สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1 ”

เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง แม่ฮ่องสอน ลำพูน แพร่ น่าน พะเยา

หัวหน้าโครงการ
สุวิทย์ สมบัติ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1

ที่อยู่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง แม่ฮ่องสอน ลำพูน แพร่ น่าน พะเยา จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง แม่ฮ่องสอน ลำพูน แพร่ น่าน พะเยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1 " ดำเนินการในพื้นที่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง แม่ฮ่องสอน ลำพูน แพร่ น่าน พะเยา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 995,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.ของกองทุนตำบลตามบริบทพื้นที่ดังนี้

  1. นำร่องในพื้นที่กองทุนตำบลของอปท.ที่มีการดำเนินการร่วมกับพชอ.5 จังหวัดๆละ 1 อำเภอ ๆละ 9-11 กองทุน รวม 51 กองทุน คือ แพร่ น่าน ลำพูน พะเยาและแม่ฮ่องสอน
  2. ดำเนินการในพื้นที่เทศบาลขนาดใหญ่ 2 จังหวัดคือเทศบาลนครลำปางและเชียงรายและ
  3. ดำเนินการกองทุนตำบลในรพสต.ถ่ายโอนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 1 แห่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่เป้าหมายในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
  2. ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
  2. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
  3. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
  4. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1
  5. การประชุม coaching ทีมระดับเขต เขต 1 เชียงใหม่
  6. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จังหวัดน่าน ครั้งที่1
  7. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่1
  8. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ลี้ จังหวัดลำพูน ครั้งที่1
  9. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยาครั้งที่1
  10. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนครั้งที่1
  11. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่รพสต.สันนาเม็ง อ.สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ครั้งที่1
  12. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครเชียงราย ครั้งที่1
  13. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครลำปาง ครั้งที่1
  14. การประชุมเชิงปฎิบัติการสาธิตและพัฒนาทักษะในการบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่ใน8 พื้นที่เขต1ครั้งที่2
  15. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอร้องกวางจ.แพร่ครั้งที่2
  16. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลตำบลสันนาเม็ง อำเภอสันทราย จ.เชียงใหม่ครั้งที่ 2
  17. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเมือง จ.พะเยา ครั้งที่ 2
  18. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเวียงสา จ. น่าน ครั้งที่2
  19. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอลี้ จ.ลำพูน ครั้งที่2
  20. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอแมาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน ครั้งที่2
  21. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง ครั้งที่2
  22. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครเชียงราย จ.เชียงราย ครั้งที่2
  23. การประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาแผน การบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง
  24. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จ.น่าน
  25. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผน ข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยา
  26. การประชุมเชิงปฎิบัติการในการบันทึกแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่รพสต.โอนย้ายตำบลสันนาเม็งอ.สันทรายจ.เชียงใหม่
  27. การประชุมเชิงปฏิบัติการcoachingทีมระดับเขตและพื้นที่ในการติดตามและประเมินผลโครงการของพื้นที่โดยใช้โปรแกรมออนไลน์
  28. การติดตามแผนและโครงการ การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปผลการทำงานของแต่ละพื้นที่ของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่นที่รับโอนรพ.สต. ในพื้นที่ 8 จังหวัด
  29. การติดตามแผนและโครงการของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่น. ในพื้นที่ เขต1
  30. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและทบทวนแผนการทำงานของแต่ละพื้นที่เขต1 อำเภอร้องกวาง จ.แพร่
  31. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการพื้นที่เขต1เทศบาลสันนาเม็ง อ.สันทรายจ.เชียงใหม่
  32. การประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1ในทีมระดับเขตและพื้นที่
  33. การถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดรูปแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพในองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในภาคเหนือตอนบน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุม coaching ทีมระดับเขต เขต 1 เชียงใหม่

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 2.อธิบายรายละอียดวิธีการจัดทำแผน รายละอียดการบันทึกสถานการณื วัตถุประสงค์ ที่มาของข้อมูลที่จะบันทึก และการพัฒนาโครงการในโปรแกรมonline โดยพี่เลี้ยงเขต 3.สาธิตการเข้าถึงโปรแกรม การบันทึกการพัฒนาแผนและพัฒนาโครงการ 4.ฝึกปฏิบัติการบันทึกกการทำแผนและพัฒนาโครงการรายบุคคลโดยทีมพี่เลี้ยงเขตช่วย 5.การจัดทำแผนการลงพื้นที่เพื่อประชุมชี้แจงทีมระดับพื้นที่ให้เข้าใจภาพรวมการดำเนินงานและcoaching

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมครบทุกจังหวัดตามเป้าหมายที่กำหนด 2.ผู้เข้าร่วมประชุมยินดีเข้าร่วมโครงการและเข้าใจกระบวนในการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการแบบonline 3.มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมและเกิดแผนปฏิบัติการในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่อเนื่ง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

2. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จังหวัดน่าน ครั้งที่1

วันที่ 14 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.รองนายกเทศมนตรีกล่าวต้อนรับและให้ข้อมูลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของเทศบาลตำบลเวียงสา2.ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.อธิบายรายละเอียดวิธีการจัดทำแผน รายละอียดการบันทึกสถานการณ์ วัตถุประสงค์ ที่มาของข้อมูลที่จะบันทึก และการพัฒนาโครงการในโปรแกรมonline โดยพี่เลี้ยงเขต 3.สาธิตการเข้าถึงโปรแกรม การบันทึกการพัฒนาแผนและพัฒนาโครงการ 4.แจ้งUsernameและPasswordให้แก่พิ้นที่และฝึกปฏิบัติการบันทึกการทำแผนและพัฒนาโครงการรายบุคคลโดย ทีมพี่เลี้ยงเขต 5.การจัดทำแผนการcoachingของพื้นที่เพื่อหนุนเสริมในการบันทีกแผน และการพัฒนาโครงการลงในโปรแกรมโดยทีมระดับพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมการกิจกรรมครบทั้ง 11 แห่ง ผู้เข้าร่วมทุกคนสามารถเข้าถึงโปรแกรมได้ทุกคนและมีตัวแทนกรรมการพชอ.เข้าร่วมประชุม ทดลองใช้โปรแกรมและแสดงความจำนงจะขออนุญาติอีก6 รพสต.และ 3 กองทุนเข้าร่วมกิจกรรมในคราวต่อไปและขอทีมพี่เลี้ยงพื้นที่ให้คำแนะนำกลุ่มที่จะขออนุญาตเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่ม

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

45 0

3. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่1

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงนโยบายพชอ.ร้องกวางโดยผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ นำเสนอวัตุประสงค์โครงการแนวทางการดำเนินการของโครงการโดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงสาธิตการบันทึการทำแผนทั้ง5 แผนและการพัฒนาโครงการโดยใช้โปรแกรมออนไลน์และฝึกปฎิบัติการบันทึกกการทำแผนและพัฒนาโครงการโดยมีพี่เลี้ยงในระดับเขตและพื้นที่ร่วมดูแล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมครบทั้ง 11 แห่ง กลุ่มเป้าหมายสามารถบันทึกการทำแผนและพัฒนาโครงการได้และมีการร่างแผนการติดตามของทีมพี่เลี่ยงในพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

50 0

4. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ลี้ จังหวัดลำพูน ครั้งที่1

วันที่ 24 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้อำนวยการโรงพยาบาลลี้กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม 2. สสอ.ลี้ นำเสนอนโยบายของพชอ.ลี้ 3.ชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายการการบูรณาการขับเคลื่อนการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ 4.นำเสนอระเบียบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สาธิตการวางแผนการทำงาน การพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 5.ฝึกปฏิบัติบันทึกจัดทำแผน การพัฒนาโครงการในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในโปรแกรมออนลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและพื้นที่ 6. วางแผนการเสริมพลังและการติดามของพี่เลี้ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมครบทุกแห่ง 2. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถบันทึกข้อมูลการทำแผน และการพัฒนาโครงการเข้าในโปรแกรมได้ 3. มีการจัดทำแผนติดตามเสริมพลังของพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

55 0

5. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยาครั้งที่1

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นายกเทศมนตรีตำบลต๋อม กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม 2.ผช.สสอ เมืองนำเสนอนโยบายของพชอ.เมือง 3.ชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายการการบูรณาการขับเคลื่อนการ
โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ 4.นำเสนอระเบียบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สาธิตการวางแผนการทำงาน การพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 5.ฝึกปฏิบัติบันทึกจัดทำแผน การพัฒนาโครงการในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในโปรแกรมออนไลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและพื้นที่ 6. วางแผนการเสริมพลังและการติดามของพี่เลี้ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายมาเข้าร่วมเพิ่มจากเป้าหมายอีก 3แห่ง และให้ทดลองบันทึดข้อมูลสามารถทำได้ทุกแห่ง นอกกลุ่มเป้าหมายอีก 3แห่งขอเข้าร่วมโครงการ 2.มีการทำแผนการเสริมพลังและการติดามของพี่เลี้ยงในพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

55 0

6. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนครั้งที่1

วันที่ 14 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.สสอ.แม่ลาน้อยกล่าวต้อนรับนำเสนอนโยบายของพชอ.แม่ลาน้อย 2.พี่เลี้ยงจังหวัดชี้แจงและนำเสนอระเบียบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงและประชาสัมพันธ์รายละเอียดการเข้าร่วมกองทุนฟื้นฟูของแม่ฮ่องสอนในเรื่องระเบียบและแนวทางการสนับสนุนงบของกองทุนนี้และซักถามปัญหาอุปสสคในการดำเนิงานของกองทุนฯในอำเภอแม่ลาน้อย 3.ชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายการการบูรณาการขับเคลื่อนการ
โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ 4.ให้ความรู้เรื่องแนวทางการทำแผน การทำโครงการ รายละเอียดที่มาการเก็บข้อมูลสถานการณ์ สาธิตการทำแผน  การพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 5.ฝึกปฏิบัติบันทึกจัดทำแผน การพัฒนาโครงการในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในโปรแกรมออนไลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและพื้นที่ 6. วางแผนการเสริมพลังและการติดดามของพี่เลี้ยงในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 9 กองทุน 2.ตัวแทนแต่ละกองทุนมีความเข้าใจการจัดทำแผน แนวทางการพัฒนาโครงการและสามารถบันทึกข้อมูลในโปรแกรรมได้ 3.สสอ.ซักถามกระบวนการในการใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการ และขอความร่วมมือทุกแห่งให้บันบันทึกข้อมูลเข้าโปรแกรมให้ครบทุกแห่ง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

42 0

7. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่รพสต.สันนาเม็ง อ.สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ครั้งที่1

วันที่ 24 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้บริหารเทศบาลตำบลสันนาเม็งกล่าวต้อนรับและชี้แจงการดำเนินงานของกองทุนตำบลในรอบปีที่ผ่านมา
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงที่มา วัตถุประสงค์และ แนวทางในการดำเนินงานของโครงการ
  3. ชี้แจงแนวทางการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ โครงสร้างของโปรแกรมonlineโดยพี่เลี้ยงเขต
  4. แบ่งกลุ่มฝากการจัดทำแผน กิจกรรมทางกายและอาหารและโภชนาการโดยมีทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ เป็นที่ปรึกษาภายในกลุ่ม
  5. ทดลองบันทึกแผนและพัฒนาโครงการ
  6. ทบทวนแนวทางการบันทึกการจัดทำแผนและการพัฒนาโครงการในโปรแกรมonlineแก่ทีมพี่เลี้ยงพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมมีความครอบคลุมทั้ง ตัวแทนพชอ.จากสสอ ผอรพสต. ผู้รับผิดชอบโครงการทั้งของเทศบาลและรพสต กรรมการกองทุน กรรมการกลั่นกรองโครงการ ผู้เสนอโครงการ และผู้นำชุมชน ให้ความสนใจซักถามการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ และมีการ และมีการนัดหมายให้ทีมพี่เลี้ยงในพื้นที่ซักซ้อมและรวมกลุ่มโครงการที่เหลือกรอกข้อมูลต่อไป

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

8. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครเชียงราย ครั้งที่1

วันที่ 28 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

28มกราคม 2563 มีกระบวนการดังนี้

  1. รองนายกเทศมนตรีนครเชียงรายกล่าวต้อนรับและให้ข้อมูลการดำเนินงานของด้านสาธารณสุขของเทศบาล
  2. ชี้แจงภาพรวมการดำเนินกิจกรรมของโครงการ ที่มาของการดำเนินการโครงการ การจัดทำแผนการส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ
  3. ชี้แจงการจัดทำแผน การทำโครงการการ โครงสร้างของโปรแกรมonline ในการทำแผน และการเสนอโครงการ พัฒนาโครงการโดยพี่เลี้ยงเขต
  4. สาธิตการบันทึกการจัดทำแผนการพัฒนาโครงการ
  5. แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มทำแผนทั้ง 5 แผน และฝึกปฎิบัติการบันทึกโปรแกรม โดยมีพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ร่วมดูแล
  6. ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการ
  7. ตรวจสอบการบันทึกและอธิบายซำ้
  8. นัดหมายการติดตามเสริมพลังของทีมพี่เลี้ยง
  9. เจ้าหน้าที่ให้ความรู้และร่วมรณรงค์เรื่องการกินร้อนซ้อนกลาง การล้างมือและการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อทางเดินหายใจโคโรน่าไวรัส

29มกราคม 2563 มีกระบวนการดังนี้

  1. สมาชิกสภาเทศมนตรีนครเชียงรายกล่าวต้อนรับ พบปะผู้เข้าร่วมประชุมและร่วมสังเกตการณ์กระบวนการ
  2. ชี้แจงภาพรวมการดำเนินกิจกรรมของโครงการ ที่มาของการดำเนินการโครงการ การจัดทำแผนการส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ
  3. ชี้แจงการจัดทำแผน การทำโครงการการ ภาพรวมโครงสร้างของโปรแกรมonline ในการทำแผน และการเสนอโครงการ พัฒนาโครงการโดยพี่เลี้ยงเขต
  4. สาธิตการบันทึกการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการในโปรแกรม
  5. แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มทำแผนทั้ง 5 แผน และฝึกปฎิบัติการบันทึกโปรแกรม โดยมีพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ร่วมดูแล
  6. ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการ
  7. ตรวจสอบการบันทึกและอธิบายซำ้
  8. นัดหมายการติดตามเสริมพลังของทีมพี่เลี้ยง
  9. เจ้าหน้าที่ให้ความรู้และร่วมรณรงค์เรื่องการกินร้อนช้อนกลาง การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยและการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อทางเดินหายใจโคโรน่าไวรัส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

28มค.2563 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมครอบคลุมตามกำหนด ประกอบด้วยประธานอสม. 30 ชุมชน กรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการทดลองทำแผนครอบคลุมทั้ง 5 แผน กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่สามารถทดลองบันทึกการทำแผนและการพัฒนาโครงการ กิจกรรมได้ 29มค.2563 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมครอบคลุมตามกำหนด ประกอบด้วยประธานอสม. 35 ชุมชน กรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในรพสต.ในเครือข่ายของเทศบาลให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการทดลองทำแผนครอบคลุมทั้ง 5 แผน กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่สามารถทดลองบันทึกการทำแผนและการพัฒนาโครงการ กิจกรรมได้

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo แบ่งกลุ่มแบ่งกลุ่ม
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

126 0

9. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครลำปาง ครั้งที่1

วันที่ 30 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.แนะนำตัวแทยผู้บริหารและนายกเทศมนตรีนครลำปางกล่าวต้อนรับและให้ข้อมูลสภาพปัญหาของเทศบาลนครลำปางพบว่า มีฝุ่นควัน น้ำเน่าและผลกระทบในการท่องเที่ยวและด้านสุขภาพของคนในชุมชนจากโรคโคโรน่าไวรัส  แนวทางและช่วงเวลาในการเสนอโครงการ  2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความเป็นมาของโครงการ รูปแบบการสนับสนุนกิจกรรมในโครงการโดยผู้รับผิดชอบโครงการ  3.พี่เลี้ยงเขตอธิบายแนวทางการจัดแผนงาน รายละเอียดความเชื่อมโยงในการพัฒนาโครงการ 4.อธิบายภาพรวมโครงสร้างการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการในโปรแกรมonlineที่จะอำนวยความสะดวกในการทำงานเมื่อนำไปใช้โดยพี่เลี้ยงเขต  5.แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ทดลองบันทึกแผนงาน ทั้ง 5 แผน และพัฒนาโครงการ  โดยมีพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงในพนที่ร่วมดูแล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมครอบคลุมตามกลุ่มที่กำหนดคือกรรมการกองทุน ประธานชุมชน ประธานชมรมสูงอายุ ตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชน 45 ชุมชน  เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของเทศบาล และโรงพยาบาลศูนย์  กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจทดลองบันทึก ซักถาม การใช้โปรแกรม และส่วนใหญ่สามารถบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนและการพัฒนาดครงการ รวมทั้งมีความเข้าใจในการใช้ข้อมูลลบันทึกในส่วนของสานการณ์ ได้แผนงานโครงการในพื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

112 0

10. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอร้องกวางจ.แพร่ครั้งที่2

วันที่ 2 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมาย10 พีืนที่ให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตามโดย

  1. ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงาน โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ทบทวนการทำแผนงานปัจจัยเสี่ยง 6แผนคือ แอลกอฮอล์ ยาสูบยาเสพติด อาหารและโภชนาการ 1. และพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขต
  3. สาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรม
  4. ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
  5. ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกโดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่ให้คำแนะนำ
  6. วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีตัวแทนพชอ.ร้องกวาง ตัวแทนผู้รับผิดชอบทุกกองทุนจำนวน 10 กองทุน ตัวแทนเจ้าหน้าที่รพสต.ที่รับผิดชอบงานกองทุน 14 แห่งพี่เลี้ยงในพื้นที่เข้าร่วมครบทุกแห่ง
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

11. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลตำบลสันนาเม็ง อำเภอสันทราย จ.เชียงใหม่ครั้งที่ 2

วันที่ 8 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย 1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
2.ทบทวนการทำแผนงานจัดการปัจจัยเสี่ยงอาหารและโภชนาการ  6 แผนคือ1. แอลกอฮอล์2. ยาเสพติด 3.ยาสูบ 4. อาหารและโภชนาการ 5.กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการ
3.พัฒนาโครงการตามแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงสาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรมโดยทีมพี่เลี้ยงเขต
3.ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
4.ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงและโครงการให้คำแนะนำ โดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่
5.วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน แกนนำชุมชน ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมกิจกรรมรวม 35 คน 2.มีแผนงานโครงการครอบคลุม ใน5 ประเด็น

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

12. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเมือง จ.พะเยา ครั้งที่ 2

วันที่ 9 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย

  1. ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ทบทวนการทำแผนงานจัดการปัจจัยเสี่ยงอาหารและโภชนาการ 6 แผนคือ1. แอลกอฮอล์2. ยาเสพติด 3.ยาสูบ 4. อาหารและโภชนาการ 5.กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการ
  3. พัฒนาโครงการตามแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงสาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรมโดยทีมพี่เลี้ยงเขต
  4. ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
  5. ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงและโครงการให้คำแนะนำ โดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่
  6. วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ตัวแทนพชอ รพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมเพิ่มเติมอีก 4กองทุนรวม 14 กองทุน รวม 35 คน
  2. เกิดแผนงานโครงการครอบคลุม 5แผน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

13. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเวียงสา จ. น่าน ครั้งที่2

วันที่ 10 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย

  1. ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ทบทวนการทำแผนงานจัดการปัจจัยเสี่ยงอาหารและโภชนาการ 6 แผนคือ1. แอลกอฮอล์2. ยาเสพติด 3.ยาสูบ 4. อาหารและโภชนาการ 5.กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการ
    3.พัฒนาโครงการตามแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงสาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรมโดยทีมพี่เลี้ยงเขต
  3. ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
  4. ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงและโครงการให้คำแนะนำ โดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่
  5. วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

70 0

14. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอลี้ จ.ลำพูน ครั้งที่2

วันที่ 17 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย

  1. ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ทบทวนการทำแผนงานจัดการปัจจัยเสี่ยงอาหารและโภชนาการ 6 แผนคือ1. แอลกอฮอล์2. ยาเสพติด 3.ยาสูบ 4. อาหารและโภชนาการ 5.กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการ
  3. พัฒนาโครงการตามแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงสาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรมโดยทีมพี่เลี้ยงเขต
  4. ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
  5. ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงและโครงการให้คำแนะนำ โดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่
  6. วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการบางส่วนเข้าร่วมกิจกรรม 35 คนยกเว้นผู้รับผิดชอบงานกองทุนในเขตเทศบาล 5แห่งติดภาระกิจ 2.มีการบันทึกแผนงานปัจจัยเสี่ยง 5 แผน และบันทึกโครงการที่เกี่ยวข้องกับแผนทั้ง5 แผน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

15. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง ครั้งที่2

วันที่ 20 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมเทศบาลนครลำปางและพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย 1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
2.ทบทวนการทำแผนงานจัดการปัจจัยเสี่ยงอาหารและโภชนาการ  6 แผนคือ 1. แอลกอฮอล์2. ยาเสพติด 3.ยาสูบ 4. อาหารและโภชนาการ 5.กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการ กองทุน 3.พัฒนาโครงการตามแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงโดยอธิบายรายละเอียดการจัดทำโครงการ สาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรมโดยใช้โครงการของพื้นที่บันทึกเป็นตัวอย่างโดย ทีมพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงจังหวัด
3.ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
4.ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงและโครงการให้คำแนะนำ โดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่
5.วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีพี่เลี้ยงพื้นที่ ตัวแทนเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุข ตัวแทนผู้รับผิดชอบงานกองทุน ตัวแทนจนท.เวชกรรมสังคมโรงพยาบาลลำปางและผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมกิจกรรม 60 คน 2.มีการบันทึกแผนงานครอบคลุมทั้ง5 แผน และมีการบันทึกโครงการตัวอย่าง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

50 0

16. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน ครั้งที่2

วันที่ 23 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย

  1. ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ทบทวนการทำแผนงานจัดการปัจจัยเสี่ยงอาหารและโภชนาการ 6 แผนคือ1. แอลกอฮอล์2. ยาเสพติด 3.ยาสูบ 4. อาหารและโภชนาการ 5.กิจกรรมทางกาย และการบริหารจัดการ
  3. พัฒนาโครงการตามแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงสาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรมโดยทีมพี่เลี้ยงเขต
  4. ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม
  5. ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกแผนการจัดการปัจจัยเสี่ยงและโครงการให้คำแนะนำ โดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่
  6. วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 0

17. การประชุมเชิงปฎิบัติการสาธิตและพัฒนาทักษะในการบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่ใน8 พื้นที่เขต1ครั้งที่2

วันที่ 5 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมประชุมทดลองบันทึกการจัดทำแผนโควิด การตรวจสอบการลงโปรแกรมรายจังหวัด เกิดแผนในการทบทวนและติดตามในพื้นที่ภายใน3 เดือนต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมทดลองบันทึกการจัดทำแผนโควิด การตรวจสอบการลงโปรแกรมรายจังหวัด เกิดแผนในการทบทวนและติดตามในพื้นที่ภายใน3 เดือนต่อไป

 

30 0

18. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครเชียงราย จ.เชียงราย ครั้งที่2

วันที่ 5 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมาย11 พื้นที่ให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน  ในการจัดทำแผนตำบลทั้ง 5 แผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ ในระบบ โดย 1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงาน โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ทบทวนการทำแผนงาน 6แผน และพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขต  สาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรม ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกโดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่ให้คำแนะนำ วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นสามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน  ในการจัดทำแผนตำบลทั้ง 5 แผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ ในระบบ โดย 1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงาน โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ทบทวนการทำแผนงาน 6แผน และพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขต  สาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรม ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกโดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่ให้คำแนะนำ วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่ได้

 

60 0

19. การประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาแผน การบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง

วันที่ 26 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.เลขานุการพชอ.ร้องกวางพบปะและให้ข้อมูลการดำเนินงานของพชอ.ร้องกวาง 2.ทีมพี่เลี้ยงทบทวนการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 3.ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการจัดทำแผน ในการติดตามเสริมพลังการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อ.ร้องกวางโดย ทีมพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 4.ตรวจสอบการจัดทำแผนงานและโครงการภาพรวมในระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุมครอบคลุมทุกกลุ่มจำนวน  25 คน 2.มีการจัดทำแผนครอบคลุมทั้ง10 แห่งอย่างน้อย 5 แผน 3.มีการบันทึกโครงการอปท.ละ 1โครงการ

  • photo
  • photo
  • photo

 

25 0

20. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จ.น่าน

วันที่ 28 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.สาธารณสุขอำเภอเวียงสาเลขานุการ พชอ.เวียงสาพบปะ ให้ข้อมูลสถานการณ์ การดำเนินงานของพชอ.เวียงสา 2.ทบทวนการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 3.ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการจัดทำแผน ในการติดตามเสริมพลังการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อ.เมืองพะเยา โดย ทีมพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 4.ตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการภาพรวมในระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมครอบคลุมตามเป้าหมายที่กำหนด 45 คน 2.มีการจัดทำแผนอย่างน้อย5 แผนต่อกองทุน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

45 0

21. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผน ข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยา

วันที่ 30 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ผู้แทนเทศบาลตำบลต๋อมกล่าวต้อนรับ2.ตัวแทนทีมเลขานุการพชอ.เมืองให้ข้อมูลการดำเนินการของคณะทำงานพชอ.เมือง 3.ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตทบทวนการบันทึกแผนในภาพรวมของอำเภอเมือง และ ตรวจสอบข้อมูลการบันทึกข้อมูลเดิม 4.ปฏิบัติการบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนงาน และการบันทึกพัฒนาโครงการและการติดตามโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ 5.ตรวจสอบภาพรวมการบันทึกแผนงานโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมประชุมเป็นตัวแทนพชอ .กองทุนและรพสต.ครบทุกแห่ง รวม 20 คน 2.มีแผนงานอย่างน้อย 5 แผนต่อกองทุนและมีการพัฒนาโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

22. การประชุมเชิงปฎิบัติการในการบันทึกแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่รพสต.โอนย้ายตำบลสันนาเม็งอ.สันทรายจ.เชียงใหม่

วันที่ 31 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตทบทวนการบันทึกแผนในภาพรวมของเทศบาลตำบลสันนาเม็ง และ ตรวจสอบข้อมูลการบันทึกข้อมูลเดิม 2.ปฏิบัติการบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนงาน และการบันทึกพัฒนาโครงการและการติดตามโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ 3.ตรวจสอบภาพรวมการบันทึกแผนงานโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมประชุมเป็นแกนนำชุมชน จนท.กองทุนและตัวแทนรพสต.ครบทุกแห่ง รวม 20 คน 2.มีแผนงานอย่างน้อย 5 แผนต่อกองทุนและมีการพัฒนาโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

23. การประชุมเชิงปฏิบัติการcoachingทีมระดับเขตและพื้นที่ในการติดตามและประเมินผลโครงการของพื้นที่โดยใช้โปรแกรมออนไลน์

วันที่ 20 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ทบทวนการสนับสนุนกิจกรรมโครงการ 2.นำเสนอผลการติดตามภาพรวมรายจังหวัดโดยตัวแทนทีมพี่เลี้ยงแต่ละพื้นที่ 3.ตรวจสอบข้อมูลการบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ4.ทดลองบันทึกการติดตามประเมินโครงการในโปรแกรม 5.จัดทำแผนปฎิบัติการของกิจกรรมการติดตามประเมินผลในแค่ละพื้นที่ 6.สรุปแผนการดำเนินการอภิปราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มแกนนำตัวแทนระดับเขต 7 คน ตัวแทนแต่ละพื้นที่ 7 คนและตัวแทนจากเทศบาลนครและรพสต.ถ่ายโอน 5 คน ได้ร่วมอภิปรายปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่และร่วมกันตรวจสอบการบันทึกรายละเอียดข้อมูลในการจัดทำแผนและการบันทึกข้อมูลในแต่ละกิจกรรมของแต่ละพื้นที่  พบการลงบันทึกข้อมูลสถานการณ์ยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วนในแต่ละแผน การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้แยกรายกิจกรรมในบางแห่ง 2.พี่เลี้ยงจังหวัดแต่ละจังหวัดจัดทำแผนในการกำหนดการติดตามผลการดำเนินงานในแต่พื้นที่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

22 0

24. การติดตามแผนและโครงการ การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปผลการทำงานของแต่ละพื้นที่ของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่นที่รับโอนรพ.สต. ในพื้นที่ 8 จังหวัด

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การติดตามแผนและโครงการ การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปผลการทำงานในพื้นที่เขต ๑ 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานสถานการณ์การทำงานและแนวทางในการคัดเลือกโครงการคุณภาพในแต่พื้นที่โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2.นำเสนอผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรคของแต่ละพื้นที่โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 3.นำเสนอสถานการณ์ผลการดำเนินงานของกองทุนแต่ละจังหวัดโดยพี่เลี้ยงเขต สปสช.1 4.ปฏิบัติการการบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการในแต่จังหวัด โดยใช้เว็บไซต์กองทุนฯ โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต 5.ทวนสอบการบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนเป้าหมาย โดย ทีมพี่เลี้ยง 6.จัดทำแผนในการสนับสนุนติดตามหนุนเสริมกองทุนเป้าหมายในแต่ละจังหวัดและข้อเสนอแนะการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและตัวแทนพื้นที่เข้าร่วม 6 จังหวัด 2.มีการกำหนดแนวทางในการคัดเลือก1 โครงการ 1จังหวัดนัดหมายส่งรายละเอียดก่อน 10 กพ 64

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

25. ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและทบทวนแผนการทำงานของแต่ละพื้นที่เขต1 อำเภอร้องกวาง จ.แพร่

วันที่ 1 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ตรวจทานการบันทึกการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ภาพรวมของอำเภอร้องกวางโดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และ นายสุวิทย์ สมบัติ
2.การเลือกโครงการคุณภาพอย่างน้อยกองทุนละ 1 โครงการ พื่อเตรียมการถอดบทเรียนโดยพิจารณาจากการมีแผนงานและโครงการที่มีคุณภาพและมีเกณฑ์ในการพิจารณาโครงการคุณภาพ ดังนี้ 1.1.กรอกข้อมูลครบถ้วนทุกข้อ1.2.ชื่อโครงการ: สั้นๆ กะทัดรัด สะท้อนสาระของโครงการโดยรวมและพื้นที่ดำเนินโครงการที่ชัดเจน 1.3.ความสอดคล้องกับแผนงาน: พิจารณาดูว่าสอดคล้องกับแผนไหนบ้าง ระบุได้มากกว่า 1แผน1.4.สถานการณ์ปัญหา: กรอกถูกต้องตามจริง 1.5.วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด: เพิ่ม/ลดตรวจสอบให้ถูกต้อง
1.6.วิธีการดำเนินงาน มีกิจกรรมที่หลากหลาย เป็นกิจกรรมที่มีความยั่งยืน แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เป็นลำดับ ขั้นเป็นตอนมี รายละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ โดยกิจกรรมสำคัญในโครงการควรมีองค์ประกอบเรื่องนโยบาย (Policy) การให้ความรู้ (Knowledge) การเสริมสร้างทักษะ (Skill) การติดตามผล (Monitor) และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย 1.7.การติดตามประเมินผล มีการติดตามประเมินผลในเว็บไซต์ มีการใส่รูป และบันทึกผลการจัดกิจกรรม
1.8. มีการประเมินคุณค่าโครงการ ซึ่งการประเมินคุณค่าโครงการประกอบด้วย6 มิติ ดังนี้
1).ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาวะชุมชน 2).การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ 3).การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ 4).ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อ
5).การสร้างสุขภาวะชุมชน กระบวนการชุมชน 6).มิติสุขภาวะปัญญา/ สุขภาวะทางจิตวิญญาณ 3.ปฏิบัติการแก้ไขการบันทึกแผนงาน โครงการบันทึกข้อมูล การบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่อ.ร้องกวาง ที่ยังไม่สมบูรณ์โดย ทีมพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงจังหวัด 4.ตรวจทานการบันทึกข้อมูลแต่ละกองทุนทั้ง 10 แห่ง โดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และ ทีมพี่เลี้ยงเขต 5.อภิปรายและซักถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจากอปท. รพ.ร้องกวางและรพสต.เข้าร่วมแห่งละ1-2 คนรวม 31คน 2.มีแผนงานเดิม และได้ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงและลบแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ทั้งหมดจำนวน13 ชุด คงบันทึกแผนงาน ทั้งหมด 89 แผน
3.มีโครงการที่พัฒนาจำนว107น โครงการ 4.มีโครงการที่มีการติดตามจำนวน 65 โครงการ 5.ดำเนินการจัดทำแผนปี 2564 จำนวน 10 กองทุน 31 คน 6.ที่ประชุมคัดเลือกกองทุนเทศบาลร้องกวาง โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เชิงรุก ในชุมชนตำบลร้องกวาง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

26. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการพื้นที่เขต1เทศบาลสันนาเม็ง อ.สันทรายจ.เชียงใหม่

วันที่ 7 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสอบการบันทึกแผนงานโครงการการบันทึกกิจกรรมและลงบันทึกการติดตามโครงการและการประเมินผลโครงการ ๑.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานสถานการณ์การดำเนินงานโครงการโดย นายสุวิทย์ สมบัติ ดังนี้ ๑.๑ วัตถุประสงค์ในการประชุมครั้งนี้เพื่อติดตามการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ และการพิจารณาโครงการที่สามารถเป็นพื้นที่นำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะได้
๑.๒ การเลือกโครงการคุณภาพอย่างน้อย ๑ โครงการ และมีเกณฑ์ในการพิจารณาโครงการคุณภาพ ดังนี้ ๑.กรอกข้อมูลครบถ้วนทุกข้อ ๒.ชื่อโครงการ: สั้นๆ กะทัดรัด สะท้อนสาระของโครงการโดยรวมและพื้นที่ดำเนินโครงการที่ชัดเจน
๓.ความสอดคล้องกับแผนงาน: พิจารณาดูว่าสอดคล้องกับแผนไหนบ้าง ระบุได้มากกว่า ๑ แผน ๔.สถานการณ์ปัญหา: กรอกถูกต้องตามจริง
๕.วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด: เพิ่ม/ลดตรวจสอบให้ถูกต้อง
๖.วิธีการดำเนินงาน มีกิจกรรมที่หลากหลาย เป็นกิจกรรมที่มีความยั่งยืน แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เป็นลำดับ ขั้นเป็นตอนมี รายละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ โดยกิจกรรมสำคัญในโครงการควรมีองค์ประกอบเรื่องนโยบาย (Policy) การให้ความรู้ (Knowledge) การเสริมสร้างทักษะ (Skill) การติดตามผล (Monitor) และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย ๗.การติดตามประเมินผล มีการติดตามประเมินผลในเว็บไซต์ มีการใส่รูป และบันทึกผลการจัดกิจกรรม
๘. มีการประเมินคุณค่าโครงการ ซึ่งการประเมินคุณค่าโครงการประกอบด้วย ๖ มิติ ดังนี้
 ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาวะชุมชน  การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ  การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ  ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน กระบวนการชุมชน  มิติสุขภาวะปัญญา/ สุขภาวะทางจิตวิญญาณ ๑.๓ คัดเลือกโครงการดีของสันนาเม็ง ๑ โครงการเพื่อเตรียมการถอดบทเรียนโดยพิจารณาจากการมีแผนงานและโครงการที่มีคุณภาพ ๒.ทวนสอบการบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลสันนาเม็ง โดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ ดังนี้
 การตรวจสอบภาพรวมและการตรวจสอบความครบถ้วนโดยการสังเกตจากสีของดาวถ้าเป็นสีเหลืองให้คลิกเข้าในแต่ละโครงการและเพิ่มเติมแก้ไข ข้อมูลที่ยังไม่ครบถ้วนถูกต้อง ๓.ปฏิบัติการปรับลบโครงการที่ไม่สมบูรณ์ออกและ เติมเต็มการบันทึกกิจกรรมของโครงการ การประเมินคุณค่าโครงการ โดยทีมพี่เลี้ยงเขตและจังหวัด ๔.กำหนดแผนที่จะดำเนินการติดตามหนุนเสริมในพื้นที่ต่อเนื่อง ในเดือนพฤษภาคม 2564 โดยให้พื้นที่แจ้งการนัดหมายวันเวลาเข้ามาในกลุ่มไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีพี่เลี้ยงเขต จังหวัดเข้าร่วม 10 คน มีการแก้ไขแผนงาน ลบแผนงานที่ไม่ได้ดำเนินการ คงเหลือ จำนวน 11 แผนงาน และโครงการที่พัฒนา 7 โครงการคือ ด้านอาหารโภชนาการ 2 กิจกรรมทางกาย 3 การบริหารจัดการกองทุน 1และอนามัยแม่และเด็ก 1และโครงการที่ติดตาม 8 โครงการ คือ ด้านอาหารโภชนาการ1 กิจกรรมทางกาย3 และอนามัยแม่และเด็ก 1กลุ่มเสี่ยง โรคระบาดและเหล้า อย่างละ 1โครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

27. การประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1ในทีมระดับเขตและพื้นที่

วันที่ 17 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

26 มิถุนายน 2564 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานนำเสนอภาพรวมผลการดำเนินงาน ผ่านเว็บ
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2.นำเสนอรายละเอียดการบันทึกข้อมูลแผนงานของแต่ละพื้นที่ ในโปรแกรมโดย นายสุวิทย์ สมบัติ 3.นำเสนอวิธีการวิเคราะห์สถานการณ์และการจัดทำแผนระดับอำเภอการบันทึกกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ โดยใช้เว็บไซต์กองทุนฯ และปฏิบัติการเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูลของพื้นที่ในเว็บไซต์กองทุนฯโดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และทีมพี่เลี้ยง 4.ระดมสมองกำหนดกรอบในการถอดบทเรียนโครงการและช่องทางการคืนข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปการรายงานผลการดำเนินงานโครงการ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ ดังนี้
พื้นที่ดำเนินการ การขับเคลื่อนพัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.ของกองทุนตำบลตามบริบทพื้นที่ดังนี้ 1. นำร่องในพื้นที่กองทุนตำบลของอปท.ที่มีการดำเนินการร่วมกับพชอ.5 จังหวัดๆละ 1 อำเภอ ๆละ 9-11 กองทุน รวม 51 กองทุน คือ แพร่ อำเภอร้องกวาง จ. น่าน อ.ลี้ จ. ลำพูน อ.เมืองพะเยา จ.พะเยาและอ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน หลังดำเนินการมีพื้นที่ขอเข้าร่วมเพิ่มใน๒ จังหวัดคืออำเภอเมืองพะเยาเพิ่ม 4 พื้นที่และอ.เวียงสาน่านเพิ่ม 5 กองทุน จังหวัดน่าน รวม 60กองทุน 2. ดำเนินการในพื้นที่เทศบาลขนาดใหญ่ 2 จังหวัดคือเทศบาลนครลำปางและเชียงราย 3. ดำเนินการกองทุนตำบลในรพสต.ถ่ายโอนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ 1 แห่ง ที่เทศบาลตำบลสันนาเม็ง อำเภอสันทราย มีทีมร่วมดำเนินการ 3 ทีมหลักคือ1.ทีมอำนวยการกลาง ทำหน้าที่บริหารจัดการ สนับสนุน หนุนเสริมและขับเคลื่อนโครงการจำนวน 5 คน2. พี่เลี้ยงระดับเขตประกอบด้วยตัวแทนจากอปท. สปสช.1 สาธารณสุขจำนวน 7 คน และ 3.ทีมพี่เลียงระดับจังหวัดและพื้นที่มีตัวแทนครอบคลุมทุกพื้นที่ๆละ 1-3 คน จำนวน 20 คน มีบทบาทประสาน หนุนเสริม ขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกันทั้ง ๓ ทีมและติดตามประเมินผล มีกิจกรรมหลัก 4 กลุ่มกิจกรรมคือ 1 การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ มีกิจกรรม 4 ครั้ง ประชุมชี้แจงระดัลเขต คืนข้อมูล สรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน 2. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม มีการประชุมและการติดตามในพื้นที่ๆละ1-2ครั้ง รวม17 ครั้ง 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) สามารถดำเนินการได้ 4 ครั้ง ในพื้นที่พชอ.3 แห่ง พชอ.ส่วน 2 แห่งและกองทุนขนาดใหญ๋ 2แห่ง มีสถานการณ์โควิดไม่สามารถจัดประชุมในพื้นที่ได้แต่ประสานไม่เป็นทางการกับพื้นที่แทน และรพสต.ถ่ายโอน 1 ครั้ง 4. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1 มีการติดตามหนุนเสริมใน๗พื้นที่ยกเว้นเทศบาลนครเชียงรายที่สามารถดำเนินการต่อได้จากอุปสรรคภายในองค์กร พื้นที่อื่น สามารถจัดประชุมและติดตามหนุนเสริมในพื้นที่โดยพี่เลี้ยงเขต จังหวัด พื้นที่ละ 2-4 ครั้ง รวม26 ครั้ง 2.นำเสนอวิธีการวิเคราะห์สถานการณ์และการจัดทำแผนระดับอำเภอการบันทึกกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ โดยใช้เว็บไซต์กองทุนฯ และปฏิบัติการเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูลของพื้นที่ในเว็บไซต์กองทุนฯ โดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
-ปี2563 มีการจัดทำแผน 16 แผน จำนวน 452 แผนงาน พัฒนาโครงการ 274 โครงการและติดตาม 263โครงการ งบประมาณ 4,025,097 บาท - ปี 2564 มีการจัดทำแผน16 แผน รวมทั้งหมดจำนวน 528 แผนงาน พัฒนาโครงการ 350โครงการและติดตาม 307 โครงการ งบประมาณ 4,867,912.25 บาท - คุณภาพของโครงการพี่เลี้ยงแต่ละพื้นที่สามรถตรวจสอบและแก้ไขได้ - นำเสนอวิธีการวิเคราะห์สถานการณ์และการจัดทำแผนระดับอำเภอ การบันทึกกิจกรรมการดำเนินงานโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ โดยใช้เว็บไซต์กองทุนฯ
3.นำเสนอการเข้าไปใช้ข้อมูลวิเคราะห์การใช้เงินของแต่ละกองทุนโดยเวปของสปสช.1ในการใช้อ้างอิงจาก https://www.localfund-cmi.info/ โดย มนัสชนก ณ มงคล 4.ปฏิบัติการเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูลของพื้นที่ในเว็บไซต์กองทุนฯ 5. ระดมสมองกรอบการถอดบทเรียนโดยพี่เลี้ยงแต่ละพื้นที่ทบทวนและวิเคราะห์กลไกการทำงานของพื้นที่ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอ และพิจารณร่วมกับกรอบรายงานพื้นที่ของสนส.กำหนด และนัดหมายการถอดบทเรียนในวันที่ 2 กรกฎาคม 2564

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

28. การถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 17 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

2กรกฎาคม 2564 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกรอบการทำรายงาน การถ่อดบทเรียนการดำเนินงาน โครงการ โดย
นายสุวิทย์ สมบัติ 2.นำเสนอภาพรวมการดำเนินงานในโครงการฯของทีมพี่เลี้ยงเขตสรุปการขัดกิจกรรมในโครงการ โดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3.แลกเปลี่ยนการดำเนินงานและวิเคราะห์การใช้งานผ่านเวป กปท.สปสช.1โดย มนัสชนก ณ มงคล 4.แลกเปลี่ยนการดำเนินงานโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ โดยใช้เว็บไซต์กองทุนฯ และการวิเคราะห์บทเรียนจากทีมพี่เลี้ยงเขตจังหวัดและตัวแทนพชอ. โดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และทีมพี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนพี่เลี้ยงเขต พื้นที่ตัวแทน พชอ กองทุนเข้าร่วมการถอดบทเรียนประเด็นในการถอดบทเรียน 1. ภาพรวม - ศักยภาพของกรรมการกองทุน/ ผู้รับผิดชอบกองทุน/ เครือข่ายที่ขอการสนับสนุน - มีแผน/ คุณภาพของแผน - มีโครงการ/ คุณภาพของโครงการสอดคล้องกับแผน - มีการประเมินผล/ คุณภาพของการประเมินผล 2. พชอ. - การทำงานร่วมกับ พชอ. - การมีแผนประเด็นระดับอำเภอ 3. กองทุนขนาดใหญ่ - การทำงานร่วมกับกองทุนขนาดใหญ่ - เงินรายได้สะสมลดลงหรือไม่ 4. รพ.สต.ถ่ายโอน - การทำงานร่วมกับ รพ.สต.ถ่ายโอน - เปรียบเทียบโครงการของ รพ.สต. ระหว่าง รพ.สต.ที่ไม่ถ่ายโอน กับ รพ.สต.ที่ถ่ายโอนให้กับท้องถิ่น 5. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

29. การติดตามแผนและโครงการของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่น. ในพื้นที่ เขต1

วันที่ 3 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

16 มีนาคม -15 มิถุนายน 2564 ออกติดตาม หนุนเสริมการจัดทำแผนปัจจัยเสี่ยงและแผนงานตามบริบทพื้นที่อย่างน้อย 5 แผน แก้ไขข้อมูลสถานการณ์ แนะนำแหล่งที่มาของข้อมูลในการบันทึก การการตรวจสอบข้อมูล โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนในแต่ละพื้นที่ ร่วมดำเนินการในการบันทึก การแก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในโปรแกรมทั้งการพัฒนาแผน การพัฒนาโครงการและการติดตามโครงการ การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลการจัดทำแผนระดับอำเภอ ในพื้นที่เขต 1 ดังนี้ 1.ในพื้นที่เทศบาลขนาดใหญ่ที่นครลำปาง 2 ครั้ง ในวันที่ 10 เมษายน 2564และ 5 พฤษภาคม 2564
2.รพสต.ถ่ายโอนเทศบาลสันนาเม็ง 1 ครั้ง ในวันที่ 7 มิถุนายน 2564
3.พื้นที่ พชอ. 5 แห่ง คือ 3.1 ติดตาม 2 ครั้ง พื้นที่อำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่ จำนวน10 กองทุนในวันที่ 30 เมษายน และ21 พฤษภาคม 2564
3.2 ติดตาม 3 ครั้งที่พชอ.อำเภอลี้ จำนวน 10 กองทุน ในวันที่ 16 มีนาคม , 12 พฤษภาคมและ11 มิถุนายน 2564 และแม่ลาน้อย จำนวน 9 กองทุนในวัยที่ 18 มีนาคม,14 พฤษภาคมและ15มิถุนายน2564 3.3 ติดตาม 2 ครั้งที่พชอ.อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จำนวน 16 กองทุน โดยครั้งที่ 1 แบ่งติดตามวันละ 8กองทุน ในวันที่ 22 มีนาคม และ 23มีนาคม ครั้งที่3 และ4 วันละ 16 กองทุนในวันที่ 22 เมษายนและ18พฤษภาคม 2564 และอำเภอเมืองพะเยา จำนวน 14 กองทุนดยครั้งที่ 1 แบ่งติดตามวันละ 7กองทุน ในวันที่ 25 มีนาคม และ 26 มีนาคม ครั้งที่3 และ4 วันละ 16 กองทุนในวันที่ 26เมษายนและ 19 พฤษภาคม 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามในพื้นที่ 7 จังหวัด จำนวน 19 ครั้ง และมีการปรับปรุงแผนคงเหลือ 16 ชุดแผนงาน จำนวน 528 แผนและพัฒนาโครงการ 350 โครงการ โดยมีการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ ติดตามโครงการใน 5 แผน ดังนี้ 1.แผนงานอาหารและโภชนาการ 57 แผน 31 โครงการ
2.แผนงานกิจกรรมทางกาย 58 แผน 22 โครงการ 3.แผนงานบุหรี่ 52 แผน 7 โครงการ
4.แผนงานสารเสพติด 51 แผน 3 โครงการ
5.แผนงานเหล้า 49 แผน 3 โครงการ
ปัญหาอุปสรรคในการติดตาม  ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ โควิด 19 ทำให้เกิดความล่าช้าต่อการดำเนินงานของแต่ละกองทุนฯ แต่ก็พบว่าส่วนใหญ่เป็นแผนงานสามารถเชื่อมโยงกับพชอ.และอปท เป็นระดับนโยบาย  มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ และผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯในแต่ละอปท.มีน้อย มีภาระงานหลายด้าน  การใช้ข้อมูลในระบบยังไม่สามารถเห็นภาพรวมของการดำเนินของพื้นที่ได้ชัดเจน  ข้อมูลในการเติมสถานการณ์ต้องใช้แหล่งข้อมูลจากหลายแหล่งเป็นอุปสรรคต่อการค้นหาและการตรวจสอบความถูกต้อง

  • photo

 

165 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่เป้าหมายในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด : มีกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่เขต 1ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
8.00

 

2 ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : มีพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในการจัดทำแผนงานหรือโครงการอย่างน้อยพื้นที่ละ 1แผนงาน1โครงการ
51.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่เป้าหมายในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. (2) ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ (2) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม (3) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) (4) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1 (5) การประชุม coaching ทีมระดับเขต เขต 1 เชียงใหม่ (6) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จังหวัดน่าน ครั้งที่1 (7) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่1 (8) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ลี้ จังหวัดลำพูน ครั้งที่1 (9) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยาครั้งที่1 (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนครั้งที่1 (11) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่รพสต.สันนาเม็ง อ.สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ครั้งที่1 (12) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครเชียงราย ครั้งที่1 (13) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครลำปาง ครั้งที่1 (14) การประชุมเชิงปฎิบัติการสาธิตและพัฒนาทักษะในการบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่ใน8 พื้นที่เขต1ครั้งที่2 (15) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอร้องกวางจ.แพร่ครั้งที่2 (16) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลตำบลสันนาเม็ง อำเภอสันทราย จ.เชียงใหม่ครั้งที่ 2 (17) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเมือง จ.พะเยา ครั้งที่ 2 (18) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเวียงสา จ. น่าน ครั้งที่2 (19) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอลี้ จ.ลำพูน ครั้งที่2 (20) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอแมาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน ครั้งที่2 (21) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง ครั้งที่2 (22) การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครเชียงราย จ.เชียงราย ครั้งที่2 (23) การประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาแผน การบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง (24) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จ.น่าน (25) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผน ข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยา (26) การประชุมเชิงปฎิบัติการในการบันทึกแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่รพสต.โอนย้ายตำบลสันนาเม็งอ.สันทรายจ.เชียงใหม่ (27) การประชุมเชิงปฏิบัติการcoachingทีมระดับเขตและพื้นที่ในการติดตามและประเมินผลโครงการของพื้นที่โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ (28) การติดตามแผนและโครงการ การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปผลการทำงานของแต่ละพื้นที่ของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่นที่รับโอนรพ.สต. ในพื้นที่ 8 จังหวัด (29) การติดตามแผนและโครงการของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่น. ในพื้นที่ เขต1 (30) ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและทบทวนแผนการทำงานของแต่ละพื้นที่เขต1 อำเภอร้องกวาง จ.แพร่ (31) การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการพื้นที่เขต1เทศบาลสันนาเม็ง อ.สันทรายจ.เชียงใหม่ (32) การประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1ในทีมระดับเขตและพื้นที่ (33) การถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1

ระยะเวลาโครงการ 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 1 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สุวิทย์ สมบัติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด