แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 ”
สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร
หัวหน้าโครงการ
ดร.ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ รศ.ดร.อริศรา เล็กสรรเสริญ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5
ที่อยู่ สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 จังหวัดราชบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 " ดำเนินการในพื้นที่ สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,040,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
- ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
- การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
- ทีมพี่เลี้ยงลงติดตามในพื้นที่ เพื่อพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ
- การประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 1
- ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 2
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่3
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่4
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการระดับเขต
- ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดกาญจนบุรี
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการ จังวัดกาญจนบุรี
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดกาญจนบุรี
- ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี
- ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมจังหวัดราชบุรี
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดราชบุรี ครั้งที่1
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่1
- ติดตามผลการดำเนินงาน ราชบุรี ครั้งที่1
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่2
- ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี
- ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ครั้งที่2
- ประชุมถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต
วันที่ 13 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ
โดย ดร. ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ
ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด
•สร้างทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด
•ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อร่วมทำความเข้าใจต่อแนวทางขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัดที่เชื่อมโยงกับ การขับเคลื่อนประเด็นของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.) และการใช้งานโปรแกรมการทำแผน (การพัฒนาข้อเสนอ และการติดตามประเมินผลโครงการ)
•การดำเนินงานสนับสนุนให้พื้นที่มีโครงการที่ลดปัจจัยเสี่ยงและประเด็นความต้องการอื่นของพื้นที่
•การประชุมเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด
นำเสนอแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด และถาม - ตอบ ประเด็นข้อสงสัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะทำงานได้ร่วมวางแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับพื้นที่ เขต 5 โดยกำหนดให้มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ เขต 5 ในวันที่ 2-3 มีนาคม 2563 ณ โรงแรมริเวอร์ จังหวัดนครปฐม โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนทั้งสิ้น 137 คน
2. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ เขต 5 มีสาระสำคัญของการประชุมประกอบไปด้วย
1)ชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะแนวทางการบูรณาการภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมขับเคลื่อนระบบสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับพื้นที่
2) กระบวนการกลุ่ม การเพื่อเชื่อมโยงแผนการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนระบบสุขภาพ ภายใต้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (แบ่งกลุ่ม ตามจังหวัดกลุ่มเป้าหมาย)
•บูรณาการแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แผนปฏิบัติงานสาธารณสุขประจำปี กับทิศทางตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
•การใช้งานเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) พัฒนาแผนงาน/โครงการ เพื่อเป็นพี่เลี้ยงภาคีเครือข่ายต่างๆในการจัดทำโครงการที่ขอสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมถึงการติดตามประเมินผล
•สรุปแผนงาน/โครงการที่ขับเคลื่อนตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการควบคุมกำกับติดตาม
21
0
2. จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 1
วันที่ 19 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1 ประธานแจ้งให้ทราบ
1.1 ความเป็นมาของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ เขต 5 ราชบุรี
1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม
ไม่มี
วาระที่ 3 เรื่องแจ้งให้ทราบ/สืบเนื่อง
3.1 พื้นที่ดำเนินการ และงบประมาณที่ได้รับสนับสนุนฯ
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา
4.1 ขั้นตอนการดำเนินการโครงการฯ ในระยะต่างๆ
1) ขั้นเตรียมการ
- การจัดประชุมคณะกรรมการระดับเขต (ผลลัพธ์ที่ต้องการ วาระการประชุม เนื้อหาในการ
ประชุม)
2) ขั้นดำเนินการ
- การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการระดับพื้นที่ (ผลลัพธ์ที่ต้องการ กำหนดการประชุม
เนื้อหาในการประชุม ขั้นตอนในการประชุม การทำกลุ่มเป็นรายจังหวัดเพื่อมอบหมาย และ
แบ่งหน้าที่)
- ขั้นตอนการดำเนินงานในพื้นที่
- การนิเทศ กำกับติดตามงานในพื้นที่
3) สรุปผลการดำเนินงาน
4.2 การมอบหมายหน้าที่ในการกำกับติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ประธานแจ้งให้ทราบ
1.1 ความเป็นมาของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับ
พื้นที่ เขต 5 ราชบุรี
สปสช.เห็นความสำคัญ ว่าการร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องจะทำให้ประชาชนได้ประโยชน์ ในการทำงานจริงพื้นที่มีการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพในบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานอยู่แล้ว แต่เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการในการสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ เขต 5 ราชบุรี จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการขึ้น โดยมีความคาดหวังให้ช่วยวางแผน ควบคุมกำกับ และติดตามประเมินผล เป็นในลักษณะการเติมเต็มให้กับพื้นที่
1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ
ได้แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการเพื่อขับเคลื่อนงานในภาพรวม (รายละเอียดอยู่ในวารที่ 4)
ขั้นตอนการทำงานร่วมกับ สสส.อาจดูว่ามีหลายขั้นตอน ซึ่งหากพิจารณากิจกรรมเป็นสิ่งที่พื้นที่ดำเนินการตามปกติ สปสช.ถืองบประมาณที่จะดำเนินการด้านสุขภาพในระดับตำบลคือกองทุนสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนตำบล) สสส. ขับเคลื่อนด้วยการเติมกระบวนการให้เกิดความเข้มแข็งในพื้นที่ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่จัดทำโครงการด้านสุขภาพที่ตอบสนองปัญหาและใช้งบกองทุนตำบล
3.1 โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ ของ สสส.
ก่อนที่จะเข้าสู่โครงการในภาพเขต ขอนำเข้าสู่โครงการในภาพรวมของ สสส.เพื่อจะได้เห็นความเชื่อมโยง และเป็นพิมพ์เขียวส่งยกร่างโครงการระดับเขต ดังนี้
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่
โดย กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)
กลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (สปสช.)
กลไกภายใต้สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส. ม.อ.)
หน่วยงานสนับสนุน
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
กระทรวงสาธารณสุข (สธ.)
กลไกสุขภาพชุมชนที่สำคัญในปัจจุบัน
กระทรวงสาธารณสุข (สธ.)
โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) : กลไกการสร้างเสริมสุขภาพประชาชน กระจายทั่วทุกตำบล
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ (พชอ.) : ทุกอำเภอ เพื่อแก้ปญหาระดับพื้นที่ อย่างน้อย 2
เรื่อง โดยใชเกณฑ์ตามบริบทพื้นที่
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.)
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่หรือท้องถิ่น (กปท.) หรือที่ เราเรียกว่ากองทุนตำบล
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
มีการดำเนินงานของแผนสุขภาวะชุมชนมาอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนากลไกหน่วยจัดการ (Node) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อจำกัดการดำเนินงานระบบสุขภาพชุมชนในปัจจุบัน
ทบทวนข้อจำกัดในการดำเนินการตั้งแต่อดีดถึงปัจจุบัน ได้ข้อจำกัดดังนี้
กลไกของทั้ง สธ. สปสช. สสส. มีการบูรณาการการทำงานกันน้อย
การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ และการกำหนดภาพอนาคตระบบสุขภาพของชุมชน ยังไม่ครบถ้วน
สมบูรณ์
การจัดทำแผน และ คุณภาพของแผนสุขภาพชุมชน ไม่ตอบโจทย์ที่แท้จริง ความเข้าใจในกระบวนการ
จัดทำแผน การปฏิบัติตามแผน และ การติดตาม ประเมินผล มีความหลากหลายแตกต่างกัน
โครงการต่างๆ มักเป็นกิจกรรมซ้ำ ๆ ที่ทำกันมาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป้าหมายไม่ชัดเจน โครงการ
ไม่มีคุณภาพคุณภาพ ยังต้องการปรับปรุง
ขาดการจัดเก็บข้อมูล เป็นคลังข้อมูลที่จะใช้ประโยชน์ต่อเนื่อง
ขาดการติดตาม ประเมินผลอย่างเป็นระบบ
การดำเนินงานที่ผ่านมาในการบูรณาการความร่วมมือของ สปสช. สสส. พ.ศ. 2560-2561 ภายใต้การทำงานของ สจรส.มอ.
เพื่อเพิ่มศักยภาพของโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยทำงานร่วมกับ
สปสช.ใน 4 ภาค 12 เขตทั่วประเทศ มีกองทุนนำร่องมากกว่าเป้าหมาย 270 กองทุน (ประมาณ 700 กองทุน)
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
กองทุนฯ มีแผน มีโครงการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด) อาหาร และ
กิจกรรมทางกาย
เกิดหลักสูตรการจัดการปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด) อาหาร และการส่งเสริมกิจกรรมทางกายใน
กองทุน ฯ
มีการพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบกองทุน ให้รู้ เข้าใจ สามารถพัฒนาโครงการในพื้นที่ได้
มีเครือข่ายนักวิชาการในการทำหลักสูตร
มีแผนกองทุน (ประเด็นเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร และกิจกรรมทางกาย) ทั้ง 12 เขตทั่วประเทศรวมกัน
จำนวน 6,602 แผนงาน / โครงการพัฒนา 9,271 โครงการ / การติดตามประเมินผล 29,897 โครงการ (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2562) รายละเอียดตามตาราง
12
0
3. จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 2
วันที่ 13 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
2 รับรองรายงานการประชุม
รายงานการประชุมคคณะกรรมการอำนวยการฯ ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 19 มิถุนายน 2563
วาระที่ 3 เรื่องแจ้งให้ทราบ/เรื่องสืบเนื่อง
3.1 งบประมาณดำเนินการกิจกรรมการดำเนินงานนำร่องพื้นที่ต้นแบบเสริมสร้างสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กิจกรรมที่ 2.1 : 2) จัดประชุมติดตาม และสนับสนุนโครงการ ในพื้นที่ พชอ.
3.2 …………………………………………………………………………………………………………………………..........
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา
4.1 พิจารณากิจกรรมดำเนินการ ในกิจกรรมที่ 2.1 : 2) จัดประชุมติดตาม และสนับสนุนโครงการ ในพื้นที่ พชอ. ของจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดราชบุรี
4.2 พิจารณารายละเอียดของการประชุมคณะกรรมการระดับเขต วันที่ 24 กรกฎาคม 2563
- กำหนดการ / สถานที่จัดประชุม / การแบ่งหน้าที่ฯ
- เนื้อหา
- คู่มือต่างๆ
- ตัวชี้วัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หารือในขั้นตอนการวางแผนระหว่างและสิ้นสุดการดำเนินงานโครงการ
12
0
4. ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 11 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ประชุมทำความเข้าใจการดำเนินงาน การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และมีการบูรณาการขับเคลื่อนฯ
2) ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกข้อมูลตามโปรแกรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วันที่ 11 สิงหาคม 2563 นายแพทย์เพชรฤกษ์ แทนสวัสดิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี เป็นประธานพิธีเปิดการประชุม “การบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี” ร่วมด้วยนางมัลลิกา แทนสวัสดิ์ ประธานชมรมแม่บ้านสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี โดยมีนายสมชัย วัฒนธรรม นายกองค์การบริหาร-ส่วนตำบลบางครกให้การต้อนรับ นางทิพาพรรณ หอศิวาลัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการ-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี กล่าวรายงาน โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางครก อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือพื้นที่อำเภอบ้านแหลม ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปลัดองค์การ-ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล/ผู้ช่วยงานกองทุนฯ ของท้องถิ่น จำนวน 65 คน โดยมีกิจกรรม 4 กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. เสวนา “การบูรณาการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพของท้องถิ่น กับ พชอ.” 2. บรรยายวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ 3. ซักซ้อมประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 โดย จ.อ.อนันต์ พันธุ์บ้านแหลม 4. บันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ
71
0
5. ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมจังหวัดราชบุรี
วันที่ 1 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
1)ประชุมทำความเข้าใจการดำเนินงาน
การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และมี
การบูรณาการขับเคลื่อนฯ
2)ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลตามโปรแกรมฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1)มีการบูรณาการเสริมสร้าง
สุขภาวะกับทุกหน/วยงานใน
พื้นที่
2)พื้นที่สามารถสนับสนุนการ
จัดทำแผนการพัฒนาข้อเสนอ
โครงการ และการใช้ระบบ
ติดตามและประเมินผล
โครงการ
3)ได้กรอบแนวคิดของ
โครงการที่จะดำเนินการ พชอ.
4)ทุกภาคส่วนทราบกรอบ
ระยะเวลาดำเนินการของ
จังหวัดราชบุรี
58
0
6. ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดราชบุรี ครั้งที่1
วันที่ 20 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
1)ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ
-นำเสนอโครงการฯ 5 แผนงานราย
กองทุนฯ เพื่อกระตุ้นการดำเนินงาน
-ติดตามการลงบันทึกข้อมูล
2)แลกเปลี่ยนเรียนรูปัญหา/อุปสรรคใน
การดำเนินงาน
-ติดตามการลงบันทึกข้อมูล
ถาม/ตอบ แลกเปลี่ยนปัญหา/
อุปสรรคในการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1)ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหา
และอุปสรรคระหว่างดำเนินการ
2)บันทึกข้อมูลถูกต้อง และครบถ้วน
3)สามารถนำข้อมูลสรุปเพื่อ
นำเสนอคณะทำงานระดับ
จังหวัด
49
0
7. ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่1
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
1) ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ
2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯของ อปท. (10)
- ผู้ช่วยงานกองทุนฯของ อปท. (10)
- จนท.สาธารณสุข (รพ.2+รพ.สต.12=14)
1) เพื่อกระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
2)เพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคระหว่าง
วันที่ 28 เดือนตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ได้ดำเนินการจัดประชุมโดยมีกิจกรรมติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ดังนี้
1. ทบทวนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย นางทิพาพรรณ หอศิวาลัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี
2. กองทุนฯ นำเสนอแผนงาน/โครงการของแต่ละพื้นที่ เพื่อสะท้อนปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
3. ติดตามการลงบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นำเสนอแผนงำน/โครงกำรของแต่ละพื้นที่ , ติดตำมกำรลงบันทึกข้อมูลตำมโปรแกรมฯ
46
0
8. ติดตามผลการดำเนินงาน ราชบุรี ครั้งที่1
วันที่ 17 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
1) ลงพื้นที่ติดตามผู้รับผิดชอบแต่ละกองทุน
2) ซักถามปัญหาและข้อสงสัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพ
- ผู้บันทึกข้อมูลมีความเข้าใจโปรแกรมสามารถปฏิบัติได้
20
0
9. ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่2
วันที่ 19 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
1) ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ
2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
1) เพื่อกระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
2)เพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคระหว่างดำเนินการ
46
0
10. ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 9 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
-รายงานสถานการณื และความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการในพื้นที่
-ติดตามการบันทึกข้อมูล และสรุปผลการดำเนินงานระดับพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีระบบคลังข้อมูลที่สามารถเรียกดุได้ตลอดเวลา
2.สามารถทำรายงานผลการำเนินงานและรายงานการเงินได้แบบReal time
3.สามารถติดตามการดำเนินโครงการอย่าง้ป็นปัจจุบัน
30
0
11. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ครั้งที่2
วันที่ 16 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่ติดตามการบันทึกข้อมูล ในพื้นที่เป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รองนายแพทย์สาธารสุขจังหวัดราชบุรีและคณะ ลงพืนที่ อำเภอจอมบึง เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน กระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันเพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ
0
0
12. ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 23 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
-รายงานสถานการณ์ และความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่
-นำเสนอแผนต่อนายอำเภอกับการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.จากกระบวนการทำแผน จะได้รับข้อมูลสถานการณ์แต่ละปัญหาาสุขภาพและเป้าหมายของการแก้ปัญหา ทั้งระดับชาติ ภาค จังหวัด
2.สามารถสังเคราะห์ผลและคุณค่าที่เกิดขึ้นจากแผนและการดำเนินโครงการ
3.สามารถติดตามการดำเนินโรางการอย่างเป็นปัจจุบัน
26
0
13. ประชุมถอดบทเรียน
วันที่ 8 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลดำเนินงานของแต่ละพื้นที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เห็นถึงศักยภาพการทำงานร่วมกลับกองทุน,พชอ,รพสต
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด : จำนวนกลไกที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ต่อการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
57.00
2
ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
57.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร.ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ รศ.ดร.อริศรา เล็กสรรเสริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 ”
สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาครหัวหน้าโครงการ
ดร.ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ รศ.ดร.อริศรา เล็กสรรเสริญ
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5
ที่อยู่ สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 จังหวัดราชบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 " ดำเนินการในพื้นที่ สมุทรสงคราม นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,040,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
- ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
- การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
- ทีมพี่เลี้ยงลงติดตามในพื้นที่ เพื่อพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ
- การประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 1
- ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 2
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่3
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่4
- จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการระดับเขต
- ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดกาญจนบุรี
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการ จังวัดกาญจนบุรี
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดกาญจนบุรี
- ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี
- ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมจังหวัดราชบุรี
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดราชบุรี ครั้งที่1
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่1
- ติดตามผลการดำเนินงาน ราชบุรี ครั้งที่1
- ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่2
- ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี
- ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ครั้งที่2
- ประชุมถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต |
||
วันที่ 13 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ โดย ดร. ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด •สร้างทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด •ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อร่วมทำความเข้าใจต่อแนวทางขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัดที่เชื่อมโยงกับ การขับเคลื่อนประเด็นของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.) และการใช้งานโปรแกรมการทำแผน (การพัฒนาข้อเสนอ และการติดตามประเมินผลโครงการ) •การดำเนินงานสนับสนุนให้พื้นที่มีโครงการที่ลดปัจจัยเสี่ยงและประเด็นความต้องการอื่นของพื้นที่ •การประชุมเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด นำเสนอแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด และถาม - ตอบ ประเด็นข้อสงสัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงานได้ร่วมวางแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับพื้นที่ เขต 5 โดยกำหนดให้มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ เขต 5 ในวันที่ 2-3 มีนาคม 2563 ณ โรงแรมริเวอร์ จังหวัดนครปฐม โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนทั้งสิ้น 137 คน
|
21 | 0 |
2. จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 19 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ1 ประธานแจ้งให้ทราบ
1.1 ความเป็นมาของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ เขต 5 ราชบุรี
1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ประธานแจ้งให้ทราบ
1.1 ความเป็นมาของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับ 1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการเพื่อขับเคลื่อนงานในภาพรวม (รายละเอียดอยู่ในวารที่ 4) ขั้นตอนการทำงานร่วมกับ สสส.อาจดูว่ามีหลายขั้นตอน ซึ่งหากพิจารณากิจกรรมเป็นสิ่งที่พื้นที่ดำเนินการตามปกติ สปสช.ถืองบประมาณที่จะดำเนินการด้านสุขภาพในระดับตำบลคือกองทุนสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนตำบล) สสส. ขับเคลื่อนด้วยการเติมกระบวนการให้เกิดความเข้มแข็งในพื้นที่ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่จัดทำโครงการด้านสุขภาพที่ตอบสนองปัญหาและใช้งบกองทุนตำบล 3.1 โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ ของ สสส. ก่อนที่จะเข้าสู่โครงการในภาพเขต ขอนำเข้าสู่โครงการในภาพรวมของ สสส.เพื่อจะได้เห็นความเชื่อมโยง และเป็นพิมพ์เขียวส่งยกร่างโครงการระดับเขต ดังนี้ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่
โดย กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)
|
12 | 0 |
3. จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 13 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ2 รับรองรายงานการประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหารือในขั้นตอนการวางแผนระหว่างและสิ้นสุดการดำเนินงานโครงการ
|
12 | 0 |
4. ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำประชุมทำความเข้าใจการดำเนินงาน การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และมีการบูรณาการขับเคลื่อนฯ 2) ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกข้อมูลตามโปรแกรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวันที่ 11 สิงหาคม 2563 นายแพทย์เพชรฤกษ์ แทนสวัสดิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี เป็นประธานพิธีเปิดการประชุม “การบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี” ร่วมด้วยนางมัลลิกา แทนสวัสดิ์ ประธานชมรมแม่บ้านสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี โดยมีนายสมชัย วัฒนธรรม นายกองค์การบริหาร-ส่วนตำบลบางครกให้การต้อนรับ นางทิพาพรรณ หอศิวาลัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการ-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี กล่าวรายงาน โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางครก อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือพื้นที่อำเภอบ้านแหลม ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปลัดองค์การ-ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล/ผู้ช่วยงานกองทุนฯ ของท้องถิ่น จำนวน 65 คน โดยมีกิจกรรม 4 กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. เสวนา “การบูรณาการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพของท้องถิ่น กับ พชอ.” 2. บรรยายวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ 3. ซักซ้อมประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 โดย จ.อ.อนันต์ พันธุ์บ้านแหลม 4. บันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ
|
71 | 0 |
5. ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมจังหวัดราชบุรี |
||
วันที่ 1 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ1)ประชุมทำความเข้าใจการดำเนินงาน การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และมี การบูรณาการขับเคลื่อนฯ 2)ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลตามโปรแกรมฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1)มีการบูรณาการเสริมสร้าง สุขภาวะกับทุกหน/วยงานใน พื้นที่ 2)พื้นที่สามารถสนับสนุนการ จัดทำแผนการพัฒนาข้อเสนอ โครงการ และการใช้ระบบ ติดตามและประเมินผล โครงการ 3)ได้กรอบแนวคิดของ โครงการที่จะดำเนินการ พชอ. 4)ทุกภาคส่วนทราบกรอบ ระยะเวลาดำเนินการของ จังหวัดราชบุรี
|
58 | 0 |
6. ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดราชบุรี ครั้งที่1 |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ1)ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ -นำเสนอโครงการฯ 5 แผนงานราย กองทุนฯ เพื่อกระตุ้นการดำเนินงาน -ติดตามการลงบันทึกข้อมูล 2)แลกเปลี่ยนเรียนรูปัญหา/อุปสรรคใน การดำเนินงาน -ติดตามการลงบันทึกข้อมูล ถาม/ตอบ แลกเปลี่ยนปัญหา/ อุปสรรคในการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1)ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหา และอุปสรรคระหว่างดำเนินการ 2)บันทึกข้อมูลถูกต้อง และครบถ้วน 3)สามารถนำข้อมูลสรุปเพื่อ นำเสนอคณะทำงานระดับ จังหวัด
|
49 | 0 |
7. ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่1 |
||
วันที่ 28 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ1) ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ 2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน - ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯของ อปท. (10) - ผู้ช่วยงานกองทุนฯของ อปท. (10) - จนท.สาธารณสุข (รพ.2+รพ.สต.12=14) 1) เพื่อกระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 2)เพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคระหว่าง วันที่ 28 เดือนตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ได้ดำเนินการจัดประชุมโดยมีกิจกรรมติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ทบทวนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย นางทิพาพรรณ หอศิวาลัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี 2. กองทุนฯ นำเสนอแผนงาน/โครงการของแต่ละพื้นที่ เพื่อสะท้อนปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 3. ติดตามการลงบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ นำเสนอแผนงำน/โครงกำรของแต่ละพื้นที่ , ติดตำมกำรลงบันทึกข้อมูลตำมโปรแกรมฯ
|
46 | 0 |
8. ติดตามผลการดำเนินงาน ราชบุรี ครั้งที่1 |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ1) ลงพื้นที่ติดตามผู้รับผิดชอบแต่ละกองทุน 2) ซักถามปัญหาและข้อสงสัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
9. ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่2 |
||
วันที่ 19 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ1) ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ 2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ 1) เพื่อกระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 2)เพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคระหว่างดำเนินการ
|
46 | 0 |
10. ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี |
||
วันที่ 9 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ-รายงานสถานการณื และความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ -ติดตามการบันทึกข้อมูล และสรุปผลการดำเนินงานระดับพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีระบบคลังข้อมูลที่สามารถเรียกดุได้ตลอดเวลา 2.สามารถทำรายงานผลการำเนินงานและรายงานการเงินได้แบบReal time 3.สามารถติดตามการดำเนินโครงการอย่าง้ป็นปัจจุบัน
|
30 | 0 |
11. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ครั้งที่2 |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่ติดตามการบันทึกข้อมูล ในพื้นที่เป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรองนายแพทย์สาธารสุขจังหวัดราชบุรีและคณะ ลงพืนที่ อำเภอจอมบึง เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน กระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันเพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ
|
0 | 0 |
12. ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ-รายงานสถานการณ์ และความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ -นำเสนอแผนต่อนายอำเภอกับการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.จากกระบวนการทำแผน จะได้รับข้อมูลสถานการณ์แต่ละปัญหาาสุขภาพและเป้าหมายของการแก้ปัญหา ทั้งระดับชาติ ภาค จังหวัด 2.สามารถสังเคราะห์ผลและคุณค่าที่เกิดขึ้นจากแผนและการดำเนินโครงการ 3.สามารถติดตามการดำเนินโรางการอย่างเป็นปัจจุบัน
|
26 | 0 |
13. ประชุมถอดบทเรียน |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำสรุปผลดำเนินงานของแต่ละพื้นที ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเห็นถึงศักยภาพการทำงานร่วมกลับกองทุน,พชอ,รพสต
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. ตัวชี้วัด : จำนวนกลไกที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ต่อการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. |
57.00 | |||
2 | ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ |
57.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5 จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร.ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ รศ.ดร.อริศรา เล็กสรรเสริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......