สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

แผนงานกลาง ระบบอาหาร นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.การผลักดันให้ยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาเป็นแผนปฏิบัติงานของจังหวัด อปท. และหน่วยอื่นๆ เกิดโครงการและกิจกรรมการจัดการเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการที่สมวัย
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดละ1 เครือข่ายประกอบด้วย ภาควิชาการภาครัฐ ชุมชน และเอกชน

 

 

 

2 2. จัดทำยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง โดยใช้ข้อมูลข้าวทั้งระบบเป็นเครื่องมือสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานผลักดันยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
ตัวชี้วัด : 2. เกิดการจัดการข้อมูลข้าวนำไปสู่ยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

 

 

 

3 3. การขยายพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการของตำบลควนรู และตำบลชะแล้ จังหวัดสงขลา ไปสู่ 5 อปท.ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ในปีที่ 1เป็นการจัดการระบบข้อมูลความมั่นคงอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : 3. เกิดการทำงานประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในแผนระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง

 

 

 

4 1. จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการ และติดตามประเมินผล อย่างน้อยจังหวัดละ2 ครั้ง 2. รวบรวมชุดความรู้เรื่องอาหาร ในพื้นที่ คัดเลือกที่มีรูปธรรมชัดเจน เพื่อผลักดันให้รัฐและท้องถิ่นนำไปใช้ในการวางแผนระดับจังหวัด และแผนระดับท้องถิ่น(โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากโครงการบูรณาการอาหารจังหวัดสงขลา ซึ่งสนับสนุนโดยสำนัก5)
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการ และติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

5 งานสร้างสุขภาคใต้ระหว่างวันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 นำเสนอประเด็นความมั่นคงทางอาหาร วันที่ 4 ตุลาคม 2559
ตัวชี้วัด : 1.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นแกะรอยข้าวใต้ ใครทำใครกิน 2.เอกสารประกอบการเสวนา แกะรอยข้าใต้ ใครทำใครกิน 3.นิทรรศการเรื่องความมั่นคงทางอาหาร นำเสนอโดย ม.ทักษิณ และ อบต.ควนรู