สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62 ”

สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

หัวหน้าโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณชพงศ จันจุฬา

ชื่อโครงการ การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62

ที่อยู่ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 62-ข-046

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62



บทคัดย่อ

โครงการ " การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62 " ดำเนินการในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,200.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศมายาวนานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าวมาโดยตลอดโดยมีการใช้งบประมาณในการแก้ไขปัญในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าหมื่นล้าน โดยในปี พ.ศ. 2559 มีการใช้งบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาความไม่สงบสูงถึง 30,176.93 ล้านบาท (สำนักงบประมาณ, 2559) แต่การทุ่มเทงบประมาณไม่ได้ส่งผลให้เหตุการณ์ความรุนแรงลดลง โดยจากการสำรวจของ ศรีสมภพจิตร์ภิรมย์ศรี (2560) พบว่า ในปี พ.ศ. 2559 มีเหตุการณ์ความไม่สงบรวม 815 ครั้ง โดยเกิดที่จังหวัดปัตตานี 310 ครั้ง รองลงมาคือจังหวัดนราธิวาส 276 ครั้ง จังหวัดยะลา 176 ครั้ง และจังหวัดสงขลา 53 ครั้ง โดยมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากเหตุการณ์รวม 928 คน นอกจากนี้ อัฟฟาน ลาเต๊ะ (2559) ศึกษาความคาดหวังของประชาชนในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ พบว่า ประชาชนต้องการให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและการยกระดับความเป็นอยู่มากที่สุด รองลงมาคือ การแก้ไขปัญหายาเสพติด และการพัฒนาการศึกษา ตามลำดับ ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง หนึ่งในยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความไม่สงบที่สำคัญของ กองอำนวยการรักษาความมั่นคง ภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) คือ โครงการจิตอาสา ญาลันนันบารู ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาในชุมชนโดยคนในชุมชนที่เป็นจิตอาสาทำงานร่วมกับ กอ.รมน.ภาค 4 สน. ในการร่วมกันคัดกรอง สร้างจิตสำนึก และปรับพฤติกรรม แก่ผู้ที่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด และมีส่วนร่วมในขบวนการก่อความไม่สงบ โครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤติความรุนแรง เป็นแผนงานที่ดำเนินการในพื้นที่พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วยทุกอำเภอในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ จะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย ซึ่งเป็นพื้นที่ชายแดนที่กำลังประสบปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบ ปัญหายาเสพติด และเศรษฐกิจตกต่ำ ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลมีนโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องโดยใช้งบประมาณมหาศาล แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) ซึ่งเป็นความร่วมมือของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จึงได้ดำเนินโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง โดยการพัฒนาศักยภาพหน่วยญาลันนันบารู จิตอาสาญาลันนันบารู แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา และตัวแทนชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องชุมชนสุขภาวะ ชุมชนเข้มเข็ง แก่ที่เข้าร่วมโครงการ โดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้การจัดการฐานข้อมูล กระบวนการทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการแก้ปัญหาชุมชนเพื่อลดปัญหาปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่และยาเสพติดในพื้นที่ และขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล ซึ่งการดำเนินโครงการ ฯ ดังกล่าว ทำให้เกิดทีมพี่เลี้ยงโครงการซึ่งเป็นคนในพื้นที่ มีมุมมองในเรื่องการจัดการสุขภาวะ และมีศักยภาพในการหนุนเสริมคนในชุมชนในการพัฒนาเป็นโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนได้เกิดโครงการที่ผ่านการอนุมัติและได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อดำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ดังนั้นเพื่อศึกษาความสำเร็จของผลการดำเนินโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ในครั้งนี้คณะผู้ประเมินจึงจำเป็นต้องกำหนดกรอบการประเมินโครงการ โดยประยุกต์แนวคิดของ CIPP Model เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการในมิติบริบทสภาพแวดล้อม (context) ปัจจัยนำเข้า (input) กระบวนการทำงาน (process) ผลผลิต (product)ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ศึกษาบริบทเบื้องต้นและผลการดำเนินงานของแต่ละชุมชน

    วันที่ 24 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้วางแผนการจัดทำข้อเสนอโครงการ

     

    3 3

    2. ประชุมพัฒนาเครื่องมือ และออกแบบเครื่องมือ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 3

    3. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลกับกลุ่มจิตอาสา ครั้งที่ 1

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2562 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การนำเสนอผลการประเมินครั้งนี้จะนำเสนอผลการประเมินตามคำถามการประเมิน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 การประเมินศักยภาพ/ความสามารถของกลุ่มจิตอาสาญาลันนัน ส่วนที่ 2 บทบาทของพี่เลี้ยงกองทุนฯ ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากโครงการฯ/แผนงาน
    ส่วนที่ 4 คุณค่าของโครงการฯ/แผนงาน ส่วนที่ 5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จและอุปสรรคในการจัดทำโครงการ ส่วนที่ 6 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการฯโดยใช้กลไกกองทุนหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อยู่ระหว่างการดำเนินงานโครงการ

     

    10 5

    4. 3.ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลันนัน ครั้งที่ 2

    วันที่ 22 กรกฎาคม 2562 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประสานงานคนในพื้นที่
    -เดินทางจาก ม.อ.ปัตตานี
    -ถึงบ้านคชศิลา  พูดคุยสัมภาษณ์กับหัวหน้าโครงการ -เข้าร่วมเวทีญาลันนัน กับหน่วยงานญาลันนัน
    -วิทยากรให้ความรู้ เรื่องโทษของยาเสพติด สาเหตุของการติดยาเสพติด วิธีการเลิกติดยาเสพติด -ถ่ายรูปหมุ่ร่วมกัน -เดินทางกลับ ม.อ.ปัตตานี โดยสวัสดิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เกิดข้อตกลงของชุมชนและได้ข้อความร่วมมือกับคนในพื้นที่ และร้านค้าปลีกในหมู่บ้าน โดยให้มีการยกเลิกการขายบุหรี่ในร้านค้า ที่อยู่ในหมู่บ้านทั้งหมด โดยได้ยกเลิกการขายบุหรี่ตลอดไป 2.เนื่องจากในหมู่ที่4 บ้านคชศิลาเป็นชุมชนที่มีประชาชนที่นับถือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลามรวมกัน จากการทำโครงการครั้งนี้ทำให้ประชาชนในพื้นที่เห็นถึงความตั้งใจจริงของประธานกลุ่มที่มีความทุ่มเท จึงหันมาให้การสนับสนุน และเป็นที่ยอมรับของประชาชนในท้องถื่น 3.เกิดสัญญาประชาคมที่จะร่วมกันเลิกยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติดทั้งหลายตลอดไป และมีผู้พิการ จำนวน 1 คน ที่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม เลิกบุหรี่ได้ 2 เดือน มีสุขภาพที่ดีขึ้น หน้าตาสดชื่นสดใสมากยิ่งขึ้น สัญญาว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่อีกเลยตลอดไป 4.ประชาชนในหมู่บ้านมีทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ที่เปลี่ยนแปลงจากในอดีต เห็นว่าการสูบบุหรี่เป็นการทำร้ายผู้อื่นและเด็ก จึงเกิดความละอายและเกรงใจที่จะสูบบุหรี่

     

    10 0

    5. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลันนัน ครั้งที่ 3

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2562 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

    รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

    กลุ่มจิตอาสาญาลันนันที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมการประชุมเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561

    รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อปรับแก้เอกสาร
    2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสาบ้านพรุจูด ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี 3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ สัมภาษณ์กลุ่มญาลันนันตามกรอบที่ทีมงานได้วางไว้ 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เกิดความไว้วางใจกันระหว่างเด็กและเยาวชนกับพี่เลี้ยงโครงการโดยเด็กและเยาวชนเกิดความไว้วางใจกลุ่มพี่เลี้ยงโครงการมากกว่าผู้ปกครองในการเป็นที่ปรึกษาทั้งเรื่องการศึกษาและเรื่องส่วนตัว  ซึ่งมีกรณีศึกษาที่ มีเยาวชนคนหนึ่งในหมู่บ้าน อยู่คนเดียวที่บ้าน พ่อเสียชีวิต แม่ทำงานประเทศมาเลเซีย ติดยาเสพติด ยาบ้า บุหรี่ แต่ไม่กล้าเล่าเรื่องนี้ให้กับผู้ปกครองฟังแต่มีความไว้ใจและกล้าที่จะปรึกษาปัญหานี้กับพี่เลี้ยงของโครงการ ซึ่งหลังจากนั้นพี่เลี้ยงของโครงการก็ได้ส่งเยาวชนคนนี้ไปบำบัดที่ศูนย์บำบัดยาเสพติด คลองแลหลังซึ่งเป็นความร่วมมือกับกอรมน. ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นที่ชื่นชมของผู้ปกครองและประชาชนในหมู่บ้าน 2.เกิดพื้นที่พบปะพูดคุยของเยาวชนในพื้นที่ โดยประธานโครงการได้ใช้พื้นที่ของบ้านตนเองเป็นลานแลหกเปลียนความคิดเห็นและเป็นแหล่งพบปะการทำประโยชน์หรือเป็นที่รวมตัวของเด็กเยาวชน 3.เกิดกติกาชุมชนร่วมกันว่าห้ามการจำหน่ายบุหรี่และยาเสพติดให้กับเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
    4.เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มากขึ้น ดังจะเห็นจากการที่เยาวชนในชุมชนเห็นมาปลูกผักและออกกำลังกายกันมากขึ้นแทนที่จะไปมั่วสุมกัน และเยาวชนยังมีรายได้จากการเก็บผักที่ตนเองปลูกไปขายทำให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเองได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสามารถของตน 5.จากความจริงจังในการทำงานของกลุ่มจิตอาษาจึงทำให้เป็นที่ไว้วางใจของหน่อยงานต่างๆในพื้นที่ ทำให้หน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการทำงานเช่น สถานศึกษา ผู้นำชุมชน ท้องถิ่น
    6.เกิดความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนโดยในทุกๆวันศุกร์จะมีกิจกรรมที่เยาวชนจะร่วมกันพัฒนาชุมชนเช่นการเก็บขยะ ตัดหญ้า และปรับภูมิทัศน์ในชุมชน 7.เกิดความร่วมมือของคนในชุมชนที่จะร่วมโครงการติดตามสอดส่องดูแลเด็กและเยวชน อย่างใกล้ชิด ให้กำลังใจ รอยยิ้ม สร้างคุณค่าให้กับเยาวชนที่หลงผิดให้กลับมามีคุณค่าและสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน 8.กลุ่มจิตอาสามีความเข้มแข็งมากขึ้นจากการทำงานและได้รับประสบการณ์ในการทำโครงการและมีความรู้ในการเขียนโครงการส่งผลให้เป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน รวมไปถึงผู้ป่วยที่ติดยาเสพติดสามารถเข้าหากลุ่มองค์กรได้อย่างรู้สึกปลอดภัย พร้อมสมัครใจในการเข้ารับการบำบัดยาเสพติด

     

    10 9

    6. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลันนัน ครั้งที่ 4

    วันที่ 2 สิงหาคม 2562 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์ 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสาบ้านกลาง ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี 3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ สัมภาษณ์กลุ่มญาลันนันตามกรอบที่ทีมงานได้วางไว้ 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดพิษภัยของบุหรี่ เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและทราบสาเหตุ  รวมทั้งทราบถึงโทษที่เกี่ยวกับยาเสพติด เยาวชนที่หลงผิด สามารถรับการบำบัด ณ โรงเรียนลูกผู้ชาย ที่บ้านมะรวด
    • การจัดการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด

     

    7 7

    7. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลัน ครั้งที่ 5

    วันที่ 5 สิงหาคม 2562 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คนรายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์ 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
    3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการและสัมภาษณ์ตามกรอบคำถามจากทีมวิจัยโครงการ 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สำรวจข้อมูลสถานการณ์การสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา จำนวน 160 คน
    • ประชุมแกนนำเยาวชน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา เจ้าของร้านขายของชำที่จำหน่ายบุหรี่
    • อบรมพัฒนาทักษะแกนนำคณะทำงานเยาวชนจิตอาสาฟ้าใสวัยทีน พี่สอนน้องระดับตำบล

     

    7 5

    8. 3.ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลันนัน ครั้งที่ 6

    วันที่ 15 สิงหาคม 2562 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์ 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
    3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ และสัมภาษณ์ตามกรอบแนวคำถามที่ทางทีมวิจัยได้เลือก 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เกิดความร่วมมือกันระหว่างกลุ่มจิตอาษาและหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการส่งวิทยากรมาให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่ 2.เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติดโดย ผู้นำศาสนาได้รณรงค์และชี้ชัดว่าบุหรี่เป็นสิ่งที่ไม่ดี เป็นฮาลอม(กฎบัญญัติห้าม ที่มุกัลลัฟ (มุสลิมผู้อยู่ในศาสนนิติภาวะ) ทุกคนต้องละเว้น) ตามหลักศาสนาอิสลาม 3.เกิดความร่วมมือจากชุมชนโดยผู้นำศาสนาโดยโต๊ะอิหม่ามได้นำเรื่องโทษของบุหรี่ไปบรรยายในการแสดงธรรมของชุมชน 4.เกิดกฏกติกาในชุมชนที่จะไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่มัสยิด 5.กลุ่มเยาวชนที่หลงผิด เมื่อได้รับการบำบัดยาเสพติดหายดีแล้ว จะกลับมาช่วยงานโครงการ และมาร่วมให้ความรู้แก่เยาวชนในท้องถิ่นต่อไป 6.ประชาชนในชุมชนให้การยอมรับในกลุ่ม/คณะทำงานโครงการที่มีความโปร่งใส และทุ่มเทในการทำงาน

     

    10 7

    9. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลันนัน ครั้งที่ 7

    วันที่ 25 สิงหาคม 2562 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 15 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์ 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
    3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการและสัมภาษณ์ตามกรอบที่ทีมวิจัยได้ตั้งไว้ 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การทำงานในกลุ่ม - กลุ่ม/คณะทำงาน มีจำนวนมาก ทำให้มีข้อคิดเห็นที่บางกิจกรรมไม่ตรงกัน - มีหน่วยงานภาครัฐ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนาให้การสนับสนุน • ปัญหาในการทำงาน/อุปสรรค - กลุ่มคณะทำงานมีหลายบทบาท และหลายหน้าที่ • ปัจจัยสำคัญ ภายใน - เวลาของกลุ่ม/คณะทำงานที่ว่างที่ไม่ตรงกัน ทำให้เขียนข้อเสนอโครงการมีความล้าช้า ภายนอก - แผนโครงการ ของสปสช. ตามแผนนโยบายขององค์การบริหารปกครองส่วนท้องถิ่น มีโครงการเต็มโค้วต้า จึงไม่สามารถรับโครงการนี้ได้ เพราะความล้าช้าในการส่งโครงการ • การสนับสนุนจากแหล่งทุนเดินหน้าต่อไป - อยากได้โอกาสในการรับข้อเสนอโครงในปีหน้า

     

    10 15

    10. ลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มญาลันนัน ครั้งที่ 8

    วันที่ 29 สิงหาคม 2562 เวลา 11:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์ 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
    3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ
    4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การทำงานในกลุ่ม - กลุ่ม/คณะทำงาน มีความเข้มแข็ง และทำงานเป็นทีม • ปัญหาในการทำงาน/อุปสรรค - กลุ่มคณะทำงานมีหลายบทบาท และหลายหน้าที่ - เวลาของกลุ่ม/คณะทำงานที่ว่างที่ไม่ตรงกัน • ปัจจัยสำคัญ ภายใน - การประกอบอาชีพของคณะทำงาน เป็นคนในเมืองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ภายนอก - การสื่อสารกับแหล่งทุน สปสช.ที่เข้าใจคลาดเคลื่อน - ความล้าช้าในการส่งโครงการ (หมดเขตในการรับข้อเสนอโครงการ) • การสนับสนุนจากแหล่งทุนเดินหน้าต่อไป - อยากได้โอกาสในการรับข้อเสนอโครงการในปีหน้า

     

    7 7

    11. วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์

    วันที่ 2 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประชุมทีมนักวิจัย -สรุปจากการลงพื้นที่ -วิเคราะห์ ถกประเด็นในทีม -หาข้อสรุป
    -บันทึกการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมเพื่อหาปัจจัยใดที่โครงการประสลความสำเร็จ และไม่ประสบความสำเร็จ

     

    0 0

    12. สรุปผลและเขียนรายงาน ครั้งที่ 1

    วันที่ 3 กันยายน 2562 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประสานงานทีมงานวิจัย -หาสถานที่ประชุม -ประชุมเพื่อสรุปและเขียนรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สามารถวางเค้าโครงรายงาน ตามแต่ละบท

     

    5 4

    13. สรุปผลและเขียนรายงาน ครั้งที่ 2

    วันที่ 11 กันยายน 2562 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 0

    14. สรุปผลและเขียนรายงาน ครั้งที่ 3

    วันที่ 16 กันยายน 2562 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 0

    15. สรุปผลและเขียนรายงาน ครั้งที่ 4

    วันที่ 24 กันยายน 2562 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประสานงานทีมงานวิจัย -หาสถานที่ประชุม -ประชุมเพื่อสรุปและเขียนรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ 60%

     

    3 0

    16. ลงกิจกรรมและการเงินออนไลน์

    วันที่ 27 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    17. สรุปผลและเขียนรายงาน ครั้งที่ 5

    วันที่ 29 กันยายน 2562 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประสานงานทีมงานวิจัย -หาสถานที่ประชุม -ประชุมเพื่อสรุปและเขียนรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ 80%

     

    3 0

    18. จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบรูณ์

    วันที่ 29 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1
    ตัวชี้วัด :

     

    2
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  (2)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62

    รหัสสัญญา 62-ข-046 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การประเมินคุณค่าและผลลัพธ์ของโครงการการจัดการสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง 62 จังหวัด

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณชพงศ จันจุฬา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด