แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช
ชุมชน ตำบลหูล่อง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-051
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กันยายน 2559 ถึงเดือน มีนาคม 2560
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมเตรียมออกบู๊ทงานสร้างสุขภาคใต้ 2559 |
||
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อออกแบบนิทรรศการในงานสร้างสุขภาคใต้ปี 59 ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
2 | 2 |
2. ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2559 |
||
วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ห้องย่อยความมั่นคงทางอาหาร ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ได้ร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
5 | 5 |
3. จัดเก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร |
||
วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อรวบรวมข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงได้รวบรวมข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารใน 7 หมู่บ้าน ได้แบ่งทีมลงเก็บข้อมูลก่อนนำข้อมูลมาสรุปอีกครั้ง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนจัดเก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหารใน 7 หมู่บ้านของตำบลหูล่อง กิจกรรมที่ทำจริงรวบรวมข้อมูลความมั่นคงทางอาหารตำบลหูล่องใน 7 หมู่บ้าน โดยถ่ายแบบสอบถามและแบ่งทีมเก็บข้อมูล
|
550 | 550 |
4. ประชุมอบรมการใช้งานเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อเรียนรู้การใช้งานเว็บไซต์ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ได้ร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
3 | 3 |
5. สำรวจข้อมุลความมั่นคงทางด้านอาหารหูล่อง |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อเก็บข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารตำบลหูล่อง ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงได้เก็บข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารได้จำนวน 550 ชุด คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ตามเป้าหมายที่ไว้ จากข้อมูลที่เก็บได้ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนาข้าวเป็นหลักพบทั้ง 550 ครัวเรือน และปลูกผักเป็นอันดับสอง ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดจะนำไปคีย์ลงในโปรแกรม Excel เพื่อประมวลผลก่อนส่งให้ สจรส.ม.อ.นำไปจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ระบบอาหารของตำบลหูล่อง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนรวบรวมแบบสอบถามเรื่องความมั่นคงทางอาหารจำนวน 550 ชุด ใน 7 หมู่บ้านของตำบลหูล่อง กิจกรรมที่ทำจริงรวบรวมแบบสอบถามเรื่องความมั่นคงทางอาหารจำนวน 550 ชุด ใน 7 หมู่บ้านของตำบลหูล่อง
|
8 | 8 |
6. ประชุมรายงานความคืบหน้าโครงการอาหารปลอดภัย ที่ กศน.หูล่อง |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมคณะทำงานรายงานผลการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงคณะกรรมการได้รับทราบผลการเก็บข้อมูล ได้มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลร่วมกัน โดยผลที่พบจากการเก็บข้อมูล จะเป็นประเด็นนาข้าว ที่เป็นอาชีพหลักของชาวบ้านทั้ง 7 หมู่บ้านในตำบลหูล่อง แต่เป็นการทำนาเคมีที่มีต้นทุนสูง ทางทีมจึงมีแนวคิดจะทำเรื่องนาอินทรีย์ให้เกิดขึ้นในชุมชน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงประชุมคณะกรรมการในโครงการ ได้นำเสนอผลการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามที่เก็บมาได้ทั้งหมด 550 ชุด ให้กับคณะกรรมการได้รับทราบ และหารือการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมและการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน
|
8 | 8 |
7. ประชุมสมัชชาคนคอน |
||
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อจัดนิทรรศการในกิจกรรมสมัชชาคนคอน ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ได้ร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงออกร้านจำหน่ายสินค้าอาหารปลอดภัยในชุมชนตำบลหูล่อง รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาหารปลอดภัยระหว่างเครือข่าย กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนนำพื้นผักอาหารปลอดสารพิษในชุมชนของตำบลหูล่องมาจัดนิทรรศการและจำหน่ายในงานสมัชชาคนคอน กิจกรรมที่ทำจริงนำพื้นผักอาหารปลอดสารพิษในชุมชนของตำบลหูล่องมาจัดนิทรรศการและจำหน่ายในงานสมัชชาคนคอน
|
5 | 5 |
8. คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม |
||
วันที่ 12 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อวิเคราะหืข้อมูลความมั่นคงทางอาหารตำบลหูล่อง ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน- กิจกรรมที่ทำจริง
|
8 | 8 |
9. รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 12 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามความมั่นคงทางอาหารของตำบลหูล่อง ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการลงพื้นที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูลของตำบลหูล่องได้รวบรวมข้อมูลตรงตามเป้าหมาย 550 ครัวเรือน จากจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1540 ครัวเรือนคิดเป็น35.7%ของจำนวนครัวเรือนทั่งหมด กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนรวบรวมข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร ในตำบลทุกหมู่บ้านที่เหลืออีก ประมาณ 20% กิจกรรมที่ทำจริงสำรวจความมั่งคงทางอาหารทุกหมู่บ้านเพิ่มเติม เนื่องจากเวทีประชุมคณะกรรมการเมือเดือน พ.ย.59 ที่ผ่านมา ข้อมูลที่ได้ยังไม่สมบูรณ์ จึงต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
|
8 | 8 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 21 | 9 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 80,000.00 | 31,819.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 36 | 28 | ✔ |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
|
|
|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
- รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามครั้งที่ 2 ( 12 มี.ค. 2560 )
- ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 ( 3 พ.ค. 2560 )
- ประชุมคณะทำงาน จัดทำแผนยุทธศาสตร์ครั้งที่ 1 ( 5 พ.ค. 2560 )
- บริหารจัดการโครงการ ประชุม ทีมทำงาน จัดทำรายงาน /รายงานความก้าวหน้า รวม 8 ครั้ง ( 7 พ.ค. 2560 )
- ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 ( 26 พ.ค. 2560 )
- ประชุมคณะทำงานและภาคี เพื่อคืนข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล ( 30 พ.ค. 2560 )
(................................)
นายพรเทพเซ่งรักษา
ผู้รับผิดชอบโครงการ