- ทบทวนแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ
- นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกกองทุนสุขภาพตำบล
- การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
- กระบวนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาโครงการกองทุนสุขภาพตำบล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อเสนอแนะต่อการบริหารโครงการศึกษาวิจัย
- สรุปผลการสรุปบทเรียนและแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 อุบลราชธานี
- สรุปข้อมูลการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการคุณภาพ ปี 2563 ดังนี้ 1) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงลวง จ.มุกดาหาร 21 แผนงาน 11 โครงการที่พัฒนา 12 โครงการที่ติดตาม 2) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร 19 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 22 โครงการที่ติดตาม 3) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 71 แผนงาน 24 โครงการที่พัฒนา 23 โครงการที่ติดตาม 4) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 31 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 14 โครงการที่ติดตาม 5) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 37 แผนงาน 19 โครงการที่พัฒนา 19 โครงการที่ติดตาม 6) กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 3 แผนงาน 6 โครงการที่พัฒนา 4 โครงการที่ติดตาม
- สรุปการบูรณาการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.คำเขื่อนแก้วกับกองทุนสุขภาพตำบล 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงานอาหารและโภชนาการ และ แผนงานสิ่งแวดล้อม
- สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ มีประเด็นสำคัญ ดังนี้
3.1 ข้อดี 1) ไม่ต้องพิมพ์หลักการและเหตุผล แค่ป้อนข้อมูล ก็ทำให้ได้หลักการและเหตุผลของโครงการ รวมถึงได้ข้อมูลเชิงปริมาณที่ชัดเจน คิดเป็นร้อยละที่ชัดเจน 2) มีตัวอย่างโครงการที่ดี มีวัตถุประสงค์โครงการที่ชัดเจน นำมาประยุกต์ใช้ในพื้นที่ได้เลย 3) แบบฟอร์มกะทัดรัด ชัดเจน เพียงกรอกข้อมูลเข้าไป ทำให้ได้โครงการที่มีคุณภาพ ช่วยให้คนทำงานเขียนโครงการได้ง่าย และชัดเจน
3.2 ข้อด้อย 1) ในช่วงแรกของการเข้าใช้งานโปรแกรม ยังไม่เข้าใจการกรอกข้อมูลร้อยละ ต่างๆ แต่หลังจากเข้าใจงานอย่างต่อเนื่องทำให้เข้าใจมากขึ้น 2) มีรหัสเข้าระบบเดียว ส่งผลให้ไม่ชัดเจนว่าใครจะเป็นคนกรอกข้อมูลในระบบ จะเป็น อบต. หรือ รพ.สต. 3) ไม่มีข้อมูลครบตามโปรแกรม ส่งผลให้ไม่สามารถกรอกต่อได้
3.3 ข้อเสนอแนะ 1) ควรมีการแจกคู่มือการใช้งานโปรแกรม เพราะการเรียนรู้ของคนไม่เท่ากัน ถ้ามีเอกสารคู่มือ จะทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ง่ายขึ้น 2) ข้อมูลในโปรแกรมมีรายละเอียด และชัดเจน และใช้ประโยชน์ต่อไป ดังนั้นกระบวนการพัฒนาแผนโครงการ ควรมีการพัฒนาแผน กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน เพื่อที่จะทำให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุมชัดเจน กรอกลงในระบบ และนำไปสู่การติดตามประเมินผลโครงการได้
- ทบทวนแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ
- นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกกองทุนสุขภาพตำบล
- การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
- กระบวนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาโครงการกองทุนสุขภาพตำบล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อเสนอแนะต่อการบริหารโครงการศึกษาวิจัย
- สรุปผลการสรุปบทเรียนและแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 อุบลราชธานี
- สรุปข้อมูลการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการคุณภาพ ปี 2563 ดังนี้ 1) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงลวง จ.มุกดาหาร 21 แผนงาน 11 โครงการที่พัฒนา 12 โครงการที่ติดตาม 2) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร 19 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 22 โครงการที่ติดตาม 3) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 71 แผนงาน 24 โครงการที่พัฒนา 23 โครงการที่ติดตาม 4) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 31 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 14 โครงการที่ติดตาม 5) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 37 แผนงาน 19 โครงการที่พัฒนา 19 โครงการที่ติดตาม 6) กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 3 แผนงาน 6 โครงการที่พัฒนา 4 โครงการที่ติดตาม
- สรุปการบูรณาการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.ปทุมราชวงศากับกองทุนสุขภาพตำบล 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงานสิ่งแวดล้อม และแผนงานกิจกรรมทางกาย
- สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ มีประเด็นสำคัญ ดังนี้
3.1 ข้อดี เป็นโปรแกรมที่ดี มีตัวอย่างโครงการที่หลากหลาย สามารถเก็บข้อมูล นำมาวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาต่อได้ (งานวิจัย)
3.2 ข้อด้อย 1) ไม่เข้าใจโปรแกรมเท่าที่ควร จึงไม่ได้ใช้งาน ทั้งนี้มองว่าโปรแกรมดังกล่าวเป็นทางเลือกในการขับเคลื่อนงาน ดังนั้นในช่วงภาวะงานเยอะ มีโรคระบาด มีเวลาจำกัด จึงต้องเลือกทำงานหลักก่อน 2) ไม่กล้ากรอกข้อมูลในโปรแกรม เพราะไม่มั่นใจ กลัวทำผิด 3) ปกติโครงการของกองทุนก็ต้องกรอกลงในโปรแกรมของ สปสช. ทุกโครงการอยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่มีเวลาที่จะนำข้อมูลมาลงโปรแกรมนี้ แต่ถ้าปรับโปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมที่ต้องไปใช้งานหลัก ก็ต้องมีการใช้งาน 4) กรณีทำโครงการระดับหมู่บ้าน (กองทุนฯ ส่วนมากทำโครงการระดับหมู่บ้าน) แต่ในโปรแกรมต้องกรอกข้อมูลสถานการณ์ทั้งตำบล ดังนั้นการหาข้อมูลต้องประสานหลายหน่วยงานเพื่อจะได้ข้อมูลครบตามที่โปรแกรมกำหนด 3.3 ข้อเสนอแนะ 1) ควรมีตัวแทนในการเชื่อมประสานงานระหว่างอำเภอ กับกองทุน เพื่อให้ทุกกองทุนเข้าใจงานโปรแกรม 2) ควรมีการปริ้นโครงการตัวอย่างที่อยู่ในโปรแกรมออกมาเป็นเอกสาร เพื่อประกอบการเขียนข้อมูล หรือเขียนโครงการ 3) การกรอกข้อมูลเป็นร้อยละลงในโปรแกรม ค่อนข้างซับซ้อน ดังนั้นหากจะให้ง่าย เข้าถึง คือ ปรับการกรอกเป็นจำนวนเต็ม แล้วออกแบบให้โปรแกรมสามารถคำนวณเป็นร้อยละได้ 4) ปรับระบบข้อมูลในโปรแกรม ให้สามารถกอกข้อมูลระดับหมูบ้านได้
- ทบทวนแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ
- นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกกองทุนสุขภาพตำบล
- การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
- กระบวนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาโครงการกองทุนสุขภาพตำบล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อเสนอแนะต่อการบริหารโครงการศึกษาวิจัย
- สรุปผลการสรุปบทเรียนและแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 อุบลราชธานี
- สรุปข้อมูลการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการคุณภาพ ปี 2563 ดังนี้ 1) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงลวง จ.มุกดาหาร 21 แผนงาน 11 โครงการที่พัฒนา 12 โครงการที่ติดตาม 2) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร 19 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 22 โครงการที่ติดตาม 3) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 71 แผนงาน 24 โครงการที่พัฒนา 23 โครงการที่ติดตาม 4) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 31 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 14 โครงการที่ติดตาม 5) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 37 แผนงาน 19 โครงการที่พัฒนา 19 โครงการที่ติดตาม 6) กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 3 แผนงาน 6 โครงการที่พัฒนา 4 โครงการที่ติดตาม
- สรุปการบูรณาการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.กันทรลักษ์กับกองทุนสุขภาพตำบล 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงานอาหารและโภชนาการ และ แผนงานเผชิญพิบัติภัยและโรคระบาด (ไข้เลือดออก)
- สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ มีประเด็นสำคัญ ดังนี้
3.1 ข้อดี เป็นโปรแกรมที่ดี มีข้อมูลที่ชัดเจน มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหา มีตัวอย่างโครงการ อีกทั้งถ้ากรอกข้อมูลการดำเนินงานโครงการได้ สามารถปริ้นออกมาเป็นรายงานได้ แต่ยังไม่เกิดการใช้งานจริงเท่าที่ควร เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านการใช้งาน และขั้นตอนการบริหารจัดการกองทุน/โครงการ 3.2 ข้อด้อย ไม่ได้นำไปใช้จริง ไม่ได้เขียนโครงการผ่านโปรแกรม เนื่องจากมีเวลาจำกัด และผู้รับโครงการยังเข้าไม่ถึง ใช้งานโปรแกรมยังไม่ได้ เจ้าหน้าที่กองทุนยังใช้งานโปรแกรมได้ไม่ดี ดังนั้นการเป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้ขอทุน ในการใช้งานโปรแกรมก็ยังไม่สามารถทำได้ดี ระบบการเสนอโครงการไม่จำเป็นต้องผ่านโปรแกรม ดังนั้นจึงไม่ต้องทำผ่านโปรแกรม กระบวนการไม่สอดคล้องกับโปรแกรม ดังนั้นปัจจุบันโปรแกรมจึงเป็นภาระให้กับเจ้าหน้าที่ การเสนอโครงการต้องมีการอนุมัติ แต่โปรแกรมยังไม่มีกระบวนการอนุมัติ ข้อมูลนำเข้าในแผนงานยาก และมีรายละเอียดเยอะ เจ้าหน้าที่กองทุนไม่มีข้อมูลมากรอก เนื่องจากไม่รู้ข้อมูลจากผู้รับผิดชอบโครงการ ไม่เข้าใจตัวเลขสถานการณ์ในกองทุน เช่น ตัวเลขบวก – ลบ จำนวนประชาชน
3.3 ข้อเสนอแนะ กระบวนการบริหารจัดการกองทุน กับโปรแกรมต้องสอดคล้องกัน ควรจะมี สปสช. ตำบล หรือ สปสช.อำเภอ เพื่อให้ขับเคลื่อนงานกองทุนอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากคณะทำงานกองทุนตำบลไม่เรียกประชุมตามระยะเวลา ควรทำฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาให้เข้าใจง่ายขึ้น ไม่ซับซ้อน ควรออกแบบโปรแกรมให้ง่าย เช่น ทำแพลตฟอร์มคล้ายหรือใช้งานง่ายเหมือนตู้เติมเงิน เพื่อให้ชุมชน กลุ่มชุมชนใช้งานโปรแกรมนี้ได้ คนที่ที่ของบประมาณกองทุน ควรได้รับการอบรมการใช้งาน ไม่เฉพาะเจ้าหน้าที่กองทุนเท่านั้น /ปัจจุบันเจ้าหน้าที่กองทุนเองยังไม่สามารถใช้โปรแกรมนี้ได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นหากต้องใช้โปรแกรมในการดำเนินงาน จำเป็นต้องให้เจ้าหน้าที่กองทุนเป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้ขอทุน ในการใช้งานโปรแกรม หากจะมีการบังคับใช้โปรแกรมทุกพื้นที่ต้องมีระยะเวลากำหนดให้ชัดเจน ว่าแต่ละช่วงต้องทำอย่างไรบ้าง
1.ทบทวนแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ
2.นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกกองทุนสุขภาพตำบล
3.การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
4.กระบวนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาโครงการกองทุนสุขภาพตำบล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อเสนอแนะต่อการบริหารโครงการศึกษาวิจัย
5.สรุปผลการสรุปบทเรียนและแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 อุบลราชธานี
1.สรุปข้อมูลการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการคุณภาพ ปี 2563 ดังนี้ 1) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงลวง จ.มุกดาหาร 21 แผนงาน 11 โครงการที่พัฒนา 12 โครงการที่ติดตาม 2) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร 19 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 22 โครงการที่ติดตาม 3) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 71 แผนงาน 24 โครงการที่พัฒนา 23 โครงการที่ติดตาม 4) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 31 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 14 โครงการที่ติดตาม 5) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 37 แผนงาน 19 โครงการที่พัฒนา 19 โครงการที่ติดตาม 6) กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 3 แผนงาน 6 โครงการที่พัฒนา 4 โครงการที่ติดตาม
2.สรุปการบูรณาการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.หนองสูงกับกองทุนสุขภาพตำบล 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงานเผชิญพิบัติภัยและโรคระบาด และ แผนงานสิ่งแวดล้อม
3.สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ มีประเด็นสำคัญ ดังนี้
3.1 ข้อดี โปรแกรมมีรายละเอียดองค์ประกอบการจัดทำโครงการครบ ได้แก่ ความเป็นมา หลักการและเหตุผล วิธีการดำเนินงาน ตัวชี้วัด ซึ่งผู้เสนอโครงการสามารถจัดทำโครงการได้มีคุณภาพ มีตัวย่างโครงการคุณภาพ สามารถนำเอาเนื้อหารายละเอียดความเป็นมา ข้อมูล วิธีการดำเนินงานโครงการ ในโปรแกรมไปปรับใช้ในการเขียนโครงการอื่นๆ ได้
3.2 ข้อด้อย ผู้ใช้งานโปรแกรมขาดความต่อเนื่องการใช้โปรแกรมเนื่องจากมีเวลาที่จำกัดส่งผลให้ไม่เกิดความชำนาญและการขาดข้อมูลเติมในระบบโปรแกรม การใช้งานยังไม่สามารถใช้งานได้อย่างคล่องแคล่ว /ยังศึกษารายละเอียดไม่มากพอ
3.3 ข้อเสนอแนะ ให้ผู้เสนอโครงการเห็นความสำคัญในการเข้าใจโปรแกรม เพื่อเขียนโครงการควรจัดกระบวนการเรียนรู้การใช้โปรแกรมให้กับผู้เขียนโครงการเป็นหลัก เพื่อที่จะนำความรู้ไปใช้ในการเขียนโครงการ เพื่อให้โครงการมีคุณภาพดีขึ้น นำข้อมูล เนื้อหารายละเอียดในโปรแกรมมาจัดทำเป็นเอกสาร ให้แต่ละกองทุน หรือผู้เขียนโครงการ เพื่อที่จะใช้เป็นตัวอย่างในการเขียนโครงการ
1.ทบทวนแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ
2.นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกกองทุนสุขภาพตำบล
3.การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
4.กระบวนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาโครงการกองทุนสุขภาพตำบล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อเสนอแนะต่อการบริหารโครงการศึกษาวิจัย
5.สรุปผลการสรุปบทเรียนและแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 อุบลราชธานี
- สรุปข้อมูลการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการคุณภาพ ปี 2563 ดังนี้ 1) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงลวง จ.มุกดาหาร 21 แผนงาน 11 โครงการที่พัฒนา 12 โครงการที่ติดตาม 2) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร 19 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 22 โครงการที่ติดตาม 3) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 71 แผนงาน 24 โครงการที่พัฒนา 23 โครงการที่ติดตาม 4) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 31 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 14 โครงการที่ติดตาม 5) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 37 แผนงาน 19 โครงการที่พัฒนา 19 โครงการที่ติดตาม 6) กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 3 แผนงาน 6 โครงการที่พัฒนา 4 โครงการที่ติดตาม
- สรุปการบูรณาการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.ดงหลวงกับกองทุนสุขภาพตำบล 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงานอนามัยแม่และเด็ก และแผนงานโรคเรื้อรัง
- สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ มีประเด็นสำคัญ ได้แก่
3.1 โปรแกรมมีความละเอียด มีความชัดเจน ซึ่งสามารถจัดทำเอกสารรายงานโครงการได้สะดวก และเอื้อให้การจัดทำโครงการได้มีคุณภาพ
3.2 แบบฟอร์มของทางโปรแกรมกับกองทุนของ สปสช. ควรเป็นแบบฟอร์มเดียวกัน และให้พัฒนาเป็นแพตฟอร์มที่ง่ายต่อการใช้งาน
3.3 การใช้งานโปรแกรมช่วงเริ่มต้นอาจจะเกิดความสับสนในการใช้งาน โดยเฉพาะการรกรอกข้อมูลสถานการณ์ปัญหา ซึ่งพื้นที่ไม่มีข้อมูลครบทุกประเด็น หากได้ใช้โปรแกรมอย่างต่อเนื่องน่าจะมีประโยชน์สำหรับการจัดทำโครงการที่มีคุณภาพได้
3.4 ข้อเสนอต่อการพัฒนากระบวนการดำเนินงาน ควรมีการเสริมศักยภาพการจัดทำโครงการคุณภาพให้กรรมการกองทุนทุกแห่ง เพื่อให้สามารถจัดทำโครงการที่มีคุณภาพและเครื่องมือที่เอื้ออำนวยความสะดวกในการจัดทำโครงการให้ดูเป็นตัวอย่าง
- ชี้แจงแผนการดำเนินงาน การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลกับการขับเคลื่อนประเด็น พชอ. และการสรุปบทเรียนการดำเนินงาน
- สรุปผลการติดตามผลการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการในระบบโปรแกรม และแลกเปลี่ยนการติดตามหนุนเสริมเพื่อให้แผนงานและโครงการในระบบครบถ้วนสมบูรณ์
- ร่วมวางแผนและออกแบบกำหนดการเวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ
- สรุปผลการประชุมและมอบหมายบทบาทหน้าที่เตรียมเวที
1.สรุปข้อมูลการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการคุณภาพ ปี 2563 ดังนี้ 1) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงลวง จ.มุกดาหาร 21 แผนงาน 11 โครงการที่พัฒนา 12 โครงการที่ติดตาม 2) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร 19 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 22 โครงการที่ติดตาม 3) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 71 แผนงาน 24 โครงการที่พัฒนา 23 โครงการที่ติดตาม 4) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 31 แผนงาน 17 โครงการที่พัฒนา 14 โครงการที่ติดตาม 5) กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 37 แผนงาน 19 โครงการที่พัฒนา 19 โครงการที่ติดตาม 6) กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี 3 แผนงาน 6 โครงการที่พัฒนา 4 โครงการที่ติดตาม
2.ได้กำหนดการและกระบวนการกำหนดการเวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ ดังนี้ 1) ทบทวนแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ 2)นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกกองทุนสุขภาพตำบล 3) การจัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบลภายใต้การดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 4) กระบวนการสรุปบทเรียนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาโครงการกองทุนสุขภาพตำบล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อเสนอแนะต่อการบริหารโครงการศึกษาวิจัย 5) สรุปผลการสรุปบทเรียนและแนวทางการพัฒนาแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 อุบลราชธานี
3.แผนการจัดเวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานเสริมสร้างสุขภาวะ ดังนี้
1.วันที่ 15 มิถุนายน 2564 เวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอดงหลวง จ.มุกดาหาร
2.วันที่ 16 มิถุนายน 2564 เวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร
3.วันที่ 21 มิถุนายน 2564 เวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
4.วันที่ 22 มิถุนายน 2564 เวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอปทุมราชวงศา จ.อำนาเจริญ
5.วันที่ 23 มิถุนายน 2564 เวทีสรุปผลการดำเนินและสรุปบทเรียนโครงการ กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- สรุปผลการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2563
1.เวทีประชาคมผู้นำชุมชน+อสม. ช่วงเดือนตุลาคม (ดำเนินการพร้อมเวทีประชาคมทำแผนของเทศบาล) 2.บุคลากรร่วมกันพิจารณาเลือกประเด็นปัญหา/ความต้องการจากชุมชนที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดของหน่วยงานต้นสังกัด นโยบายผู้บริหารเทศบาล (มีคำสั่งเทศบาลเมืองเพื่อมอบหมายภาระงานให้บุคลากรแต่ละบุคคล/คำสั่งรายปี)เพื่อนำมาเขียนข้อเสนอโครงการ ทั้งนี้บุคลากรแต่ละคนสามารถประสานขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากภายนอกได้ตามศักยภาพโดยไม่จำกัดแหล่งงบประมาณว่าต้องเสนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพเทศบาลเมืองเท่านั้น
3. บุคลากรที่รับผิดชอบในแต่ละประเด็น เขียนและส่งข้อเสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุน โดยส่งตามความเร่งด่วนและความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย(ไม่ได้ส่งโครงการพร้อมกันในครั้งเดียว) รอบที่ 1 ส่งข้อเสนอโครงการประมาณก่อนเดือนตุลาคมทั้งนี้คณะกรรมการกองทุน จะมีการประชุมอนุมัติโครงการเป็นรายไตรมาสโดยผู้รับผิดชอบโครงการ(บุคลากรของศูนย์สุขภาพชุมชน)จะทำหน้าที่นำเสนอโครงการต่อคณะกรมการกองทุน ซึ่งโครงการเชิงการพัฒนา/เรื่องประเด็นปัญหาสังคม จำเป็นต้องเตรียมข้อมูลและนำเสนอให้เห็นความจำเป็น/ประโยชน์ของโครงการให้ชัดเจน เช่น ปี 2559 โครงการท้องไม่พร้อมโครงการที่ดูแลผู้ป่วยเรื้องรัง ควบคุมโรค (โรคระบาด/โรคติดต่อ)ชมรมผู้สูงอายุ ประกวดชุมชน มีการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนทุกปี เช่น โครงการดูแลสุขภาพช่องปาก (รณรงค์ฟันสะอาด) ในทุกกลุ่มอายุ/แยกรายโครงการ *ดำเนินงานในภาพรวมของเทศบาล โดยแบ่งบทบาทของแต่ละศูนย์ในการรับผิดชอบ เช่น ศูนย์สุขภาพที่ 2 ดูแลกลุ่มเด็กเล็ก เป็นต้น (ความคาดหวัง คือ อยากให้กิจกรรมมีความต่อเนื่อง) 4. การอนุมัติให้ดำเนินการ คณะกรรมการกองทุนสามารถอนุมัติให้ดำเนินการได้ทันที
5. กองทุนสุขภาพเทศบาลเมืองวาริน ไม่มีการกำหนดวงเงิน หรือแบ่งโควต้างบประมาณ *แต่จะพิจารณาข้อเสนอโครงการตามความจำเป็น+ความรุนแรงของปัญหา 6. หลังสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการต้องส่งเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน+รายงานการเงิน (ภายใน 15 วัน) *แนวทาง คือ ผู้รับผิดชอบโครงการต้องทำกิจกรรมให้แล้วเสร็จก่อนและนำส่งรายงาน จึงจะสามารถเบิกงบประมาณจากกองทุนสุขภาพเทศบาลเมืองได้ 7. กองทุนสุขภาพเทศบาลเมืองวาริน มีเวทีสรุปบทเรียนงานกองทุนสุขภาพประจำปี (คณะกรรมการกองทุน+บุคลากรกองสาธารณสุข) - โครงการคุณภาพจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการลูกรักฟันดีที่ตัวเรา ปี 2563 แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว (2) โครงการฟันสะอาดเงือกแข็งแรง ปี 2563 แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว (3) โครงการป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด (4) โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในฐานะผู้ช่วยเลขาฯ กองทุน และผู้รับขอการสนับสนุนงบประมาณกองทุน (รพ.สต.) มีความเข้าใจและสามารถที่จะได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลโครงการ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์และได้จัดทำแผนงานในปี 2564 และพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- สรุปการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- กองทุนสุขภาพตำบล ทม.กันทรลักษ์ : งบประมาณปี 2563 2,260,000บาท ปี 2563 มีงบที่ค้างเยอะ (สถานการณ์โควิดทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน) ปี 2563 สนับสนุนงบ รวม 40 โครงการ กลุ่ม 1 สนับสนุนงบ 613,000 บาท กลุ่ม 2สนับสนุนงบ 1,1000,000(หน่วยงาน/องค์กร) กลุ่ม 3ไม่มีการสนับสนุนในกลุ่มนี้ *ส่วนใหญ่โยกไปสนับสนุนในกลุ่มที่ 2 กลุ่ม 4คณะกรรมการกองทุน (15%) กลุ่ม 5 โรคระบาด (งบกองทุน 76,000 บาท) ขั้นตอน 1. หน่วยงาน/ชุมชนเสนอโครงการ(หลักเกณฑ์การเสนอโครงการ-มิติสุขภาพต้องมีประธาน อสม.ลงนามคู่กับประธานชุมชน) *มอบหมายเจ้าหน้าที่กองทุนเป็นพี่เลี้ยงพัฒนาโครงการ ติดตามโครงการ(บุคลากรกองสาธารณสุข) 2. มีคณะกรรมการกลั่นกรอง(พิจารณาตามความจำเป็นไม่จำกัดวงเงินต่อโครงการ) หากมีงบในหมวดวัสดุ/ครุภัณฑ์ ต้องมีการแนบรายละเอียด/สเป็กแนบมาประกอบการพิจารณาด้วย-หากจัดอบรมต้องแนบหลักสูตรการอบรมประกอบ 3. นำเสนอโครงการกับคณะกรรมการกองทุน (อนุมัติตามที่อนุกรรมการกลั่นกรองนำเสนอ) โครงการที่เด่น กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน (มีค่าบำรุงชมรมใช้จัดสวัสดิการ) ดำเนินการเดือนละ 1 ครั้งผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 200 คน/ที่ผ่านมาดำเนินกิจกรรมได้ 1 ครั้ง(เดือนธันวาคม 2563) *กองทุนจะโอนงบให้ตามที่จัดกิจกรรมจริง (เดือนใดไม่ได้ดำเนินการไม่มีการโอนงบให้-หากโอนงบทั้งก้อน กรณีไม่มีกิจกรรม-ชมรมก็ต้องโอนงบกลับคืนกองทุน) โรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 150 คน
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บึงมะลู : งบประมาณปี 2563 สปสช. 520,000 บาทอบต.สมทบ (50%) คงเหลือ 240,000 บาท ยกยอดไปปี 2564 (คณะกรรมการกองทุนได้กำหนดกรอบงบประมาณในแต่ละหมวดอย่างชัดเจนแล้ว) ขั้นตอน 1.เปิดรับโครงการ 2.เสนอโครงการผ่านกองเลขา 3.เลขานำเสนอคณะกรรมการกองทุน/อนุมัติโครงการ 4.ประชุมคณะกรรมการเพื่อสรุปสถานการณ์การเงิน+ประชุมสรุปผลงาน (ข้อเสนอ : มีการกำหนดวงเงินให้กับหมวดต่างๆ) หมวด 1 *แจกเจลล์ล้างมือทุกครัวเรือน หมวด 2 กองทุนสวัสดิการชุมชน (99,000 บาท)แจกเจลล์ล้างมือทุกครัวเรือน โรงเรียนผู้สูงอายุ (270,000 บาท) คณะกรรมการ (กองทุนตำบล+LTC)ป้องกันโควิด (อบต.)*อบรม/ปฏิบัติการจัดทำหน้ากากอนามัย(160,000 บาท) ข้อจำกัด รพ.สต.+ชุมชนไม่มีโครงการเสนอเพิ่มเข้ามา (สถานการณ์โควิด) - โครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง มี 3 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการสร้างชุมชนต้นแบบด้านการจัดตั้งธนาคารขยะสร้างสุข ของกองทุนสุขภาพตำบล ทม.กันทรลักษ์ (2) โครงการปั่นจักรยานเยี่ยมบ้านผู้ป่วย (Bike For Care) ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.รุง (3) โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บึงมะลู
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในฐานะผู้ช่วยเลขาฯ กองทุน และผู้รับขอการสนับสนุนงบประมาณกองทุน (รพ.สต.) มีความเข้าใจและสามารถที่จะได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลโครงการ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์และได้จัดทำแผนงานในปี 2564 และพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- สรุปการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน : ปี 2563 งบกองทุน 200,500 บาท (อบต.สมทบ 100,000 บาท) (ยอดยกมาจากปี 2562 ประมาณ 100,000 บาท)
ปี 2563 สนับสนุนงบ รวม 17 โครงการ(ไม่มีเงินค้างท่อ) ขั้นตอน 1.ประชุมเสนอแผนในไตรมาส 1 (กันยายน 2562) 2.หน่วยรับทุนเสนอโครงการ(ต้นเดือนตุลาคม 2562) 3.คณะกรรมการประชุมพิจารณาอนุมัติ/กำหนดช่วงเวลาดำเนินโครงการ (ปลายเดือนตุลาคม 2562) 4.คณะกรรมการมีการพิจารณาปรับลดงบประมาณ เพื่อกันไว้สำหรับนำไปใช้ในการป้องกันโควิด ศพด.หนองกบ (เด็กลอยน้ำเป็นเล่นน้ำได้) เป็นพื้นที่รับน้ำ (มีปัญหาน้ำท่วม)ติดลำน้ำเซ มีหนองน้ำสาธารณะ มีอ่างเก็บน้ำ และสระน้ำในพื้นที่เกษตรกรรม เด็กลอยน้ำเป็นเล่นน้ำได้งบ 20,000 บาท รพ.สต. 10 โครงการ(คัดกรองผู้สูงอายุ, LTC,แพทย์แผนไทย,โรคเรื้อรัง) ชุมชนน่าบ้าน น่ามอง งบ 70,000 บาท ทำความสะอาดลอกท่อระบายน้ำ/ดำเนินการเดือนละ 2 ครั้ง ประกวดระดับคุ้ม (หมู่บ้าน) ประกวดระดับตำบลมีคณะกรรมการตัดสิน (ชนะเลิศในระดับตำบล 3 ปีซ้อน) ตัดแว่นผู้สูงอายุ งบ 100,000 บาท - กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ดงแคนใหญ่ : ปี 2563 งบกองทุน 1) สปสช.สมทบ 277,695บาท 2)อบต.สมทบ 150,000บาท (ยอดยกมาจากปี 2562 ประมาณ 88,000 บาท) ปี 2563 สนับสนุนงบ รวม 31 โครงการ (ยอดคงเหลือยกไปปี 2564 ประมาณ 20,000 บาท) สนับสนุนงบ/โครงการ: ปี 2563 แบ่งงบประมาณตามสัดส่วนกลุ่มเป้าหมาย (%)/กำหนดเพดานงบไว้อย่างชัดเจน กลุ่ม 1 หน่วยงานอื่นๆ เช่น รพ.สต. 30% กลุ่ม 2 ชุมชน 25 % กลุ่ม 3 ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ/เด็กเล็ก 30% กลุ่ม 4 บริหารกองทุน 15% กลุ่ม 5 ป้องกันภัยพิบัติ +ไข้เลือดออก ขั้นตอน 1.คณะกรรมการกองทุน เชิญประชุม (หน่วยงานต่างๆ)วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของตำบล จัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพและมีการจัดลำดับความเร่งด่วนในการช่วยเหลือแบ่งตามกลุ่มอายุ (ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยเรื้อรัง-ผู้พิการทางร่างกาย/การเคลื่อนไหว-ผู้พิการทางการมองเห็น-ผู้พิการทางจิต/พฤติกรรม) 2. คณะกรรมการแบ่งการพิจารณาอนุมัติงบกองทุนแบ่งเป็น 2 รอบ(ตามความพร้อม) โครงการเด่นของกองทุน โครงการขยะทองคำ (คัดแยกขยะต้นทาง) ให้ความรู้+มีการสาธิตอัดถุงพลาสติกขาย จัดตั้งกองทุน*วัตถุประสงค์เพื่อรับซื้อถุงพลาสติกเท่านั้น (เพื่อจัดการขยะที่คัดแยกแล้วนำไปขายไม่ได้) งบของกองทุนขยะ แบ่งใช้ในการบริหารจัดการ (ค่าน้ำมันรถขนขยะพลาสติกไปขาย) *ปัญหา คือ ราคาพลาสติก เคยสูงถึง 18 บาทต่อกิโลกรัม –ปัจจุบันราคาตกเหลือเพียง 4 บาทเท่านั้น โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุปี 2563/จะต่อยอดในปี 2564 กิจกรรม 1 ครั้งต่อเดือน *รวม 12 ครั้งต่อปี (ออกกำลังกาย/อาหาร/อารมณ์) *สถานที่โรงเรียนชุมชนหนองแคนใหญ่ (เริ่มดำเนินการในปี 2560 เป็นต้นมา) มีครูพี่เลี้ยง 20 คน (อสม.+CG) งบจากกองทุนสุขภาพตำบล 50,000 บาทต่อปี กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน ประชาสัมพันธ์ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10 มาพัฒนาหลักสูตร (สุขภาพ 5 มิติ) ผลลัพธ์ 1) ผู้สูงอายุเกิดความเข้าใจ “ไม่หลง ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” 2) ลดจำนวนผู้สูงอายุที่พึ่งตนเองไม่ได้ปวดเมื่อยตามร่างกาย/ข้อเสื่อม 3) ลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า - มีการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงาน เป็นโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการเด็กเล็กลอยน้ำเป็นเล่นน้ำได้ ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน
(2) โครงการคัดแยกขยะต้นทาง ของกองทุนสุขภาพตำบล ทต.ดงแแคนใหญ่ (3) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาแก - เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในฐานะผู้ช่วยเลขาฯ กองทุน และผู้รับขอการสนับสนุนงบประมาณกองทุน (รพ.สต.) มีความเข้าใจและสามารถที่จะได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลโครงการ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์และได้จัดทำแผนงานในปี 2564 และพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- กองทุนสุขภาพตำบล (ต้นแบบ) ที่สามารถจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ และรายงานผลการดำเนินงานในระบบเว็บไซต์ เป็นโครงการคุณภาพและมีแผนปัจจัยเสี่ยงจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ดงแคนใหญ่ 2. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน 3. กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาแก
- ได้มีการพิจารณาคัดเลือกโครงการคุณภาพและมีแผนปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ โครงการเด็กเล็กลอยน้ำเป็นเล่นน้ำได้ แผนงานกิจกรรมทางกาย ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กู่จาน โครงการคัดแยกขยะต้นทาง แผนงานสิ่งแวดล้อม ของกองทุนสุขภาพตำบล ทต.ดงแคนใหญ่ และโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง แผนงานโรคเรื้อรัง ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาแก ซึ่งทั้ง 3 โครงการได้มีการจัดทำข้อมูลในระบบเว็บไซต์ครบถ้วยสมบูรณ์
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- สรุปข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพต้นแบบ ปี 2563
- กองทุนสุขภาพตำบล ทต.หนองข่า : การบริหารกองทุนประเภทกลุ่มที่ ๑ ร้อยละ ๔๐ ประเภทกลุ่มที่ ๒ ร้อยละ ๒๕ ประเภทกลุ่มที่ ๓ ร้อยละ ๑๒ ประเภทที่ ๔ การบริหารจัดการกองทุน ร้อยละ ๑๕ ประเภทที่ ๕ การส่งเสริมผู้สูงอายุร้อยละ ๒๐ ประเภทที่ ๖ การป้องกันภัยพิบัติ ร้อยละ ๑.๓๐ ยอดงบประมาณกองทุน๒๔๔,๒๒๕บาท ใช้งบประมาณ ๗๐,๐๐๐ กว่าบาท การบริหารกองทุนใช้เกือบหมดโครงการ ๒๐ กว่า โครงการส่วนประเภทที่ ๑ ของ เทศบาล ประเภทที่ ๒ ของ รพ.สต. สอดคล้องกับนโยบายของ พชอ. เรื่องโรคพยาธิใบไม้ในตับ มะเร็งท่อน้ำดีและมะเร็งตับจำนวนมาก ด้วยบริบทพื้นที่ชาวบ้านมีการรับประทานอาหารเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งท่อน้ำดีและใบไม้ในตับส่วนของเทศบาลตำบลหนองข่า จะดำเนินการโรคไข้เลือดออกประเภทที่ ๒ สนับสนุนให้ชมรมรักสุขภาพ เช่น โครงการออกกำลังกาย มีเสียงสะท้อนในทิศทางที่ดี มีความสามัคคีและสุขภาพดีขึ้นประเภทที่ ๓ สนับสนุนให้ ศพด. มีโครงการเกี่ยวกับด้าน อุบัติเหตุ การจัดการขยะ พัฒนาการเด็ก ประเภทที่ ๔ สนับสนุนโครงการ ภาวะพึ่งพิง ผู้สูงอายุประเภทที่ ๕ สนับสนุนเรื่องภัยพิบัติ โรคไข้เลือดออก ประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ได้มีการเข้าร่วมเป็นทีมในการพัฒนากองทุนในเขตสปสช.เขต ๑๐ ส่วนของกองทุนส่วนใหญ่มีการประชาคมของหมู่บ้าน การหาแนวทางของประชาชน ตรงตามสถานการณ์ปัญหาของประชาชน เช่น การออกกำลังกาย ที่สอดคล้องนโยบายของ พชอ.และของจังหวัด การสนับสนุนโครงการให้หน่วยงานในพื้นที่ การจัดสรรงบประมาณ จะมีการพิจารณาของคณะกรรมการก่อน ตรวจเอกสารตรงตามสถานการณ์ในพื้นที่ มีการระดมความคิดของคนในพื้นที่เป็นหลัก การดำเนินงานตามเงื่อนไขของกองทุน เช่น การเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุ การส่งเสริมทีมดูแลผู้สูงอายุ การให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ เสียงสะท้อนในทิศทางที่ดี การจัดสรรงบประมาณ มีการดำเนินงานชี้แจง ประชาสัมพันธ์ พัฒนาโครงการในเดือน ก.ย.ทุกปี โดยมีการสรุปผลการดำเนินงานทุกปี ซึ่งมีทางทีมระดับอำเภอเข้ามาตรวจเยี่ยมและข้อเสนอแนะ การเสนอโครงการภายในเดือน ต.ค. การพิจารณาตามกลุ่มใน ๗ กลุ่ม หลักการพิจารณาจะพิจารณาจากงบประมาณ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ศักยภาพของผู้รับการสนับสนุน พิจารณาโดยคณะกรรมการชุดเล็กก่อน ต่อจากนั้นเสนอให้กรรมการชุดใหญ่ในเดือน ต.ค. การโอนเงินสนับสนุนจะไม่รอการสนับสนุนเพิ่มเติมจาก อบต. จะมีการดำเนินการไปก่อน โครงการต่างๆต้องผ่านคณะกรรมการภายในไตมาสแรก กลุ่มชมรมจะมีเวลาในการเสนอโครงการ มีการจัดสรรงบประมาณและแจ้งยอดในการเสนอโครงการ การสมทบต้องผ่านสภาฯท้องถิ่น เพื่อให้เพิ่มงบประมาณสมทบ โดยต้องอาศัย สมาชิกสภาฯเสนอให้การเพิ่มงบประมาณสมทบความคาดหวังให้มีการสมทบถึงร้อยละ ๑๐๐ ให้ได้ - กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลือ : สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนตำบลลืออำนาจ พื้นที่ ๑๔หมู่บ้าน โรงเรียน ๘ ศพด.๗ แห่ง การดำเนินงานปี ๖๓ มีการดำเนินงานจากนโยบายของ สปสช. มีการสมทบงบประมาณ ได้มีการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ จะมีการสนับสนุนใน ๓ ส่วน คือ โรงเรียน ศพด. และชุมชน งบประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ มีการสมทบ ๔๙๐,๐๐๐ มีการแบ่งงบประมาณออก ปัญหาที่พบมากที่สุด โรคเบาหวาน ความดัน รองลงมา โรคไข้เลือดออก การสนับสนุนและบริหารกองทุน การดำเนินงาน มีการจัดสรรงบประมาณจากอนุกรรมการดำเนินการก่อนเข้าคณะกรรมการกองทุน มีการตั้งงบประมาณเพื่อให้เกิดความคล้องตัวในการจัดสรรหรือสนับสนุน การบริหารจะมีการประชุมช่วงบ่ายส่วนใหญ่ การเบิกจ่ายในเรื่องอาหารเที่ยง อาหารว่างก็ลดลง โครงการในปี ๖๓ ทั้งหมด ๔๖ โครงการ โดยมียึดนโยบาย พชอ. และสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ รพ.สต.เป็นหลัก เช่น เรื่องเด็กจมน้ำ โดยการคัดเลือก นักเรียนว่ายน้ำไม่เป็น สอนว่ายน้ำในสระ เป็นโครงการที่ดีเป็นประโยชน์ การสนับสนุน รพ.สต. เบาหวาน ความดัน เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง โควิด๑๙ การจัดการขยะของชุมชน การส่งเสริมเด็กเยาชนในชุมชน การส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย มีงบประมาณปี ๖๓ เหลือ ประมาณ ๒๔,๐๐๐ บาท ยกยอดมาดำเนินงานในปี ๖๔
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำโพน : สถานการณ์การบริหารกองทุนตำบลคำโพน หมู่บ้าน ๑๐ แห่ง ประชากรจำนวน ๗,๙๖๐ คน รพ.สต. 2 แห่ง โรงเรียน ๖ แห่ง มีโรงเรียน ตชด. ศพด.มี ๕ แห่ง งบประมาณปี ๖๓ มีการสนับสนุนโครงการ๒๗๖,๐๐๐ สมทบ ประมาณร้อยละ ๔๐ ประมาณ ๑๑๐,๕๗๔ บาท สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่มากที่สุด โรคไข้เลือดออก รองลงมา โรคเบาหวาน ความดัน การสนับสนุนของโครงการ หน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุน ได้แก่ รพ.สต.โรงเรียนชมรมต่างๆในท้องถิ่นและกำนัน/ผญบ. การบริหารจัดการปี ๖๓ มีการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ ๑ วันที่ ๘ เดือน พ.ย.๖๒ มีการชี้แจงรายละเอียดรายงานผลการดำเนินงานปี ๖๒ และสถานการณ์การเงินของกองทุนตำบลปี ๖๓ การแบ่งกลุ่มเป้าหมายการสนับสนุน และมีการวางแผนการสนับสนุนตามกลุ่มเป้าหมาย ในการดำเนินงานโครงการแต่ละปี จะมีการพูดคุย วางแผนการสนับสนุนตามสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ มีการประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานในชุมชน กลุ่มต่างๆ การสนับสนุนโครงการปี ๖๓ จำนวน๖ โครงการ ประเภทการสนับสนุนโดยได้เน้นในการสนับสนุนพัฒนาเด็กเยาวชนห่างยาเสพติดใช้กีฬาในประเภทที่ ๒ การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค การสนับสนุนให้ผู้นำชุมชน กำนัน/ผญบ. ร่วมกับ อสม. โดยนำงบประมาณไปสนับสนุนในการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม โรคไข้เลือดออก การให้มีการดำเนินงานโครงการให้เสร็จก่อนการเบิกจ่าย ซึ่งทำให้การดำเนินงานจะง่ายต่อการบริหารจัดการ การตามเอกสาร - ได้ต้นแบบของกองทุนที่ดำเนินการจัดทำโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง จำนวน 3 กองทุน ได้แก่ (1) โครงการโครงการพัฒนาทักษะการดูแลส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็กร่วมกับผู้ปกครองตามประเภทของเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ของกองทุนสุขภาพตำบล ทต.หนองข่า (2) โครงการเด็กและเยาวชนตำบลลือยุคใหม่ห่างไกลภัยบุหรี่ ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลือ (3) โครงการเสริมสร้างสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำโพน
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในฐานะผู้ช่วยเลขาฯ กองทุน และผู้รับขอการสนับสนุนงบประมาณกองทุน (รพ.สต.) มีความเข้าใจและสามารถที่จะได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลโครงการ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์และได้จัดทำแผนงานในปี 2564 และพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ ปี 2563
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- สรุปผลการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลตำบลต้นแบบ ปี 2563
- กองทุนสุขภาพตำบล ทต.หนองสูงเหนือ : ในปี 2563 เทศบาลตำบลหนองสูงเหนือมีงบประมาณรวมงบสมทบ 357,000 บาท สถานการณ์ปัญหาในตำบล เด็กทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม วัยรุ่นติดยาเสพติด มีชมรมผู้สูงอายุ2 ตำบล แต่ยังไม่มีโรงเรียนผู้สูงอายุ ปัจจุบันกำลังผลักดันให้เกิดโรงเรียนผู้สูงอายุ ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม คือ ปัญหาขยะ การเสนอโครงการ มีขั้นตอน คือ การจัดทำประชาคมหาสถานการณ์ปัญหา และความต้องการ เขียนโครงการเสนอตามสถานการณ์ปัญหา และความต้องการกลั่นกรองโครงการที่เสนอขอ 2 ขั้นตอน คือ กลั่นกรองคณะกรรมชุดแรก และกลั่นกรองคณะกรรมการชุดใหญ่ ประเด็นโครงการที่อนุมัติงบประมาณ มีรายละเอียดดังนี้ควบคุมโรคไข้เลือดออก จัดอบรม ออกกำลังกาย แต่ส่วนใหญ่เน้นเรื่องสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมสุขภาพคนพิการ ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็ก (พ่อแม่ไม่ได้อยู่กับลูก ) เด็กหลังคลอด เด็กอายุ 0-5 ปี จัดทีม MCFC เพื่อช่วยปู่ย่าตายายเลี้ยงเด็ก- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองสูงใต้ : ปี 2563 อบต. หนองสูงใต้ ได้รับงบประมาณ 149,580 บาท อบต. สมบท 60,000 บาท ขั้นตอนการดำเนินการ 1. เปิดรับข้อเสนอโครงการ ม.ค. โดยการทำหนังสือให้หน่วยงาน เสนอโครงการเพื่อมาขอรับทุน 2. คณะกรรมการพิจารณาโครงการและงบประมาณ 3. ให้การสนับสนุนงบประมาณตามระยะเวลาที่เสนอในโครงการ สถานการณ์ปัญหาที่พบในการดำเนินงานของกองทุน ผู้ขอรับทุนไม่เข้าระเบียบการใช้เงินของกองทุน เช่น ระเบียบเรื่องการจัดซื้อวัสดุ งบประมาณที่ได้มาไม่สามารถซื้อวัสดุ หรือสิ่งของไปซื้อเป็นรางวัลให้กับนักเรียน งบประมาณต้องไปจัดอบรมให้ความรู้ (กระบวนการคือ จัดอบรม และมีกิจกรรมให้เด็กทำ และซื้อสิ่งของให้เป็นรางวัลเด็ก) ทั้งนี้คณะทำงานโครงการมองว่า การซื้อวัสดุ หรือสิ่งของรางวัลดังกล่าว ไม่ใช่สิ่งที่ผิด เป็นการดำเนินการที่หลากหลาย ซึ่งงบประมาณควรใช้ได้ การกำหนดงบประมาณให้แต่ละหน่วยงานมองว่าเป็นเรื่องที่ดี เนื่องจาก ผู้เขียนโครงการรู้ชัดเจน ทำให้สามารถออกแบบโครงการได้ตรงกับงบประมาณที่กำหนดให้
- กองทุนสุขภาพตำบล ทต.ภูวง : ได้รับงบประมาณ 100,000 บาท สมทบ 100,000 บาท การเปิดรับโครงการ คือ เทศบาลทำหนังสือแจ้งให้กับแต่ละส่วนรับทราบ พร้อมแนบแบบฟอร์มการเขียนโครงการ การเขียนโครงการของแต่ละหน่วยมีทั้งเขียนเอง ขอคำแนะนำจากเทศบาล และบางหน่วยมีพี่เลี้ยง (รพ.สต.) แนะนำในการเขียน ที่ผ่านมามีการเสนอขอ และอนุมัติครบ 100 เปอร์เซ็นต์
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองสูงใต้ : ปี 2563 อบต. หนองสูงใต้ ได้รับงบประมาณ 149,580 บาท อบต. สมบท 60,000 บาท ขั้นตอนการดำเนินการ 1. เปิดรับข้อเสนอโครงการ ม.ค. โดยการทำหนังสือให้หน่วยงาน เสนอโครงการเพื่อมาขอรับทุน 2. คณะกรรมการพิจารณาโครงการและงบประมาณ 3. ให้การสนับสนุนงบประมาณตามระยะเวลาที่เสนอในโครงการ สถานการณ์ปัญหาที่พบในการดำเนินงานของกองทุน ผู้ขอรับทุนไม่เข้าระเบียบการใช้เงินของกองทุน เช่น ระเบียบเรื่องการจัดซื้อวัสดุ งบประมาณที่ได้มาไม่สามารถซื้อวัสดุ หรือสิ่งของไปซื้อเป็นรางวัลให้กับนักเรียน งบประมาณต้องไปจัดอบรมให้ความรู้ (กระบวนการคือ จัดอบรม และมีกิจกรรมให้เด็กทำ และซื้อสิ่งของให้เป็นรางวัลเด็ก) ทั้งนี้คณะทำงานโครงการมองว่า การซื้อวัสดุ หรือสิ่งของรางวัลดังกล่าว ไม่ใช่สิ่งที่ผิด เป็นการดำเนินการที่หลากหลาย ซึ่งงบประมาณควรใช้ได้ การกำหนดงบประมาณให้แต่ละหน่วยงานมองว่าเป็นเรื่องที่ดี เนื่องจาก ผู้เขียนโครงการรู้ชัดเจน ทำให้สามารถออกแบบโครงการได้ตรงกับงบประมาณที่กำหนดให้
- มีโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงของกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ (1)โครงการส่งเสริมสุขภาพห่างไกลโรคตำบลหนองสูง แผนงานโรคเรื้อรัง ของกองทุนสุขภาพตำบล ทต.หนองสูงเหนือ (2) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ชุมชนบ้านแวง แผนงานยาเสพติด ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองสูงใต้ (3) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา แผนงานยาเสพติด ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองสูงใต้ (4) โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคและโรคไม่ติดต่อ รพ.สต.บ้านบุ่ง แผนงานโรคเรื้อรัง ของกองทุนสุขภาพตำบล ทต.ภูวง
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในฐานะผู้ช่วยเลขาฯ กองทุน และผู้รับขอการสนับสนุนงบประมาณกองทุน (รพ.สต.) ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลโครงการ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์และได้จัดทำแผนงานในปี 2564 และพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
- ชี้แจงวัตถุ เป้าหมาย และความเป็นมาของการประชุมติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- รายงานการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ กองทุน อ.ดงหลวง ปี 2563
- การสนับสนุนและดำเนินการโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยง
- ทิศทางการพัฒนาโครงการคุณภาพและแผนปัจจัยเสี่ยงปี 2564
- ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว : ปี 2563 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว มีโครงการหลักๆ คือ โครงการป้องกันไข้เลือดออก และป้องกันควบคุมโรคโควิด 19 โครงการเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน สุขภาพแม่และเด็ก และผู้สูงอายุ โครงการที่ทำคือ เรื่องเด็ก การดูแลสุขภาพปาก และฟัน ผู้สูงอายุ ดูแลผ่าน อสม. การดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ดำเนินการโดยการมีส่วนร่วมระหว่างครูและผู้ปกครอง (ผู้ปกครอง 50% ครู 50%) การบริหารจัดการครอบครัว ดำเนินการโดย อสม. รับผิดชอบดูแลหลังคาเรือน ตามหน่วยที่รับผิดชอบ ทำความสะอาด เก็บสิ่งปฏิกูล (ปัจจุบันไม่มีรถขนขยะ) ปัจจัยเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุน คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องยังไม่กล้าดำเนินงานกองทุน เนื่องจากกลัวการตรวจสอบจาก สตง. และต้องการให้เลขานุการกองทุนฯ ทำหน้าที่ดำเนินการเป็นหลัก
- กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังแดง : ได้รับงบประมาณดำเนินงานปีละ 3 แสน โครงการที่อนุมัติเมื่อปีที่ 2563 ได้แก่ โครงการสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ปริมาณหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นมากกว่างบประมาณที่ตั้งไว้ งบประมาณที่ตั้งไว้มีอย่างจำกัด โครงการโรงเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่สุขภาพฟันที่ดี บรรลุวัตถุประสงค์ เงื่อนไข เป็นโครงการต่อเนื่อง งบประมาณจำกัด ต้องเดินทางไกลไปในแต่ละโรงเรียน โรงเรียนบางแห่งขาดแก้วน้ำในการแปลงฟัน ควรมีการขยายเวลาในการทำงาน และเพิ่มงบประมาณ โครงการห่วงใยผู้ป่วยสุขภาพเรื้อรัง ดำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ปัจจัยเงื่อนไข ควรจัดทำโครงการให้มีความรู้ สร้างความตระหนักการเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย ปัญหาในการดำเนินงาน คือ การระบาดของไวรัฐโคโรนา ส่งผลให้การดำเนินการล่าช้า และไม่มีการอบสมุนไพร โครงการ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัฐโคโรน่า 2019 ดำเนินไปตามวัตถุประสงค์ โครงการ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก ปัญหา คือ ความร่วมมือของชุมชนมีน้อย ความตระหนักต่อพิษภัยมีน้อย โครงการ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ ปัญหา ประชาชนในพื้นที่บางกลุ่มขาดความร่วมมือ ไม่สนใจ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ - โครงการคุณภาพและมีแผนปัจจัยเสี่ยงของกองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ จำนวน 3 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว (2) โครงการห่วงใยสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลพังแดง รพ.สต.พังแดง ปีงบประมาณ 2563 แผนงานโรคเรื้อรัง ของกองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังแดง และ (3) โครงการป้องกันและคบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลดงหลวง 2563 แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ของกองทุนสุขภาพตำบล ทต.ดงหลวง
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในฐานะผู้ช่วยเลขาฯ กองทุน และผู้รับขอการสนับสนุนงบประมาณกองทุน (รพ.สต.) ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ รายงานผลการดำเนินงานการติดตามประเมินผลโครงการ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์และได้จัดทำแผนงานในปี 2564 และพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
- ชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน
- ทบทวนแผนการดำเนินงานแต่ละ พชอ. และนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการจัดทำแผนงาน และพัฒนาโครงการ
- วางแผนการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการแต่ละกองทุน
- สรุปผลการดำเนินงานและนัดหมาย
- คณะทำงานระดับเขตมีตัวแทนเข้าร่วมประชุม จำนวน ่15 คน ครบทุก พชอ. และสามารถวางแผนกำหนดแผนปฏิบัติการติดตามการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการทั้ง 6 พชอ.
- คณะทำงานแต่ละ พชอ. รับรู้ข้อมูลความก้าวหน้าการจัดแผนงานและพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ ดังนี้ 1) อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร มี 12 แผนงาน (สมบูรณ์ 5 เพิ่มเติมข้อมูล 7) และมี 9 โครงการ (สมบูรณ์ 1 เพิ่มเติมข้อมูล 2) อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ มี 20 แผนงาน (สมบูรณ์ 2 เพิ่มเติมข้อมูล 16 ) และมี 13 โครงการ (เพิ่มเติมข้อมูล 13) 3) กองทุน จ.มุกดาหาร มี 18 แผนงาน (สมบูรณ์ 13 เพิ่มเติมข้อมูล 6) และมี 16 โครงการ (สมบูรณ์ 11 เพิ่มเติมข้อมูล 5) 4) กองทุน จ.ศรีสะเกษ มี 28 แผานงาน (สมบูรณ์ 12 เพิ่มเติม 17) และมี 19 โครงการ (เพิ่มเติมข้อมูล 19) 5) กองทุน จ.อุบลฯ มี 13 แผนงาน (สมบูรณ์ 9 เพิ่มเติมข้อมูล 4) และมี 12 โครงการ (เพิ่มเติมรายละเอียด 12)
- แผนปฏิบัติการติดตามหนุนเสริมการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ ดังนี้ วันที่ 14 ส.ค.63 กองทุนพื้นที่ อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาเจริญ วันที่ 18 ส.ค.63 กองทุนพื้นที่ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร วันที่ 20 ส.ค.63 กองทุนพื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ วันที่ 21 ส.ค.63 กองทุนพื้นที่ อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร วันที่ 28 ส.ค.63 กองทุนพื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
- พบปะพูดคุยและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องการดำเนินงานขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- นำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- แบ่งกลุ่ม ปฏิบัติการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระบบอิเล็คทรอนิคส์
- สรุปผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนงานและพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำแผนงานในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลได้สมบูรณ์ จำนวน 15 แผนงาน
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลและรายละเอียดได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ได้จำนวน 16 โครงการ
- มีโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน จำนวน 18 โครงการ และดำเนินการติดตามโครงการและรายงานผลการดำเนินงานในระบบ
- พบปะพูดคุยและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องการดำเนินงานขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- นำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- แบ่งกลุ่ม ปฏิบัติการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระบบอิเล็คทรอนิคส์
- สรุปผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนงานและพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำแผนงานในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลได้ครบถ้วนสมบูรณ์ จำนวน 24 แผนงาน
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลและรายละเอียดได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ได้จำนวน 21 โครงการ
- มีโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน จำนวน 11 โครงการ และดำเนินการติดตามโครงการและรายงานผลการดำเนินงานในระบบ
- พบปะพูดคุยและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องการดำเนินงานขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- นำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- แบ่งกลุ่ม ปฏิบัติการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระบบอิเล็คทรอนิคส์
- สรุปผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนงานและพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำแผนงานในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลได้ครบถ้วนสมบูรณ์ จำนวน 12 แผนงาน
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลและรายละเอียดได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ได้จำนวน 12 โครงการ
- มีโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน จำนวน 10 โครงการ และดำเนินการติดตามโครงการและรายงานผลการดำเนินงานในระบบ
- พบปะพูดคุยและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องการดำเนินงานขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- นำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- แบ่งกลุ่ม ปฏิบัติการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระบบอิเล็คทรอนิคส์
- สรุปผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนงานและพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ได้มีการดำเนินการจัดทำแผนงานในระบบเว็บไซร์ จนครบถ้วนสมบูรณ์ จำนวน แผนงาน
- ได้โครงการที่ได้การบันทึกข้อมูลมีความถรบถ้วนสมบูรณ์ จำนวน โครงการ
- โครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล และมีการบันทึกรายงานกิจกรรม จำนวน โครงการ
- พบปะพูดคุยและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องการดำเนินงานขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- นำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- แบ่งกลุ่ม ปฏิบัติการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระบบอิเล็คทรอนิคส์
- สรุปผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนงานและพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ตัวแทนกองทุนสุขภาพตำบลทั้ง 14 ตำบล (ตัวแทนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน, ตัวแทนกรรมการ ,รพ.สต.) รับรู้ความก้าวหน้าที่จัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการในระบบ
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำแผนงานในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลให้สมบูรณ์ จำนวน 17 แผนงาน
- ตัวแทนกองทุนดำเนินการจัดทำพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซร์ เพิ่มเติมข้อมูลและรายละเอียดให้ถ้วนสมบูรณ์ จำนวน 14 โครงการ
- มีโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน จำนวน 12 โครงการ และดำเนินการติดตามโครงการและรายงานผลการดำเนินงานในระบบ
- สรุปสถานการณ์โครงการ และแผนการดำเนินงาน
- สรุปผลการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนในระบบโปรแกรม
- จัดทำแผนการติดตามการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนในระบบให้สมบูรณ์
- สรุปผลการดำเนินงาน
- สรุปผลการดำเนินงาน 1) จัดเวทีประชุมชี้แจงรวมกับ พชอ. 5 เวที 2) จัดเวทีวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาวะเพื่อจัดทำแผน 7 เวที 3) จัดเวทีพัฒนาโครงการ 6 เวที ยังเหลือ 1 เวที พื้นที่ ทม.วารินชำราบ เลื่อนการจัดเพราะสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่วนแผนการดำเนินงานต่อไปคือการติดตามการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนในระบบโปรแกรมให้มีความสมบูรณ์
- จากการตรวจสอบข้อมูลจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนในระบบโปรแกรม พบว่า มีการจัดทำแผนทั้งหมด 91 แผนงาน มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ 13 แผนงาน ส่วนที่เหลือการกรอกข้อมูลสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์และเป้าหมายไม่ถูกต้อง และทดลองเข้าใช้โปรแกรม ในส่วนของโครงการที่พัฒนาพบข้อมูลทั้งหมด 74 โครงการ พบว่า การกรอกข้อมูลยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาไม่สอดคล้องกับกิจกรรมการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายไม่สอดคล้องกิจกรรม รายละเอียดในกิจกรรม เป็นต้น ซึ่งจะต้องเพิ่มเติมรายละเอียดให้ครบถ้วน
- แผนการติดตามการจัดทำแผน ให้พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดตรวจสอบการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการ สรุปข้อมูล ข้อเสนอแนะเพื่อให้การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการครบถ้วนสมบูรณ์ และประสานคณะทำงานระดับจังหวัดเพื่อกำหนดแผนการติดตามการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนในระบบโปรแกรม
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563
- บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
- ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ผู้เข้าร่วมประชุม (กองสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพชุมชน 3 แห่ง) ได้รับรู้รายละเอียดข้อมูลสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ในแต่ละแผนงานที่สอดคล้องแผนการจัดระบบสุขภาพในพื้นที่ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำข้อมูลเพื่อใช้มาบันทึกข้อมูลจัดทำแผนงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- ได้ข้อมูลประเด็นการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 5 แผนงาน ได้แก่ การดำเนินงานด้านตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง การดำเนินงานป้องกันโรคไข้เลือกออก วัณโรค การดำเนินงานดูแล ป้องกัน เยียวยาผู้ประสบภัยน้ำท่วม และการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19
- ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจและสามารถบันทึกพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการกองทุนฯ การบันทึกกิจกรรม และการสรุปกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการฯ
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่
- วิเคราะห์การจัดทำแผนและโครงการของกองทุนฯ ปี 2562
- วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุนฯ
- มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจำนวน 25 คน ประกอบด้วย ตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุน กปท. เทศบาลเมืองวารินชำราบ กรรมการกองทุนและผู้นำชุมชน 17 แห่ง และตัวแทนศูนย์สุขภาพชุมชน 3 แห่ง
- แนวทางการพัฒนาแผนสุขภาพของกองทุนในปี 2563 มีประเด็นสำคัญๆ ประกอบด้วย แผนงานการส่งเสริมป้องกันโรคเรื้อรัง มะเร็งปากมดลูก การส่งเสริมและป้องกันโรคไข้เลือดออก การจัดการขยะและอนามัยสิ่งแวดล้อม และการจัดการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยน้ำท่วม
- ได้ตัวแทนจากผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน สมัครเข้าร่วมพัฒานศักยภาพในการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น รวมจำนวน 10 คน
- นัดหมายจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและข้อเสนอโครงการ วันที่ 20 มีนาคม 2563
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563
- บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
- ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- มีตัวแทนกองทุนฯ (จากเทศบาลตำบล 4 แห่ง อบต. 4 แห่ง และ รพ.สต. 9 แห่ง) เข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 8 กองทุน โดยผู้เข้าร่วมทุกคนได้นำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ แผนการจัดระบบสุขภาพในพื้นที่มาบันทึกข้อมูลจัดทำแผนงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- มีการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่และพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนใน 9 แผนงาน และพัฒนาข้อเสนอโครงการได้ 13 โครงการ สร้างแผนงาน ได้แก่ แผนงานบุหรี่ (1 แผน) แผนงานอาหารและโภชนาการ (2 แผน) แผนงานกิจกรรมทางกาย (2 แผน) แผนงานโรคเรื้อรัง (3 แผน) แผนงานอนามัยแม่และเด็ก (2 แผน) แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว (1 แผน) แผนงานผู้สูงอายุ (2 แผน) แผนงานสิ่งแวดล้อม (3 แผน) แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด (2 แผน)
- ตัวแทนกองทุนฯ มีความเข้าใจและสามารถบันทึกพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการกองทุนฯ การบันทึกกิจกรรม และการสรุปกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563
- บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
- ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- มีตัวแทนกองทุนฯ (จากเทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 1 แห่ง อบต. 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง และ รพ.สต. 15 แห่ง) ที่เสนอชื่อเข้าร่วมจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ เข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 11 กองทุน โดยผู้เข้าร่วมได้นำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ แผนการจัดระบบสุขภาพในพื้นที่มาบันทึกข้อมูลลงในแผนงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- มีการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่และพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนใน 10 แผนงาน และพัฒนาข้อเสนอโครงการ จำนวน 14 โครงการ แผนงานที่ดำเนินการ ได้แก่ แผนงานสารเสพติด (่1 แผน) แผนงานอาหารและโภชนาการ (2 แผน) แผนงานกิจกรรมทางกาย (3 แผน) แผนงานโรคเรื้อรัง (2 แผน) แผนงนอุบัติเหตุ (2 แผน) แผนงานอนามันแม่และเด็ก (1 แผน) แผนงานผู้สูงอายุ (3 แผน) แผนงานสิ่งแวดล้อม (7 แผน) แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด (3 แผน)
- ตัวแทนกองทุนฯ มีความเข้าใจและสามารถบันทึกพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการกองทุนฯ การบันทึกกิจกรรม และการสรุปกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563
- บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
- ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- มีตัวแทนกองทุนฯ (จากเทศบาลตำบล 3 แห่ง อบต. 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง และ รพ.สต. 6 แห่ง) ที่เสนอชื่อเข้าร่วมจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ เข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 5 กองทุน และทุกคนสามารถนำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ แผนการจัดระบบสุขภาพในพื้นที่มาบันทึกข้อมูลลงในแผนงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- มีการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่และพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุน จำนวน 4 แผนงาน และพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนได้ 7 โครงการ แผนงานประกอบด้วย แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานโรคเรื้อรัง แผนงานผู้สูงอายุ แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
- ตัวแทนกองทุนฯ มีความเข้าใจและสามารถบันทึกพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการกองทุนฯ การบันทึกกิจกรรม และการสรุปกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563
- บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
- ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- มีตัวแทนกองทุนฯ (จากเทศบาลตำบล 3 แห่ง อบต. 3 แห่ง และ รพ.สต. 8 แห่ง) เข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 6 กองทุน ซึ่งทุกคนได้นำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ แผนการจัดระบบสุขภาพในพื้นที่มาบันทึกข้อมูลลงในแผนงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- มีการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่และจัดทำข้อเสนอโครงการกองทุนฯ จำนวน 5 แผนงาน พัฒนาข้อเสนอโครงการได้ 8 โครงการ แผนงานประกอบด้วย แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานโรคเรื้อรัง แผนงานอนามัยแม่และเด็ก แผนงานผู้สูงอายุ และแผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
- ตัวแทนกองทุนฯ มีความเข้าใจและสามารถบันทึกพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการกองทุนฯ การบันทึกกิจกรรม และการสรุปกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563
- บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
- ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- มีตัวแทนกองทุนฯ (จากเทศบาลตำบล 2 แห่ง อบต. 12 แห่ง และ รพ.สต. 9 แห่ง) ที่เสนอชื่อเข้าร่วมจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ เข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 14 กองทุน และทุกคนสามารถนำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ แผนการจัดระบบสุขภาพในพื้นที่มาบันทึกข้อมูลลงในแผนงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- มีการบันทึกข้อมูลสถานการณ์ปัยหาสุขภาวะในพื้นที่และพัฒนาโครงการกองทุน จำนวน 6 แผนงาน และพัฒนาข้อเสนอโครงการได้ 10 โครงการ แผนงานประกอบด้วย แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานโรคเรื้อรัง แผนงานผู้สูงอายุ แผนงานสิ่งแวดล้อม แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
- ตัวแทนกองทุนฯ มีความเข้าใจและสามารถบันทึกพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการกองทุนฯ การบันทึกกิจกรรม และการสรุปกิจกรรมในระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
- สรุปการกระบวนการจัดเวทีชี้แจงทีมระดับพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน
- วางแผนเตรียมจัดเวทีชี้แจงการจัดทำแผนและพัฒนาศักยภาพการจัดทำโครงการกองทุน ครั้งที่ 2
- ชี้แจงการหนุนเสริมการดำเนินงาน
- สรุปผลการจัดเวทีชี้แจงทีมระดับพื้นที่ฯ 4 จังหวัด (ยโสธร,อำนาจเจริญ,มุกดาหาร,ศรีสะเกษ) บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ มีตัวแทนกองทุนเข้าร่วมจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ ซึ่งมาจาก 2 ส่วน คือ ตัวแทนจาก อปท. และตัวแทนจากผู้รับการสนับสนุนจากกองทุน (รพ.สต.) ทุกกองทุนกำหนดประเด็นแผนงานที่จะพัฒนาโครงการกองทุนในปีงบประมาณ 2563 ได้คณะทำงาน พชอ. และนัดหมายการจัดกิจกรรมการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ ครั้งที่ 2
- ได้แผนปฏิบัติการการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ ดังนี้ ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานทบทวนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและแผนการจัดการระบบสุขภาพในพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ปี 2562-2563 บรรยาย คู่มือการใช้งานเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ระบบบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ฝึกการบันทึกข้อมูลในระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น วางแผนการติดตามและหนุนเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
- ทีมพี่เลี้ยงได้แบ่งบทบาทหน้าที่ในการจัดเวทีชี้แจงทีมระดับพื้นที่ฯ รายจังหวัดที่เหลือ ให้เหมาะสม
- บรรยายการขับเคลื่อนประเด็น พชอ. โดยนายอำเภอดงหลวง จ.มุกดาหาร
- ชี้แจงผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น สปสช. เขต 10 อุบลฯ
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการฯ
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่
- วิเคราะห์การจัดทำแผนและโครงการของกองทุนฯ ปี 2562
- วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุนฯ
- มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจำนวน 50 คน จาก 6 กองทุน ซึ่งประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบกองทุนของ อปท. กรรมการกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน ได้แก่ รพ.สต. กลุ่ม/ชมรม
- ผู้เข้าร่วมเข้าใจเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน และทุกกองทุนได้คัดเลือกแผนงานเพื่อจะพัฒนาโครงการ ดังนี้ 1. กองทุนฯ ทต.ดงหลวง ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก /พัฒนาการเด็ก/ยาเสพติด 2. กองทุนฯ อบต.หนองบัว ประเด็นพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3. กองทุนฯ ทต.กกตูม ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก 4. กองทุนฯ ทต.หนองแคน ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก 5.กองทุนฯ อบต.ชะโนดน้อย ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก 6.กองทุนฯ อบต.พังแดง ประเด็น NCD
- ได้ตัวแทนจากผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน สมัครเข้าร่วมพัฒานศักยภาพในการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ทั้ง 6 กองทุน รวมจำนวน 20 คน
- นักหมายการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและข้อเสนอเพื่อพัฒนาโครงการกองทุนฯ พื้นที่ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร วันที่ 16 มกราคม 2563 ณ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร
- บรรยายการขับเคลื่อนประเด็น พชอ. โดย สสอ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
- ชี้แจงผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น สปสช. เขต 10 อุบลฯ
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการฯ
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่
- วิเคราะห์การจัดทำแผนและโครงการของกองทุนฯ ปี 2562
- วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุนฯ
- มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจำนวน 55 คน จาก 11 กองทุน ซึ่งประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบกองทุนของ อปท. กรรมการกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน ได้แก่ รพ.สต. กลุ่ม/ชมรม
- ผู้เข้าร่วมเข้าใจเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน และทุกกองทุนได้คัดเลือกแผนงานเพื่อจะพัฒนาโครงการ ดังนี้ 1. กองทุนฯ ทม.กันทรลักษ์ ประเด็นสิ่งแวดล้อม/ผู้สูงอายุ/กิจกรรมทางกาย/โรคเรือรัง 2. กองทุนฯ อบต.ขนุน ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม (จัดการขยะ)
- กองทุนฯ อบต.บึงมะลู ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม(จัดการขยะ)/โรงเรียนผู้สูงอายุ/โรคติดต่อ (ไข้เลือดออก) 4. กองทุนฯ อบต.สังเม็ก ประเด็นป้องกันเด็กจมน้ำ 5.กองทุนฯ อบต.น้ำอ้อม ประเด็นสารเสพติด 6.กองทุนฯ อบต.รุง ประเด็นส่งเสริมทักษะป้องกันเด็กจมน้ำ 7.กองทุนฯ อบต.กระแซง ประเด็นกิจกรรมทางกาย/สิ่งแวดล้อม (ขยะ)/โรคระบาด(ไข้เลือดออก ปากเท้าเปือย) /อาหารและโภชนาการ 8.กองทุนฯ ทต.สวนกล้วย ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดการขยะ/ไข้เลือดออก 9.กองทุนฯ อบต.ภูผาหมอก ประเด็นพัฒนาการเด็ก อนามัยแม่และเด็ก 10.กองทุนฯ อบต.เสาธงชัย ประเด็นโรคเรื้อรัง/กิจกรรมทางกาย/สิ่งแวดล้อม 11.กองทุนฯ อบต.ทุ่งใหญ่ ประเด็นกิจกรรมทางกาย
- ได้ตัวแทนจากผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน สมัครเข้าร่วมพัฒานศักยภาพในการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ทั้ง 11 กองทุน รวมจำนวน 35 คน
- นัดหมายจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและข้อเสนอโครงการ พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ วันที่ 20 มกราคม 2563
- บรรยายการขับเคลื่อนประเด็น พชอ. โดยนายอำเภอหนองสูง จ.มุกดาหาร
- ชี้แจงผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น สปสช. เขต 10 อุบลฯ
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการฯ
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่
- วิเคราะห์การจัดทำแผนและโครงการของกองทุนฯ ปี 2562
- วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุนฯ
- มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจำนวน 45 คน จาก 5 กองทุน ซึ่งประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบกองทุนของ อปท. กรรมการกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน ได้แก่ รพ.สต. กลุ่ม/ชมรม
- ผู้เข้าร่วมเข้าใจเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน และทุกกองทุนได้คัดเลือกแผนงานเพื่อจะพัฒนาโครงการ ดังนี้ 1. กองทุนฯ ทต.ภูวง ประเด็นการป้องกันอุบัติเหตุเด็กจมน้ำ /กิจกรรมทางกาย 2. กองทุนฯ อบต.โนนยาง ประเด็นสุรานำมาสู่ปัญหาอุบัติเหตุ/พัฒนาการเด็ก หมู่บ้านปลอดเหล้า/กิจกรรมทางกาย 3. กองทุนฯ ทต.หนองสูงเหนือ ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม/NCD/กิจกรรมผู้สูงอายุ/พัฒนาการเด็ก 4. กองทุนฯ อบต.หนองสูงใต้ ประเด็น NCD/ อนามัยแม่/คัดกรองมะเร็งปากมดลูก/กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ 5.กองทุนฯ ทต.บ้านเป้า ประเด็นส่งเสริมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ /ฟันในเด็ก / อนามัยแม่และเด็ก/มะเร็งปากมดลูก
- ได้ตัวแทนจากผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน สมัครเข้าร่วมพัฒานศักยภาพในการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ทั้ง 5 กองทุน รวมจำนวน ่15 คน
- นัดหมายการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯ พื้นที่ อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร วันที่ 17 มกราคม 2563 ณ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
- บรรยายการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- ชี้แจงผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น สปสช. เขต 10 อุบลฯ
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการฯ
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่
- วิเคราะห์การจัดทำแผนและโครงการของกองทุนฯ ปี 2562
- วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุนฯ
- มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจำนวน 83 คน จากพื้นที่ 8 กองทุน ซึ่งประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบกองทุนของ อปท. กรรมการกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน ได้แก่ รพ.สต. โรงเรียน กลุ่ม/ชมรม
- ผู้เข้าร่วมจากทุกกองทุนเข้าใจเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน และทุกกองทุนได้คัดเลือกแผนงานเพื่อจะพัฒนาโครงการ ดังนี้ 1. กองทุนฯ ทต.ปทุมราชวงศา ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม(การจัดการขยะ) 2. กองทุนฯ ทต.นาป่าแซง ประเด็นการจัดการขยะและโรคเรื้องรัง 3. กองทุนฯ ทต.ห้วย ประเด็นการจัดการขยะ ,อุบัติเหตุทางถนน ,NCD ,ผู้สูงอายุ ,พยาธิใบไม้ตับ,คุ้มครองผู้บริโภค,โรคติดต่อ(ไข้เลือดออก) 4. กองทุนฯ ทต.หนองข่า ประเด็นโรคเรื้อรัง NCD,อุบัติเหตุ,ผู้สูงอายุ,อนามัยแม่และเด็ก,ภัยพิบัติ(โรคระบาด) ,กลุ่มความเสี่ยง(สารเคมี,การออกกำลังกาย) 5.กองทุนฯ อบต.คำโพน ประเด็นกิจกรรมทางกาย,ควบคุมป้องกันโรคระบาด,NCD,อุบัติเหตุทางถนน,คุ้มครองผู้บริโภค 6.กองทุนฯ อบต.นาหว้า ประเด็นการจัดการขยะ,การจัดการอุบัติเหตุ,คุ้มครองผู้บริโภค,โรคระบาด(ไข้เลือดออก) 7.กองทุนฯ อบต.โนนงาม ประเด็นการจัดการอุบัติเหตุ,คุ้มครองผู้บริโภค,NCD 8.กองทุนฯ อบต.ลือ ประเด็นโรคเรื้อรัง NCD ขยะ ไข้เลือดออก กิจกรรมทางกาย ผู้สูงอายุ(กิจกรรมทางกาย+สุขภาพ) คัดกรองกลุ่มเสี่ยง อาชีวะอนามัย พัฒนาการเด็ก แพทย์แผนไทย สุขภาพช่องปาก(วัยทำงาน) สุขภาพจิต
- ได้ตัวแทนจากผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน สมัครเข้าร่วมพัฒานศักยภาพในการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ทั้ง 8 กองทุน รวมจำนวน 29 คน
- นัดหมายจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการ พื้นที่อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ วันที่ 24 มกราคม 2563
- บรรยายการขับเคลื่อนประเด็น พชอ.
- ชี้แจงผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น สปสช. เขต 10 อุบลฯ
- ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการบูรณาการฯ
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่
- วิเคราะห์การจัดทำแผนและโครงการของกองทุนฯ ปี 2562
- วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุนฯ
- มีผู้เข้าร่วมประชุมรวมจำนวน 93 คน จาก 14 กองทุน ซึ่งประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบกองทุนของ อปท. กรรมการกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน ได้แก่ รพ.สต. กลุ่ม/ชมรม
- ผู้เข้าร่วมเข้าใจเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน และทุกกองทุนได้คัดเลือกแผนงานเพื่อจะพัฒนาโครงการ ดังนี้ 1. กองทุนฯ ทต.คำเขื่อนแก้ว ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. กองทุนฯ ทต.ดงแคนใหญ่ ประเด็นโรคเรื้อรัง 3. กองทุนฯ อบต.ลุมพุก ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. กองทุนฯ อบต.ย่อ ประเด็นอาหารและโภชนาการ 5.กองทุนฯ อบต.สงเปือย ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อมและโรคเรื้อรัง 6.กองทุนฯ อบต.โพนทัน ประเด็นอนามัยแม่และเด็ก 7.กองทุนฯ อบต.ทุ่งมน ประเด็นกิจกรรมทางกายและโรคเรื้อรัง 8.กองทุนฯ อบต.นาคำ ประเด็นกลุ่มเสี่ยง โรคเรื้อรัง และอนามัยสิ่งแวดล้อม 9.กองทุนฯ อบต.กู่จาน ประเด็นแผนงานกิจกรรมทางกาย 10.กองทุนฯ อบต.นาแก ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม 11.กองทุนฯ อบต.กุดกุง ประเด็นโรคเรื้อรัว 12.กองทุนฯ อบต.เหล่าไฮ ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม 13.กองทุนฯ อบต.แคนน้อย ประเด็นอยามัยแม่และเด็ก โรคเรื้องรัง 14.กองทุนฯ อบต.ดงเจริญ ประเด็นอนามัยสิ่งแวดล้อม
- ได้ตัวแทนจากผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอรับงบประมาณจากกองทุน สมัครเข้าร่วมพัฒานศักยภาพในการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ทั้ง 14 กองทุน รวมจำนวน 30 คน
- นัดหมายจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและข้อเสนอโครงการ วันที่ 17 ธันวาคม 2562
- ชี้แจงแผนการดำเนินงาน
- จัดทำแผนการดำเนินงานและกลไกการหนุนเสริมและติดตาม
- วางแผนเตรียมกระบวนการจัดเวทีประชุมชี้แจงทีมระดับเขตพื้นที่ฯ
- สรุปผลการประชุมและนัดหมายการดำเนินงาน
- ทีมพี่เลี้ยงมีความเข้าใจเป้าหมายการดำเนินงาน รับรู้พื้นที่เป้าหมายและกองทุนฯ เป้าหมาย และบทบาทหน้าที่การเป็นพี่เลี้ยง
- ได้ทีมพี่เลี้ยงติดตามหนุนเสริมแต่ละจังหวัด ได้แก่ 1. ดร.พิสมัย ศรีเนตร เป็นพี่เลี้ยงประจำจังหวัดอุบลราชธานี 2. นายวินัย วงศ์อาสา เป็นพี่เลี้ยงประจำจังหวัดศรีสะเกษ 3. นางสาวดวงมณี นารีนุช เป็นพี่เลี้ยงประจำจังหวัดมุกดาหาร 4. นายรพินทร์ ยืนยาว เป็นพี่เลี้ยงประจำจังหวัดอำนาจเจริญ และ 5. นายสงกา สามารถ เป็นพี่เลี้ยงประจำจังหวัดยโสธร
- แผนการดำเนินงานจัดประชุมชี้แจงทีมระดับพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน มีขั้นตอนการดำเนินงานหลักๆ ดังนี้ การชี้แจงรายละเอียดโครงการ การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาวะในพื้นที่ วิเคราะห์การจัดทำแผน/โครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น วางแผนการพัฒนาโครงการกองทุน
- ชี้แจงการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น โดย สปสช. เขต 10 อุบลฯ
- ชี้แจงโครงการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่
- วางแผนการจัดประชุมชี้แจงทีมระดับพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน รายจังหวัด
- สรุปผลการดำเนินงาน
- คณะทำงานเข้าใจเป้าหมายโครงการ และรู้บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
- สาธารณสุขอำเภอพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน และจะไปสรรหาคณะทำงานในระดับพื้นที่ พชอ. เพิ่มเติม และจะนำผลการประชุมเสนอประธาน พชอ. (นายอำเภอ) เพื่อเชิญร่วมเป็นคณะทำงานและเข้าร่วมประชุมชี้แจงทีมระดับพื้นที่ฯ
3.ได้แผนการจัดประชุมชี้แจงทีมระดับพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจเข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน ดังนี้
1. วันที่ 4 ธันวาคม 2562 ประชุมฯ กองทุนพื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 2. วันที่ 11 ธันวาคม 2562 ประชุมฯ กองทุนพื้นที่ อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ 3. วันที่ 12 ธันวาคม 2562 ประชุมฯ กองทุนพื้นที่ อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร 4. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 ประชุมฯ กองทุนพื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 5. วันที่ 16 ธันวาคม 2562 ประชุมฯ กองทุนพื้นที่ อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร
6. กองทุน ทม.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี (ยังไม่กำหนดวัน) อยู่ระหว่างการประสาน