แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 ”
สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี
หัวหน้าโครงการ
นายบรรจบ จันทร์เจริญ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6
ที่อยู่ สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี จังหวัด ระยอง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 จังหวัดระยอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 " ดำเนินการในพื้นที่ สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,130,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
- ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
- Coaching ทีมระดับเขต
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- ติดตามกานบันทึกแผนงานโครงการทน.ชลบุรั
- ติกตามก่รบัรทึกโครงการ แผนงาน ทน.สมุทรปราการ
- ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองระยอง
- ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองจันทบุรี
- การประชุมชี้แจงทีมระดับเขต
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนกองทุน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้โปรแกรมonline
- การประชุมทีมระดับเขต เพื่อวางแผนงานบริหารกลุ่มจังหวัดใน พชอ.
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ตราด
- 4การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ฉะเชิงเทรา
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ระยอง
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนใน จ.จันทุบรี
- การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนอบต.ตลองหินปูน
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนทม.ชลบุรี
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนทน.สมุทรปราการ
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1
- การประชุมทีมระดับเขต เพื่อติดตามและประเมินผลโครงการ ระยะที่ 2
- การประชุมทีมระดับเขต เพื่อหารือร่วมฯ
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การประชุมชี้แจงทีมระดับเขต
วันที่ 4 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมร่วมระหว่างทีมพี่เลี้ยงและผู้แทน สแสช.เขต6 ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงระดับเขต ตัวแทนจังหวัดพชอ.จังหวัดละ1คน จำนวน 5 คน(ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) อปท.ขนาดใหญ่แห่งละ2คน(ทน.สมุทปราการ ทม.ชลบุรี) และรพ.สต.ถ่ายโอน 1คน(รพ.สต.คลองหินปูน) รวมทั้งสิ้น ๒๐คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่ลียงเขต สปสช.และพี่เลี้ยงจังหวัด ร่วมออกแบบในการขับเคลื่อนกิจกรรมในโครงการ กิจกรรมที่ได้จากที่ประชุม
1.ให้ตัวแทนจังหวัดสรรหาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดๆละ5คน
2.ให้ทีมอปท.ขนาดใหญ่และรพ.สต.ถ่ายโอน จัดทีมๆละ5-10คน
3.กำหนดจัดประชุมทีมงานในข้อ1 วันที่15 มค.63 ณ จ.จันทบุรี และประชุมทีมงานในข้อ2 วันที่8มค.63 ณ จ.สระแก้ว
0
0
2. การประชุมชี้แจงทีมระดับเขต
วันที่ 4 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมร่วมระหว่างทีมพี่เลี้ยงและผู้แทน สแสช.เขต6 ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงระดับเขต ตัวแทนจังหวัดพชอ.จังหวัดละ1คน จำนวน 5 คน(ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) อปท.ขนาดใหญ่แห่งละ2คน(ทน.สมุทปราการ ทม.ชลบุรี) และรพ.สต.ถ่ายโอน 1คน(รพ.สต.คลองหินปูน) รวมทั้งสิ้น ๒๐คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่ลียงเขต สปสช.และพี่เลี้ยงจังหวัด ร่วมออกแบบในการขับเคลื่อนกิจกรรมในโครงการ กิจกรรมที่ได้จากที่ประชุม
1.ให้ตัวแทนจังหวัดสรรหาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดๆละ5คน
2.ให้ทีมอปท.ขนาดใหญ่และรพ.สต.ถ่ายโอน จัดทีมๆละ5-10คน
3.กำหนดจัดประชุมทีมงานในข้อ1 วันที่15 มค.63 ณ จ.จันทบุรี และประชุมทีมงานในข้อ2 วันที่8มค.63 ณ จ.สระแก้ว
20
0
3. การประชุมทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนกองทุน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้โปรแกรมonline
วันที่ 8 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ประชุมแกนนำในอปท.ขนาดใหญ่(ทน.สมุทรปราการ ทม.ชลบุรี) อละรพ.สต.ถ่ายโอน(อบต.คลองหินปู สระแก้ว) จำนวน40คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แกนนำในอปท.เป้าหมาย สามารถบันทึกโปรแกรม และแนะนำเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเสนอโครงการใน5แผนงานหลัก คือ แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเหล้า แผนงานบุหรี่ และแปนงานสารเสพติด
40
0
4. การประชุมทีมระดับเขต เพื่อวางแผนงานบริหารกลุ่มจังหวัดใน พชอ.
วันที่ 22 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัดในพื้นที่ พชอ. ใน ๕ จังหวัด ประกอบด้วย อำเภอเมืองระยอง อำเภอเมืองจันทบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี อำเภอบ่อไร่ และอำเภอพนมสารคาม จำนวน ๔๐ คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัดในพื้นที่ พชอ. ใน ๕ จังหวัด สามารถจัดทำแผนกองทุน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้โปรแกรมonline
45
0
5. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมพี่เลี้ยงจังหวัดตราด และเจ้าหน้าที่กองทุนฯๆละ ๕คน ในพื้นที่อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด จำนวน ๖ กองทุน รวมจำนวน๓๐ คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เจ้าหน้าที่กองทุนฯๆละ ๕คน ในพื้นที่อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
0
0
6. การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำ
เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี ของผู้แทนกองทุน จำนวน๗๐คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กองทุนตำบลในเขต พชอ.เมืองปราจีนบุรี สามารถพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
0
0
7. การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี(14.00-16.00)
วันที่ 17 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมผู้แทนกองทุนและคณะกรรมการกองทุน(รพ.สต.)เพื่อลงรายละเอียดการบันทึกโปรแกรมประกอบด้วยการบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ
0
0
8. การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ฉะเชิงเทรา(9.00-11.30)
วันที่ 17 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมจนท.กองทุนอละรพ.สต เพื่อบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ
0
0
9. ติดตามกานบันทึกแผนงานโครงการทน.ชลบุรั
วันที่ 23 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
พบพี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน แนะนำการบันทึกข้อมูล แผนงานโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีแผนงานจำนวน๖ แผนงาน
0
0
10. ติกตามก่รบัรทึกโครงการ แผนงาน ทน.สมุทรปราการ
วันที่ 23 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
แนะนำ เสนอแนะพี่เลี้ยงจังหวัด และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เพื่อบันทึกแผนงานโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีแผนงานจำนวน5 แผนงาน
0
0
11. ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองระยอง
วันที่ 24 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ แผนงาน โครงการในกองทุนของ พชอ.นี้ รวมทั้งการนำเสนอภาพรวมของปัญหาสาธารณสุขของพชอ.เมืองระยอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนกองที่ร่วม 14 กองทุน จำนวนกรรมการกองทุนและจนท.บันทึกข้อมูลและผู้เกี่ยวข้องจำนว50 คนจำนวนแผนงาน ๖ แผนงาน โครงการอยู่ระหว่างพี่เลี้ยงจังหวัดติดตามต่อเนื่อง
0
0
12. ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองจันทบุรี
วันที่ 25 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมกรรมการกองทุนและเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลของกองทุนในพชอ.เมืองจันทบุรี จำนวน 15 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีแผนงานจำนวน๖แผนงาน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด :
0.00
2
ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 จังหวัด ระยอง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายบรรจบ จันทร์เจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 ”
สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรีหัวหน้าโครงการ
นายบรรจบ จันทร์เจริญ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6
ที่อยู่ สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี จังหวัด ระยอง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 จังหวัดระยอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 " ดำเนินการในพื้นที่ สระแก้ว ชลบุรี สมุทรปราการ ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,130,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
- ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
- Coaching ทีมระดับเขต
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- ติดตามกานบันทึกแผนงานโครงการทน.ชลบุรั
- ติกตามก่รบัรทึกโครงการ แผนงาน ทน.สมุทรปราการ
- ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองระยอง
- ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองจันทบุรี
- การประชุมชี้แจงทีมระดับเขต
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนกองทุน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้โปรแกรมonline
- การประชุมทีมระดับเขต เพื่อวางแผนงานบริหารกลุ่มจังหวัดใน พชอ.
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ตราด
- 4การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ฉะเชิงเทรา
- การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ระยอง
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนใน จ.จันทุบรี
- การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนอบต.ตลองหินปูน
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนทม.ชลบุรี
- การประชุมทีมในระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนทน.สมุทรปราการ
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1
- การประชุมทีมระดับเขต เพื่อติดตามและประเมินผลโครงการ ระยะที่ 2
- การประชุมทีมระดับเขต เพื่อหารือร่วมฯ
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การประชุมชี้แจงทีมระดับเขต |
||
วันที่ 4 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดประชุมร่วมระหว่างทีมพี่เลี้ยงและผู้แทน สแสช.เขต6 ประกอบด้วย พี่เลี้ยงระดับเขต ตัวแทนจังหวัดพชอ.จังหวัดละ1คน จำนวน 5 คน(ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) อปท.ขนาดใหญ่แห่งละ2คน(ทน.สมุทปราการ ทม.ชลบุรี) และรพ.สต.ถ่ายโอน 1คน(รพ.สต.คลองหินปูน) รวมทั้งสิ้น ๒๐คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่ลียงเขต สปสช.และพี่เลี้ยงจังหวัด ร่วมออกแบบในการขับเคลื่อนกิจกรรมในโครงการ กิจกรรมที่ได้จากที่ประชุม 1.ให้ตัวแทนจังหวัดสรรหาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดๆละ5คน 2.ให้ทีมอปท.ขนาดใหญ่และรพ.สต.ถ่ายโอน จัดทีมๆละ5-10คน 3.กำหนดจัดประชุมทีมงานในข้อ1 วันที่15 มค.63 ณ จ.จันทบุรี และประชุมทีมงานในข้อ2 วันที่8มค.63 ณ จ.สระแก้ว
|
0 | 0 |
2. การประชุมชี้แจงทีมระดับเขต |
||
วันที่ 4 ธันวาคม 2562กิจกรรมที่ทำจัดประชุมร่วมระหว่างทีมพี่เลี้ยงและผู้แทน สแสช.เขต6 ประกอบด้วย พี่เลี้ยงระดับเขต ตัวแทนจังหวัดพชอ.จังหวัดละ1คน จำนวน 5 คน(ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) อปท.ขนาดใหญ่แห่งละ2คน(ทน.สมุทปราการ ทม.ชลบุรี) และรพ.สต.ถ่ายโอน 1คน(รพ.สต.คลองหินปูน) รวมทั้งสิ้น ๒๐คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่ลียงเขต สปสช.และพี่เลี้ยงจังหวัด ร่วมออกแบบในการขับเคลื่อนกิจกรรมในโครงการ กิจกรรมที่ได้จากที่ประชุม 1.ให้ตัวแทนจังหวัดสรรหาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดๆละ5คน 2.ให้ทีมอปท.ขนาดใหญ่และรพ.สต.ถ่ายโอน จัดทีมๆละ5-10คน 3.กำหนดจัดประชุมทีมงานในข้อ1 วันที่15 มค.63 ณ จ.จันทบุรี และประชุมทีมงานในข้อ2 วันที่8มค.63 ณ จ.สระแก้ว
|
20 | 0 |
3. การประชุมทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนกองทุน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้โปรแกรมonline |
||
วันที่ 8 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำประชุมแกนนำในอปท.ขนาดใหญ่(ทน.สมุทรปราการ ทม.ชลบุรี) อละรพ.สต.ถ่ายโอน(อบต.คลองหินปู สระแก้ว) จำนวน40คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแกนนำในอปท.เป้าหมาย สามารถบันทึกโปรแกรม และแนะนำเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเสนอโครงการใน5แผนงานหลัก คือ แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเหล้า แผนงานบุหรี่ และแปนงานสารเสพติด
|
40 | 0 |
4. การประชุมทีมระดับเขต เพื่อวางแผนงานบริหารกลุ่มจังหวัดใน พชอ. |
||
วันที่ 22 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดประชุมพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัดในพื้นที่ พชอ. ใน ๕ จังหวัด ประกอบด้วย อำเภอเมืองระยอง อำเภอเมืองจันทบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี อำเภอบ่อไร่ และอำเภอพนมสารคาม จำนวน ๔๐ คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่เลี้ยงระดับเขตและระดับจังหวัดในพื้นที่ พชอ. ใน ๕ จังหวัด สามารถจัดทำแผนกองทุน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้โปรแกรมonline
|
45 | 0 |
5. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำจัดประชุมพี่เลี้ยงจังหวัดตราด และเจ้าหน้าที่กองทุนฯๆละ ๕คน ในพื้นที่อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด จำนวน ๖ กองทุน รวมจำนวน๓๐ คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเจ้าหน้าที่กองทุนฯๆละ ๕คน ในพื้นที่อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
|
0 | 0 |
6. การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี |
||
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำเพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี ของผู้แทนกองทุน จำนวน๗๐คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกองทุนตำบลในเขต พชอ.เมืองปราจีนบุรี สามารถพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี
|
0 | 0 |
7. การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ปราจีนบุรี(14.00-16.00) |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดประชุมผู้แทนกองทุนและคณะกรรมการกองทุน(รพ.สต.)เพื่อลงรายละเอียดการบันทึกโปรแกรมประกอบด้วยการบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ
|
0 | 0 |
8. การประชุมทีมระดับพื้นที่ เพื่อการพัฒนาและจัดทำข้อเสนอโครงการ กองทุนใน จ.ฉะเชิงเทรา(9.00-11.30) |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดประชุมจนท.กองทุนอละรพ.สต เพื่อบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการบันทึกแผนงาน การบันทึกโครงการย่อยและการพัฒนาโครงการ
|
0 | 0 |
9. ติดตามกานบันทึกแผนงานโครงการทน.ชลบุรั |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำพบพี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน แนะนำการบันทึกข้อมูล แผนงานโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีแผนงานจำนวน๖ แผนงาน
|
0 | 0 |
10. ติกตามก่รบัรทึกโครงการ แผนงาน ทน.สมุทรปราการ |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำแนะนำ เสนอแนะพี่เลี้ยงจังหวัด และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เพื่อบันทึกแผนงานโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีแผนงานจำนวน5 แผนงาน
|
0 | 0 |
11. ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองระยอง |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ แผนงาน โครงการในกองทุนของ พชอ.นี้ รวมทั้งการนำเสนอภาพรวมของปัญหาสาธารณสุขของพชอ.เมืองระยอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนกองที่ร่วม 14 กองทุน จำนวนกรรมการกองทุนและจนท.บันทึกข้อมูลและผู้เกี่ยวข้องจำนว50 คนจำนวนแผนงาน ๖ แผนงาน โครงการอยู่ระหว่างพี่เลี้ยงจังหวัดติดตามต่อเนื่อง
|
0 | 0 |
12. ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการระดับพื้นที่ พชอ.เมืองจันทบุรี |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดประชุมกรรมการกองทุนและเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลของกองทุนในพชอ.เมืองจันทบุรี จำนวน 15 กองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีแผนงานจำนวน๖แผนงาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
2 | ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 6 จังหวัด ระยอง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายบรรจบ จันทร์เจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......