สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุภัทร์ อินประดับ (0897396223)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันด้วยสภาพของเศรษฐกิจที่ต้องมีการต่อสู้ดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดในสังคม ทำให้ผู้ปกครองต้องหารายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายของครอบครัวทำให้ไม่มีเวลาในการดูแลบุตรหลานทำให้ร้อยละ 30 ของนักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้าเป็นประจำ ร้อยละ 20 ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าในบางวัน ตลอดจนวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนต้องซื้อจากตลาดซึ่งอาจจะมีสารปนเปื้อนและไม่ปลอดภัยต่อการรับประทานของนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมผลผลิตสำหรับการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและตามหลักของอาหารปลอดภัย
  3. เพื่อส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน
  4. เพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมแปลงดินเพาะปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
  2. การเพาะเห็ดในโรงเรือน
  3. การทำปุ๋ยอินทรีย์
  4. เตรียมล้างบ่อซีเมนต์เพื่อลงปลาดุก
  5. เก็บผลผลิตเห็ดให้กับโรงอาหารโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนในโรงเรียน 128
ผู้ปกครอง 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมแปลงดินเพาะปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

วันที่ 8 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนชั้นประถมศึกษา1-6 จำนวน 128 คน หมุนเวียนช่วยกันเตรียมแปลงดินสำหรับเพาะปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 10แปลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีแปลงผัก จำนวน 10แปลง สำหรับใช้ปลูกผักปลอดสารพิษ

2.นักเรียน 128 คน มีส่วนร่วมในการเตรียมแปลงผัก ทำให้ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

 

182 0

2. การทำปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 16 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-ุ6 จำนวน 46 คน ได้ร่วมกันทำปุ๋ยอินทรีย์โดยใช้วัสดุที่มีในโรงเรียน เช่น หญ้าแห้ง ใบไม้ และจากชุมชน เช่น มูลวัว มูลไก่ มาเป็นส่วนผสมในการทำปุ๋ยอินทรีย์ ทำให้มีปุ๋ยอินทรีญืที่เกิดจากเด็กนักเรียนที่ช่วยกันทำจนได้ปุ๋ย จำนวน 60 กิโลกรัม เพื่อให้ในการปลูกผัก เช่น ผักบุ้ง คะน้า และผักกาดขาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนชั้นประถม 4-6 จำนวน 46 คน ร่วมกันผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้ จำนวน 60 กิโลกรัม

2.นักเรียนมีความรู้ในการทำปุ๋ยอินทรีย์

3.โรงเรียนวัดปรางแก้ว สามารถจัดการขยะอินทรีย์ มาเป็นประโยชนืในการทำปุ๋ย ทำให้ลดขยะในโรงเรียน

 

182 0

3. ดูแลบำรุงรักษาผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ผักกาดขาว

วันที่ 21 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียน จำนวน 128 คน ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีที่6 มีส่วนในการรับผิดชอบแปลงผักจำนวน 10แปลง โดยมีการแบ่งเวรในการดูแล รดน้ำผัก การใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืช โดยมีชนิดผักที่ปลูกในแปลง เช่น ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ผักกาดขาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผักที่ปลูกลงแปลง เช่น ผักบุ้ง คะน้า ผักกาดขาว ได้จำนวน 10แปลง

2.นักเรียน 128 คน มีส่วนร่วมในการดูแลแปลงผักจนกว่าจะเก็บได้ ทำให้นักเรียนมีความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ

3.โรงเรียนมีพื้นที่ในการผลิตผักปลอดสารพิษ

 

182 0

4. เตรียมล้างบ่อซีเมนต์เพื่อลงปลาดุก

วันที่ 22 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 17 คน ได้ช่วยกันเตรียมบ่อสำหรับการเลี้ยงปลาดุกพันธุ์รัฐเซีย จำนวน 400 ตัว

2.ครูให้ความรู้กับนักเรียนในการเลี้ยงปลาดุก แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบการเลี้ยงปลา เช่น การให้อาหาร การปล่อยน้ำเสีย ตลอดระยะเวลาในการเลี้ยงปลาาดุกจำนวน 3เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีบ่อปลาดุก จำนวน ....3.....บ่อในรูปแบบบ่อซีเมนต์ และปล่อยพันธุ์ปลาดุกรัฐเซีย จำนวน.....400.....ตัว

2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 17 คน มีหน้าที่ในการรับผิดชอบการเลี้ยงปลาดุก ตลอดระยะเวลา 3เดือน

 

182 0

5. เก็บผลผลิตผักปลอดสารพิษ

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นศึกษาปีที่4 ช่วยกันเก็บผักปลอดสารพิษ เช่น บุ้งบุ้ง ผักคะน้า และผักกาดขาว ส่งให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ผลผลิตที่เก็บได้ จำนวน 4 กิโลกรัม/สัปดาห์

2.แม่ครัวนำผลผลิตจากเห็ดที่เก็บได้ จัดทำเป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ในเมนูที่หลากหลาย เช่น ต้มยำเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาหารกลางวันของนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาของโรงเรียนวัดปรางแก้ว มีผักปลอดสารพิษ จำนวน 4 กิโลกรัม/สัปดาห์ มาเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันทำให้เด็กนักเรียนได้ทานผักเพิ่มมากขึ้น และผักที่ปลูกแบบอินทรีย์ทำให้มีความปลอดภัยต่อนักเรียนในการบริโภค

 

182 0

6. การเพาะเห็ดในโรงเรือน

วันที่ 8 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 ช่วยกันเพาะเห็ดนางฟ้า จำนวน 300 ก้อน

2.นักเรียนมีการแบ่งหน้าที่ในการดูแลเห็ดนางฟ้าที่เพาะไว้ เช่น การรดน้ำ การกำจัดแมลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีเห็ดนางฟ้าที่เพาะไว้ จำนวน 300 ก้อน รอการเก็บเกี่ยว

2.นักเรียนมีความรู้ในการเพาะเห็ดนางฟ้า

 

182 0

7. เก็บผลผลิตเห็ดให้กับโรงอาหารโรงเรียน

วันที่ 1 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นศึกษาปีที่4 ช่วยกันเก็บเห็ดผลผลิตเห็ดนางฟ้าส่งให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ผลผลิตที่เก็บได้ จำนวน 4 กิโลกรัม/สัปดาห์

2.แม่ครัวนำผลผลิตจากเห็ดที่เก็บได้ จัดทำเป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ในเมนูที่หลากหลาย เช่น ต้มยำเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาหารกลางวันของนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาของโรงเรียนวัดปรางแก้ว มีผลผลิตเห็ดนางฟ้า ที่เก็บได้จำนวน 4 กิโลกรัม/สัปดาห์ มาเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันทำให้เด็กนักเรียนได้ทานผักเพิ่มมากขึ้น และเห็ดนางฟ้าที่นำมาเป็นวัตถุดิบมีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี

 

182 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมผลผลิตสำหรับการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันของนักเรียน
0.00 100.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและตามหลักของอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและอาหารปลอดภัย
0.00 100.00

สมาธิในการเรียนและผลการเรียน

3 เพื่อส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีรายได้ระหว่างเรียน
0.00 100.00

 

4 เพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการการเรียนรู้
0.00 100.00

ครัวเรือนต้นแบบ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 178
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนในโรงเรียน 128
ผู้ปกครอง 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมผลผลิตสำหรับการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันให้กับนักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและตามหลักของอาหารปลอดภัย (3) เพื่อส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน (4) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมแปลงดินเพาะปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน (2) การเพาะเห็ดในโรงเรือน (3) การทำปุ๋ยอินทรีย์ (4) เตรียมล้างบ่อซีเมนต์เพื่อลงปลาดุก (5) เก็บผลผลิตเห็ดให้กับโรงอาหารโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุภัทร์ อินประดับ (0897396223) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด