เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปผลและบทเรียนการดำเนินงาน
ตัวแทน สสอ. ตัวแทน รพ.สต. ตัวแทน อปท. กองทุน
มีการพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในการทำแผนงานโครงการและติดตามประเมินผล
ติดตามการพัฒนาโครงการ การดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยงและการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการ
มีขบวนการติดตามในพื้นที่และมีการบันทึกแผนงานโครงการกองทุนที่ทำงานได้ดี
พัฒนาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการสู่วาระอำเภอ
กองทุนบันทึกแผนงานโครงการอย่างน้อย 3 โครงการ ผลลัพธ์มีการบันทึกแผนงานโครงการจนถึงติดตามโครงการ ไม่ต่ำกว่า 3 โครงการ
การติดตามการพัฒนาโครงการ การดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยงและการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการ
มีขบวนการติดตามในพื้นที่ และมีการบันทึกแผนงานโครงการ กองทุนที่ทำงานได้ดี
พัฒนาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการสู่วาระอำเภอ และการบันทึกแผนงานโครงการ
แต่ละกองทุนมีการบันทึกแผนงานโครงการอย่างน้อย 3 โครงการ ผลลัพธ์มีการบันทึกแผนงาน โครงการจนถึงติดตามโครงการ ไม่ต่ำกว่า 3 โครงการ
การพัฒนาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการสู่วาระอำเภอ
แต่ละกองทุนบันทึกแผนงานโครงการอย่างน้อย 3 โครงการ ผลลัพธ์มีการบันทึกแผนงานโครงการตลอดจนถึงติดตามโครงการ ไม่ต่ำกว่า 3 โครงการ
การพัฒนาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการสู่วาระอำเภอ
แต่ละกองทุนบันทึกแผนงานโครงการอย่างน้อย 3 โครงการจนถึงติดตามโครงการ
พัฒนาแนวทางในการยกระดับแผนงานโครงการสู่วาระอำเภอ
มีการบันทึกแผนงานโครงการอย่างน้อย 3 โครงการจนถึงติดตามโครงการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์ และบันทึกแผนงานโครงการ
เพื่อการบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูลกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ มีการบันทึกแผนงานโครงการที่มีคุณภาพที่ครบถ้วนและสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ชี้แจงการดำเนินงานและการฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการ
กิจกรรมชี้แจงโครงการ และฝึกปฏิบัติการบันทึกแผนงานโครงการ
ผลลัพธ์ ในระหว่างการฝึกปฏิบัติมีการซักถาม และผู้เข้าร่วมประชุมให้ความสนใจ และได้ทดลองบันทึกโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุน
ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต(พชอ.)ระดับอำเภอ ระดับตำบล(พชต.) และพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงาน โครงการ
ผลผลิต วิเคราะห์ปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา
ผลลัพธ์ พัฒนาศักยภาพผู้จัดทำโครงการ ได้แผนงาน โครงการ ที่มีประสิทธิภาพ
ประชุมชี้แจงนโยบายแก่คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(พชอ.) คณะทำงานบริหารจัดการกองทุนเพื่อเชื่อมโยงบูรณาการ
ผลผลิต ชี้แจงนโยบายคณะกรรมการ พชอ. อนุกรรมการ พชอ.
ผลลัพธ์ การเชื่อมโยงการดำเนินงานแบบบูรณาการ
ประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพการเขียนแผนงาน / โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ผลผลิต เพื่อทราบสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่และพัฒนาศักยภาพการเขียนแผนงาน โครงการ ผลลัพธ์ ผู้ขอรับการสนับสนุนสามารถเขียนแผนงาน โครงการ และบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์ได้
ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานพื้นที่ในการทำแผนและพัฒนาข้อเสนอโครงการ
ผลผลิต คณะกรรมการ คณะทำงาน รับทราบการจัดทำแผนและข้อเสนอโครงการ ผลลัพธ์ มีความรู้เรื่องแนวททางการจัดทำโครงการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุน
ประชุมการปฏิบัติการลงบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการในเว็บไซต์
ผลผลิต ผู้รับผิดชอบกองทุนตัวแทน รพ.สต.รับรู้และสามารถบันทึกแผนงานโครงการ ผลลัพธ์ มีการใช้เว็บไซต์ในการพัฒนาแผนงานโครงการโดยผู้รับผิดชอบกองทุน
ประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงนโยบายความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ และพัฒนาศักยภาพการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการ
มีการรับรู้เกี่ยวกับโครงการและพื้นที่เป้าหมายยินดีเข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ เกิดการพัฒนาคุณภาพโครงการ และมีการใช้เว็บไซต์ในการพัฒนาแผนงานโครงการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงนโยบายความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ และพัฒนาศักยภาพการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการ
มีการรับรู้เกี่ยวกับโครงการและพื้นที่เป้าหมายยินดีเข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ เกิดการพัฒนาคุณภาพโครงการ และมีการใช้เว็บไซต์ในการพัฒนาแผนงานโครงการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานพื้นที่ในการทำแผนและข้อเสนอโครงการ
ผลผลิต คณะกรรมการ พชอ. ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน รพ.สต. PCU อนุกรรมการ พชอ.รับรู้รับทราบโครงการ ผลลัพธ์ มีการเชื่อมโยงบูรณาการดำเนินงานมีข้อตกลงร่วมกันพัฒนาแผนงานโครงการเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนแผนงานโครงการ
ประชุมทีมปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการกองทุนผ่านระบบออนไลน์
ผลผลิต ผู้รับผิดชอบบันทึกข้อมูลของกองุทน และ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. สามารถลงบันทึกแผนงาน โครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ คาดหวังมีการใช้เว็บไซต์ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ
ประชุมทีมระดับเขตติดตามแผนงานโครงการและการลงบันทึกโครงการในระบบออนไลน์
รับผู้และเข้าใจต่อการดำเนินงานของโครงการ ผลลัพธ์ เกิดแผนปฏิบัติงานในแต่ละจังหวัดทีมงานสามารถบันทึกข้อมูลและสามารถไปถ่ายทอดต่อได้
ประชุมร่วมกับทีมระดับพื้นที่ในการจัดทำแผนพัฒนาข้อเสนอโครงการ
พื้นที่จัดทำแผนงบประมาณ
ผลลัพธ์ มีการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ตอบสนองต่อเป้าหมายของโครงการ
ประชุมร่วมกับทีมพื้นที่ในการจัดทำแผนพัฒนาข้อเสนอโครงการ
ได้จัดทำแผนงบประมาณ ผลลัพธ์ มีการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ที่ตอบสนองต่อเป้าหมายของโครงการ
ประชุมพัฒนาแผนปฏิบัติงานสนับสนุนการพัฒนาแผนงานโครงการ ครั้งที่2
ผลผลิต ทบทวนแผนติดตามการดำเนินงาน ผลลัพธ์ ได้แผนปฏิบัติการรายพื้นที่ในการดำเนินกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพในระดับพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมการดำเนินงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงานโครงการ (พื้นที่ที่ท้องถิ่นรับถ่ายโอน รพ.สต.)
ผผลิต การสร้างการรับรู้และเข้าใจกระบวนการพัฒนาแผนงานและการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการลงในเว็บไซต์ของกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ มีการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการที่ขอทุนสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลนาพู่
ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการผ่านระบบออนไลน์ และเรียนรู้การใช้โปรแกรมผ่านเวบไซต์
ผลผลิต ผู้รับผิดชอบกองทุนและตัวแทน รพ.สต. รับรู้ รับฟัง และสามารถบันทึกแผนงานโครงการเพื่อขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ คาดหวังมีการใช้เวบไซต์ในการพัฒนาแผนงานโครงการโดยตัวแทน รพ.สต.และมีการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการโดยผู้รับผิดชอบกองทุน
ประชุมพัฒนาแผนงานโครงการผ่านระบบออนไลน์ และเรียนรู้การใช้โปรแกรมผ่านเวบไซต์
ผลผลิต ผู้รับผิดชอบกองทุนและตัวแทน รพ.สต. รับรู้ รับฟัง และสามารถบันทึกแผนงานโครงการเพื่อขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล ผลลัพธ์ คาดหวังมีการใช้เวบไซต์ในการพัฒนาแผนงานโครงการโดยตัวแทน รพ.สต.และมีการบันทึกข้อมูลแผนงานโครงการโดยผู้รับผิดชอบกองทุน
ประชุมพัฒนาคุณภาพโครงการ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการ พชอ. คณะกรรมการกองทุน และเลขานุการกองทุน ตัวแทนกองุทนและทีมพี่เลี้ยง
ผลผลิต ชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงานของ พชอ. โดยการรับรู้และเข้าร่วม และต่อยอด ผลลัพธ์ มีการได้มาซึ่งโครงการ และได้นำโครงการที่ทำอยู่มาต่อยอดจนสามารถที่จะทำต่อได้
การประชุมcoaching ทีมระดับพื้นที่จังหวัดเลย เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมการดำเนินงาน และพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการสุขภาวะประชาชนโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น และกรรมการ พชอ.
ผลผลิต มีการรับรู้เรื่องโครงการกลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการพชอ. ประธานกองทุน เลขานุการกองทุน เลขานุการคณะกรรมการ พชต. โรงเรียน ในพื้นที่เป้าหมาย รับรู้โครงการและยินดีเข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์ มีข้อตกลงร่วมกันว่าจะพัฒนาคุณภาพแผนงานโครงการให้มีความเชื่อมโยงกับวาระประเด็น พชอ.เพื่อให้เกิดพลังในการขับเคลื่อน
แนะนำวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ แลกเปลี่ยนสถานการณ์การดำเนินงานการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ หารือการจัดทำแผนในพื้นที่
ผลผลิต กลุมเป้าหมายมาไม่ครบตามจำนวน ขาด 2 พื้นที่
ผลลัพธ์ กลุ่มที่มามาครั้งแรกทำให้เกิดกระบวนการสร้างความเข้าใจ
ได้เห็นกระบวนการการทำงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีมงาน พชอ.แต่ละพื้นที่