฟัง และสามารถบันทึกแผนงานโครงการ ผลผลิต คาดหวังมีการใช้เว็บไซด์ในการพัฒนาแผนงานโครงการ

 

40 0

7. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่อำเภอเมืองสุรินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้รับผิดชอบมีการรับรู้ รับฟัง และสามารถบันทึกแผนงานโครงการ ผลผลิต คาดหวังมีการใช้เว็บไซด์ในการพัฒนาแผนงานโครงการ

  • photo

 

40 0

8. ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมพี่เลี้ยงกลไกสุขภาวะ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมพี่เลี้ยงกลไกสุขภาวะอำเภอเกษตรสมบูรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีการรับรู้เรื่องโครงการจากกลุ่มเป้าหมายพื้นที่และยินดีเข้าร่วมโครงการ ผลละพธ์  ได้ประเด็นปัญหาและการจัดทำแผนงาน / โครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

130 0

9. ประชุมเชิงปฎิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการกองทุนในเว็บไซต์ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน / โครงการกองทุนสุขภาพตำบลในเว็บไซต์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เจ้าหน้าที่กองทุน เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน รับรู้และสามารถบันทึกแผนงาน / โครงการ ผลลัพธ์ มีการใช้เว็บไซต์ในการพัฒนาแผนงาน / โครงการ ที่มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

50 0

10. การประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำพัฒนาคุณภาพโครงการระดับตำบลเมืองสุรินทร์

วันที่ 3 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานพื้นที่ในการบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการกองทุนในเว็บไซต์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานพื้นที่ รับรู้และเข้าใจการการลงันทึกข้อมูล ผลลัพธ์ เกิดแผนงาน โครงการ และการบันทึกข้อมูลในเว็บไซด์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

200 0

11. การประชุมเชิงปฏิบติการระดับเขตกองทุนสุขภาพตำบลคุณภาพเพื่อบันทึกแผนงานโครงการ

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

การทบทวนการใช้งานเว็นไซต์กองทุนสัขภาพตำบล โดย จนท.กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปฏิบัติการบันทึกลงในเว็ยไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ มีการบันทึกข้อมูลได้ครบถ้วนและสมบูรณ์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 0

12. ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุนเป็นวาระอำเภอ

วันที่ 9 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อหาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้แต่ละกองทุนบันทึกแผนงานดครงการอย่างน้อย 3 โครงการ ผลลัพธ์ มีการบันทึกแผนงานโครงการจนถึงติดตามโครงการ ไม่ต่ำกว่า 3 โครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

110 0

13. ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุนเป็นวาระอำเภอ

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการสู่วาระอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แต่ละกองทุนบันทึกแผนงานโครงการอย่างน้อย 3 โครงการ ผลลัพธ์มีการบันทึกแผนงานโครงการจนถึงติดตามโครงการ ไม่ต่ำกว่า 3 โครงการ

 

65 0

14. ติดตามการพัฒนาโครงการ

วันที่ 28 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามการพัฒนาโครงการการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยงและการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีขบวนการติดตามในพื้นที่และมีการบันทึกแผนงานโครงการกองทุนที่ทำงานได้ดี

 

20 0

15. สรุปบทเรียนติดตามกองทุน

วันที่ 14 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขบวนการติดตามในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปบทเรียนติดตามกองทุน ผลลัพธ์มีกองทุนที่ทำได้ดี

 

30 0

16. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลและบทเรียนการดำเนินงาน

วันที่ 22 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลและบทเรียนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปบทเรียนและผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด : พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนการดำเนินงานในระดับเขต และระดับจังหวัด 4 จังหวัด
0.00

 

2 ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : มีพื้นที่ต้นแบบในการดำเนินงาน จังหวัดละ 1 แห่ง 1 พชอ.
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. (2) ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ (2) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม (3) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ(ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) (4) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. (5) พัฒนาแผนปฏิบัติงานสนับสนุนการพัฒนาแผนงาน/โครงการ (6) จัดประชุม coaching ทีมพื้นที่ในการจัดทำแผน/โครงการ (7) ประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่อำเภอปากช่อง จ.นครราชสีมา เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการผ่านระบบออนไลน์ (8) ประชุมคณะกรรมการรพัฒนาคุณภาพโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่ (9) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพโครงการทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมพี่เลี้ยงกลไกสุขภาวะ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ (11) ประชุมเชิงปฎิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการกองทุนในเว็บไซต์ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ (12) การประชุมเชิงปฏิบัติการแกนนำพัฒนาคุณภาพโครงการระดับตำบลเมืองสุรินทร์ (13) การประชุมเชิงปฏิบติการระดับเขตกองทุนสุขภาพตำบลคุณภาพเพื่อบันทึกแผนงานโครงการ (14) สรุปบทเรียนติดตามกองทุน (15) ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุน (16) ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุนเป็นวาระอำเภอ (17) ประชุมเชิงปฏิบัติการยกระดับแผนงานโครงการกองทุนเป็นวาระอำเภอ (18) ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลและบทเรียนการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 9 จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นส.วนิดา วิระกถุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด