จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบรูณ์
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบโครงการ
-
-
-
เพื่อสรุปและเขียนรายงาน
-ประสานงานทีมงานวิจัย -หาสถานที่ประชุม -ประชุมเพื่อสรุปและเขียนรายงาน
ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ 80%
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
ลงกิจกรรมและการเงินออนไลน์
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบโครงการ
-
-
-
เพื่อสรุปและเขียนรายงาน
-ประสานงานทีมงานวิจัย -หาสถานที่ประชุม -ประชุมเพื่อสรุปและเขียนรายงาน
ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ 60%
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อสรุปและเขียนรายงาน
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อสรุปและเขียนรายงาน
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อสรุปและเขียนรายงาน
-ประสานงานทีมงานวิจัย -หาสถานที่ประชุม -ประชุมเพื่อสรุปและเขียนรายงาน
-สามารถวางเค้าโครงรายงาน ตามแต่ละบท
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมวิจัย
-
-
-
เพื่อวิเคราะห์สาเหตุที่โครงการประสบความสำเร็จ และโครงการที่ไม่ประสบความสำเร็จ
-ประชุมทีมนักวิจัย
-สรุปจากการลงพื้นที่
-วิเคราะห์ ถกประเด็นในทีม
-หาข้อสรุป
-บันทึกการประชุม
ประชุมเพื่อหาปัจจัยใดที่โครงการประสลความสำเร็จ และไม่ประสบความสำเร็จ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง
1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์
2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ
4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี
• การทำงานในกลุ่ม - กลุ่ม/คณะทำงาน มีความเข้มแข็ง และทำงานเป็นทีม • ปัญหาในการทำงาน/อุปสรรค - กลุ่มคณะทำงานมีหลายบทบาท และหลายหน้าที่ - เวลาของกลุ่ม/คณะทำงานที่ว่างที่ไม่ตรงกัน • ปัจจัยสำคัญ ภายใน - การประกอบอาชีพของคณะทำงาน เป็นคนในเมืองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ภายนอก - การสื่อสารกับแหล่งทุน สปสช.ที่เข้าใจคลาดเคลื่อน - ความล้าช้าในการส่งโครงการ (หมดเขตในการรับข้อเสนอโครงการ) • การสนับสนุนจากแหล่งทุนเดินหน้าต่อไป - อยากได้โอกาสในการรับข้อเสนอโครงการในปีหน้า
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-ทีมวิจัย -กลุ่มญาลันนัน -กอ.รมน.
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 15 คน
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง
1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์
2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการและสัมภาษณ์ตามกรอบที่ทีมวิจัยได้ตั้งไว้
4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี
• การทำงานในกลุ่ม - กลุ่ม/คณะทำงาน มีจำนวนมาก ทำให้มีข้อคิดเห็นที่บางกิจกรรมไม่ตรงกัน - มีหน่วยงานภาครัฐ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนาให้การสนับสนุน • ปัญหาในการทำงาน/อุปสรรค - กลุ่มคณะทำงานมีหลายบทบาท และหลายหน้าที่ • ปัจจัยสำคัญ ภายใน - เวลาของกลุ่ม/คณะทำงานที่ว่างที่ไม่ตรงกัน ทำให้เขียนข้อเสนอโครงการมีความล้าช้า ภายนอก - แผนโครงการ ของสปสช. ตามแผนนโยบายขององค์การบริหารปกครองส่วนท้องถิ่น มีโครงการเต็มโค้วต้า จึงไม่สามารถรับโครงการนี้ได้ เพราะความล้าช้าในการส่งโครงการ • การสนับสนุนจากแหล่งทุนเดินหน้าต่อไป - อยากได้โอกาสในการรับข้อเสนอโครงในปีหน้า
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-ทีมวิจัย -กลุ่มญาลันนัน -กองทุน สปสช. อบต.ตะมะยูง
-
อยากให้ กอ.รมน. เข้ามารับผิดชอบโครงการญาลันนันกับทางกลุ่มอย่างเต็มที่ โดยไม่ผ่านกองทุน สปสช.ของ อบต. เพื่อไม่เป็นการทำงานซ้ำซ้อนกับองค์กรอื่นที่อยากทำโครงการในชุมชน
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง
1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์
2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ และสัมภาษณ์ตามกรอบแนวคำถามที่ทางทีมวิจัยได้เลือก
4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี
1.เกิดความร่วมมือกันระหว่างกลุ่มจิตอาษาและหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการส่งวิทยากรมาให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่
2.เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติดโดย ผู้นำศาสนาได้รณรงค์และชี้ชัดว่าบุหรี่เป็นสิ่งที่ไม่ดี เป็นฮาลอม(กฎบัญญัติห้าม ที่มุกัลลัฟ (มุสลิมผู้อยู่ในศาสนนิติภาวะ) ทุกคนต้องละเว้น) ตามหลักศาสนาอิสลาม
3.เกิดความร่วมมือจากชุมชนโดยผู้นำศาสนาโดยโต๊ะอิหม่ามได้นำเรื่องโทษของบุหรี่ไปบรรยายในการแสดงธรรมของชุมชน
4.เกิดกฏกติกาในชุมชนที่จะไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่มัสยิด
5.กลุ่มเยาวชนที่หลงผิด เมื่อได้รับการบำบัดยาเสพติดหายดีแล้ว จะกลับมาช่วยงานโครงการ และมาร่วมให้ความรู้แก่เยาวชนในท้องถิ่นต่อไป
6.ประชาชนในชุมชนให้การยอมรับในกลุ่ม/คณะทำงานโครงการที่มีความโปร่งใส และทุ่มเทในการทำงาน
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-ทีมวิจัย -กลุ่มญาลันนัน -ผู้นำศาสนา
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 5 คนรายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง
1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์
2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสา
3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการและสัมภาษณ์ตามกรอบคำถามจากทีมวิจัยโครงการ
4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี
- สำรวจข้อมูลสถานการณ์การสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา จำนวน 160 คน
- ประชุมแกนนำเยาวชน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา เจ้าของร้านขายของชำที่จำหน่ายบุหรี่
- อบรมพัฒนาทักษะแกนนำคณะทำงานเยาวชนจิตอาสาฟ้าใสวัยทีน พี่สอนน้องระดับตำบล
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
-ทีมวิจีย -กลุ่มญาลันนัน
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 7 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง 1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อลงสัมภาษณ์ 2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสาบ้านกลาง ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี 3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ สัมภาษณ์กลุ่มญาลันนันตามกรอบที่ทีมงานได้วางไว้ 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดพิษภัยของบุหรี่
เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและทราบสาเหตุ รวมทั้งทราบถึงโทษที่เกี่ยวกับยาเสพติด
เยาวชนที่หลงผิด สามารถรับการบำบัด ณ โรงเรียนลูกผู้ชาย ที่บ้านมะรวด
- การจัดการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
-กลุ่มจิตอาสา -เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านกลาง
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
กลุ่มจิตอาสาญาลันนันที่เป็นตัวแทนเข้าร่วมการประชุมเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561
รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง
1.ประสานงาน นัดหมาย กลุ่มจิตอาสา เพื่อปรับแก้เอกสาร
2.เดินทางลงพื้นที่เพื่อพบกับจิตอาสาจาก ม.อ.ปัตานี - พื้นที่ทำงานของจิตอาสาบ้านพรุจูด ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
3.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ สัมภาษณ์กลุ่มญาลันนันตามกรอบที่ทีมงานได้วางไว้ 4.เดินทางกลับจาก พื้นที่ทำงานของจิตอาสา - ม.อ.ปัตตานี
1.เกิดความไว้วางใจกันระหว่างเด็กและเยาวชนกับพี่เลี้ยงโครงการโดยเด็กและเยาวชนเกิดความไว้วางใจกลุ่มพี่เลี้ยงโครงการมากกว่าผู้ปกครองในการเป็นที่ปรึกษาทั้งเรื่องการศึกษาและเรื่องส่วนตัว ซึ่งมีกรณีศึกษาที่ มีเยาวชนคนหนึ่งในหมู่บ้าน อยู่คนเดียวที่บ้าน พ่อเสียชีวิต แม่ทำงานประเทศมาเลเซีย ติดยาเสพติด ยาบ้า บุหรี่ แต่ไม่กล้าเล่าเรื่องนี้ให้กับผู้ปกครองฟังแต่มีความไว้ใจและกล้าที่จะปรึกษาปัญหานี้กับพี่เลี้ยงของโครงการ ซึ่งหลังจากนั้นพี่เลี้ยงของโครงการก็ได้ส่งเยาวชนคนนี้ไปบำบัดที่ศูนย์บำบัดยาเสพติด คลองแลหลังซึ่งเป็นความร่วมมือกับกอรมน. ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นที่ชื่นชมของผู้ปกครองและประชาชนในหมู่บ้าน
2.เกิดพื้นที่พบปะพูดคุยของเยาวชนในพื้นที่ โดยประธานโครงการได้ใช้พื้นที่ของบ้านตนเองเป็นลานแลหกเปลียนความคิดเห็นและเป็นแหล่งพบปะการทำประโยชน์หรือเป็นที่รวมตัวของเด็กเยาวชน
3.เกิดกติกาชุมชนร่วมกันว่าห้ามการจำหน่ายบุหรี่และยาเสพติดให้กับเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
4.เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มากขึ้น ดังจะเห็นจากการที่เยาวชนในชุมชนเห็นมาปลูกผักและออกกำลังกายกันมากขึ้นแทนที่จะไปมั่วสุมกัน และเยาวชนยังมีรายได้จากการเก็บผักที่ตนเองปลูกไปขายทำให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเองได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสามารถของตน
5.จากความจริงจังในการทำงานของกลุ่มจิตอาษาจึงทำให้เป็นที่ไว้วางใจของหน่อยงานต่างๆในพื้นที่ ทำให้หน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการทำงานเช่น สถานศึกษา ผู้นำชุมชน ท้องถิ่น
6.เกิดความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนโดยในทุกๆวันศุกร์จะมีกิจกรรมที่เยาวชนจะร่วมกันพัฒนาชุมชนเช่นการเก็บขยะ ตัดหญ้า และปรับภูมิทัศน์ในชุมชน
7.เกิดความร่วมมือของคนในชุมชนที่จะร่วมโครงการติดตามสอดส่องดูแลเด็กและเยวชน อย่างใกล้ชิด ให้กำลังใจ รอยยิ้ม สร้างคุณค่าให้กับเยาวชนที่หลงผิดให้กลับมามีคุณค่าและสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน
8.กลุ่มจิตอาสามีความเข้มแข็งมากขึ้นจากการทำงานและได้รับประสบการณ์ในการทำโครงการและมีความรู้ในการเขียนโครงการส่งผลให้เป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน รวมไปถึงผู้ป่วยที่ติดยาเสพติดสามารถเข้าหากลุ่มองค์กรได้อย่างรู้สึกปลอดภัย พร้อมสมัครใจในการเข้ารับการบำบัดยาเสพติด
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-กลุ่มญาลันนัน -เยาวชน
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
-ประสานงานคนในพื้นที่
-เดินทางจาก ม.อ.ปัตตานี
-ถึงบ้านคชศิลา พูดคุยสัมภาษณ์กับหัวหน้าโครงการ
-เข้าร่วมเวทีญาลันนัน กับหน่วยงานญาลันนัน
-วิทยากรให้ความรู้ เรื่องโทษของยาเสพติด สาเหตุของการติดยาเสพติด วิธีการเลิกติดยาเสพติด
-ถ่ายรูปหมุ่ร่วมกัน
-เดินทางกลับ ม.อ.ปัตตานี โดยสวัสดิภาพ
1.เกิดข้อตกลงของชุมชนและได้ข้อความร่วมมือกับคนในพื้นที่ และร้านค้าปลีกในหมู่บ้าน โดยให้มีการยกเลิกการขายบุหรี่ในร้านค้า ที่อยู่ในหมู่บ้านทั้งหมด โดยได้ยกเลิกการขายบุหรี่ตลอดไป 2.เนื่องจากในหมู่ที่4 บ้านคชศิลาเป็นชุมชนที่มีประชาชนที่นับถือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลามรวมกัน จากการทำโครงการครั้งนี้ทำให้ประชาชนในพื้นที่เห็นถึงความตั้งใจจริงของประธานกลุ่มที่มีความทุ่มเท จึงหันมาให้การสนับสนุน และเป็นที่ยอมรับของประชาชนในท้องถื่น 3.เกิดสัญญาประชาคมที่จะร่วมกันเลิกยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติดทั้งหลายตลอดไป และมีผู้พิการ จำนวน 1 คน ที่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม เลิกบุหรี่ได้ 2 เดือน มีสุขภาพที่ดีขึ้น หน้าตาสดชื่นสดใสมากยิ่งขึ้น สัญญาว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่อีกเลยตลอดไป 4.ประชาชนในหมู่บ้านมีทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่ที่เปลี่ยนแปลงจากในอดีต เห็นว่าการสูบบุหรี่เป็นการทำร้ายผู้อื่นและเด็ก จึงเกิดความละอายและเกรงใจที่จะสูบบุหรี่
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อติดตามประเมินผลโครงการ
การนำเสนอผลการประเมินครั้งนี้จะนำเสนอผลการประเมินตามคำถามการประเมิน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 การประเมินศักยภาพ/ความสามารถของกลุ่มจิตอาสาญาลันนัน
ส่วนที่ 2 บทบาทของพี่เลี้ยงกองทุนฯ
ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากโครงการฯ/แผนงาน
ส่วนที่ 4 คุณค่าของโครงการฯ/แผนงาน
ส่วนที่ 5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จและอุปสรรคในการจัดทำโครงการ
ส่วนที่ 6 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการฯโดยใช้กลไกกองทุนหมู่บ้าน
อยู่ระหว่างการดำเนินงานโครงการ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
กลุ่มจิตอาสาญาลันนัน จำนวน 2 คน
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมนักวิจัย
-
-
-
เพื่อศึกษารายละเอียดของโครงการและวางกรอบงานอย่างคร่าวๆ
-
ได้วางแผนการจัดทำข้อเสนอโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-ผู้รับผิดชอบโครงการ -ทีมงานวิจัย
-
-
-