แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้
รหัสสัญญา 59-ข-032 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1 สื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนสังคมเพื่อการเปลี่ยนแปลง
2.สื่อในยุค 4.0 ต้องทำไปพร้อมๆกัน ออนไล ออนกราวด์ ออนแอร์ ร่วมกับสื่อใหม่ เช่น facebook
3. ต้องมองชุมชนเป็นแหล่งข้อมูลและต้องดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
4. การสร้างตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อ
5. การเปลี่ยนแปลงสังคมไม่จำเป็นต้องคนเยอะ แต่เป็นกลุ่มคนที่มีความมุ่งมั่นและทำจริง
6.รูปแบบเครือข่ายสื่อสร้างเสริมสุขภาวะเพื่อการขับเคลื่อนสังคมเพื่อไปสู่การเปลี่ยนแปลง
7.ระบบนิเวศน์ของการเปลี่ยนแปลง
เกิดจากการถอดบทเรียนร่วมของกองบรรณาธิการร่วม และเครือข่ายสื่อ 8จังหวัด วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโครงการ และข้อมูลสถานการณ์การสื่อสารชุมชน
นำความรู้ใหม่และข้อค้นพบพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์การสื่อสารที่สอดคล้องกับบริบทและความเป็นจริงของชุมชนสู่การเปลี่ยนแปลงได้จริงในระยะต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
เกิดรูปแบบเครือข่ายสื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ และกองบรรณาธิการสื่อสร้างสุขภาคใต้
เครือข่ายสื่อ 8 จังหวัดภาคใต้ คือ ปัตตานี พัทลุง ตรัง สงขลา นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ ชุมพร
-ขยายเครือข่ายครบทั้ง14 จังหวัดภาคใต้
-สร้าง ตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อชุมชน
-พัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การเชื่อมโยงสื่อในทุกแพลทฟอร์มเช่น การใช้สื่อ ออนแอร์ ออนไลน์ ออนกราวด์
การเชื่อมโยงสื่อเพื่อการช่วยเหลือวิกฤติน้ำท่วมภาคใต้ปี 2559/60
พัฒนาศักยภาพให้เป็นมืออาขีพ และยังยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
รูปแบบการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
องค์ประกอบที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง เช่น ภาวะผู้นำ ควมมรู้และงานวิจัย เรื่องเล่าและสื่อ นโยบาย วิสาหกิจเพื่อชุมชน เครือข่ายฐานรากชุมชน
สร้างการขับเคลื่อนอน่างต่อเนื่องโดยใช้ประเด็นที่ถูกคัดกรองจากพื่นที่ในมิติของการเปลี่ยนแปลงสุขภาวะที่ดีขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
ศูนย์ช่วยเหลือภัยพิบัติ กระจายทุกโซนพื่นที่ จังหวัดนครศรีฯ รวมทั้งเครือข่ายต่างจังหวัดในบางพื้นที่
ศูนย์ช่วยเหลือภัยพิบัติ 6 เครือข่าย คือเครือข่ายลุมน้ำปากพนัง เครือข่ายลุมน้ำตาปี เครือข่ายลุ่มน้ำนครตรัง เครือข่ายเทือกเขารามโรม เครือข่ายลุมน้ำคลองกราย เครือข่ายเมืองหัวไทร
พัฒนาศักยภาพ สามารถเขียนแผนที่ทำมือ แผนรับมือภัยพิบัติ เกิดศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระดับพื่นที่และระดับจังหวัด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
แหล่งเรียนรู้ด้านอาหาร ความมั่นคงของมนุษย์ การแพทย์พหุวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน
พื้นรุปธรรม การท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่ ธรรมนูญสุขภาพ ตำบลนาไม้ไผ่ จ.นครศรีฯ ยทธศาสตร์อาหาร 4 ตำบล คือ ต.ไสหร้า ต.จันดี ต. เขาแก้ว ต.หูล่อง จ.นครศรีฯ
พัฒนาสู่นโยบายสาธารณะ ธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
สื่อสารให้ประชาชนตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้สารเคมีผลิตอาหารและเรื่องของพลังงานทางเลือก พลังงานทดแทน
จังหวัดพัทลุงในเรื่องการใช้พลังงานทดแทนการอนุรักษ์พันธ์ข้าวพื้นเมือง ข้าวสังหยด ที่ผลิตโดยไม่ใช้สรรเคมี
สื่อสารต่อเนื่องสื่อสารสร้างความรู้จากพื้นที่รูปธรรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
เครือข่ายงดเหล้ากับประเด็นปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่กับเยาวชน สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม ลดอุบัติเหต
กิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา
ขยายผลสู่พื้นที่อื่นๆอย่างต่อเนื่อง สร้างเป้าหมายร่วมในกลุ่มเครือข่ายและเชื่อมโยงกับองค์กรอื่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
สวนสมุนไพรเก้ารส ตำบลจันดี อ.ฉวาง เพื่อการดูแลสุขภาพ
พื้นที่แหล่งเรียนรู้รูปธรรม ต.จันดี
สื่อสาร การอนุรักษ์พืชสมุนไพรเพื่อการรักษาโรค และอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
สื่อสารเรื่องราวของชุมชน ของคนตัวเล็กตัวน้อยได้มีช่องทางการสื่อสารเรื่องราวของตัวเอง
กิจกรรมชุมชน เช่นวันเด็ก กิจกรรมร่วมของชุมชน ข่าวสารความเดือดร้อนของชุมชน ลงหน้าเพจสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช
กำหนดเป็นบทบาทที่สื่อชุมชนต้องทำอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อเปิดโแกาสให้คนตัวเล็กตัวน้อยในสังคม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
สื่อสารการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ 4 ประเด็น คือความมั่นคงด้านอาหาร ความมั่นคงของมนุษย์แพทย์พหุวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดกระบี่เป็นนโยบายสาธารณะ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
สื่อสารการขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรมและความรู้จากแต่ละพื้นที่ที่เกิดความสำเร็จ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
ยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายสื่อสาธารณะกับการสร้างเสริมสุขภาวะในทุกมิติ
เกิดเครือข่ายสื่อ ที่สื่อสารเรื่องราวสุขภาวะ 8 จังหวัด
พัฒนายุทธศาสตร์ขยายเครือข่ายสื่อให้ครบทั้ง 14 จังหวัด
ยุทธศาตร์การสร้างตัวชีวัดจริยธรรมสื่อชุมชนเพื่อกำกับตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
แผนพ้ฒนาเครือข่ายสื่อ ทำสื่ออย่างมืออาชีพ
ออกแบบปฏิบัติการร่วมและใช้พื้นที่การปฏิบัติการร่วม
ข้อตกกลงร่วมของกองบรรณาธิการร่วมจากเวทีการถอดบทเรียนโครงการ
สร้างบรรทัดฐานการทำสื่อ และการนำสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นสื่อที่สร้างสรร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
สื่อสารการจัดทำธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่สู่การรับรู้ของสาธารณะ
ต.นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช
เป็นบทบาทหน้าที่ของสื่อชุมชนต้องสื่อสารเพิ่อสร้างความเข้าใจ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
การเชื่อมโยงระหว่างภาคีพัฒนาที่สนับสนุนการพัฒนา เชื่อมโยงงานระหว่างเครือข่ายให้เกิดการบูรณาการร่วมทุกมิติ การสื่อสารกับบุคคลระดับแกนนำ หน่วยงานองค์กร ภาครัฐ เอกชน และสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สสส. พอช. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สำนักงานจังหวัด สาธารณะสุขจังหวัด หัวหน้าสนง.ปภจังหวัด ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด คณะทำงานสมัชชสุขภาพจังหวัด กศน.จังหวัด ท้องถิ่น
เป็นนโยบายหลักของสื่อชุมชนในการสร้างการเชื่อมโยงประสานคน บูรณาการงาน จัดให้เกิดการพบปะพูดคุยสร้างความเข้าใจระหว่างองค์กรหน่วยงาน ที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
เรียนรู้บริบทของชุมชน จุดอ่อนจุดแข็ง ของแต่ละพื้นที่ การยอมรับต่อกันของคนในพื้นที่ การลดข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น
สื่อสารความเดือร้อน เร่งด่วน เช่นช่วงภัยพิบัติ กับหน่วยงานที่เกี่ยวนำไปสู่การแก้ปัญหา และช่วยเหลือชุมชนอย่างทันเวลา
ทำอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
ทุนทรัพยากรบุคคลในพื้นที่เป็นแกนนำหลักในการขับเคลือนสังคม ในประเด็นงานต่างๆ
ผู้สื่อขาวอาสาสมัครชุมชน นำเสนอเรื่องราวของชุมชนตัวเอง
ชักชวนบุคลากรอาสาเพิ่ม ใช้ทุนทรัพยากรให้เกิดประโยชน์
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
มีการสื่อสารเชื่อมโยงและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายสม่ำเสมอ
รายการวิทยุกินอิ่มนอนอุ่น ยังดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นกลไกเชื่อมโยงประเด็นงานระหว่างคนทำสื่อด้วยกันและส่งต่อข่าวสารผ่านรายการ
ทำอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
มีการถอดบทเรียนโครงการ ได้ชุดความรู้ และแนวคิดใหม่ในการสร้างสรรสื่อชุมชน
ความรู้เรื่องการทำตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อชุมชน
พัฒนาศักภาพสื่อ และกำหนดกติกาเพือกำกับดูแลกันเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
เรียนรู้การจัดการบริหารโครงการ ได้รับการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของ สจรส.มอ. ในการวิเคราะห์โครงการ
เครือข่ายพัฒนาสื่อ ส่งทีมงานเข้าฝึกอบรมกับสจรส.มอ. เพิ่มทักษะการจัดการโครงการ สามารถกำกับทิศทางการดำเนินโครงการให้บรรลุเป้าหมาย
บุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ ให้กับทีมงาน เสริมศักยภาพทีมงานและสร้างความเข้าใจที่เท่าเทียมกันเพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดประโยชน์สูงสุด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
กลุ่มสื่อและเครือข่ายมีความภาคภูมิใจในการมีส่วนช่วยเหลือสังคมตามบทบาทที่ถนัด และโครงการเอื้ออำนวยให้คิดพัฒนาคนทำสื่อและการสร้างสรรสื่อสารข้อเท็จจริงสู่สังคม
เครือข่ายสื่ือมีสัมพันธภาพที่ดี มีความรักในหมูคณะรู้สึกตระหนักกับหน้าที่ผู้ทำการสื่อสาร การขับเคลื่อนสังคมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม
กำหนดยุทธศาสตร์ด้ารการสื่อสารชุมชนในระยะต่อไปในเรื่องการสร้างเครือข่ายเพิ่มให้ครบ 14 จังหวัดภาคใต้ พัฒนาศักภาพคนทำสื่อให้เป็นมืออาชีพ สร้างตัวชี้วัดสื่อชุมชนเพื่อการกำกับดูแลกันเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
นักสื่อสารเรียนรู้ปัญหาสังคมทั้งความขัดแย้งของบุคคล การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ความเห็นแก่ตัวของคนในสังคม และเรียนรู้ในด้านดีความรักสามัคคี จิตอาสาที่ยังมีอยู่ในสังคม ซึงสื่อเป็นส่วนสำคัญในการช่วยสร้างสมดุลให้กับสังคม
การสื่อสาร การช่วยเหลือผู้ประสบภัย สื่อสารรายการวิทยุ กินอิ่มนอนอุ่น ในประเด็นต่างให้สังคมได้รับรู้สังคม
พัฒนาประเด็นการสื่อสาร ด้วยข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือ ไม่สื่อสารให้เกิดความขัดแย้งของสังคม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
สังคมเกิดการเรียนรู้และปรับตัว เกิดความเข้าใจในการดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายและพอเพียง
สภาวะทางเศรฐกิจที่มีผลกระทบ กับวิถีชีวิต ตระหนักถึงความเรียบง่ายและพอเพียง
สื่อสารสนับสนุนสังคมใช้ชีวิตเรียบง่ายและพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
ในชุมชนที่มีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เข้าใจ มีเป้าหมายร่่วม และเกิดศรัทธาต่อกัน จะเห็นความเอื้ออาทรอย่างชัดเจน
ภาวะวิกฤติจากปรากฎการณ์น้ำท่วม จะเห็นมิติขิงความเอื้ออาทร ของสังคมอย่างชัดเจน
สื่อสารสนับสนุนให้มีความเอื้อาทรของสังคม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
การเรียนรู้กระบวนการทำงาน สังคม เกืดการจัดการความรู้ ที่สามารถนำไปสู่การตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูล ด้วยเหตด้วยผล
การยอมรับของเครือข่ายภายนอก องค์กรภาคีอื่นให้การยอมรับ ให้ทีมสื่อ เข้าไปทำการสื่อสารเรื่องราว นำไปเผยแพร่ให้เกิดการเรียนรู้ของสังคมในวงกว้าง
ทำอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายสื่อสาธารณะภาคใต้
รหัสสัญญา 59-ข-032 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2559 - 30 มิถุนายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | 1 สื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนสังคมเพื่อการเปลี่ยนแปลง 2.สื่อในยุค 4.0 ต้องทำไปพร้อมๆกัน ออนไล ออนกราวด์ ออนแอร์ ร่วมกับสื่อใหม่ เช่น facebook 3. ต้องมองชุมชนเป็นแหล่งข้อมูลและต้องดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 4. การสร้างตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อ 5. การเปลี่ยนแปลงสังคมไม่จำเป็นต้องคนเยอะ แต่เป็นกลุ่มคนที่มีความมุ่งมั่นและทำจริง 6.รูปแบบเครือข่ายสื่อสร้างเสริมสุขภาวะเพื่อการขับเคลื่อนสังคมเพื่อไปสู่การเปลี่ยนแปลง 7.ระบบนิเวศน์ของการเปลี่ยนแปลง |
เกิดจากการถอดบทเรียนร่วมของกองบรรณาธิการร่วม และเครือข่ายสื่อ 8จังหวัด วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโครงการ และข้อมูลสถานการณ์การสื่อสารชุมชน |
นำความรู้ใหม่และข้อค้นพบพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์การสื่อสารที่สอดคล้องกับบริบทและความเป็นจริงของชุมชนสู่การเปลี่ยนแปลงได้จริงในระยะต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | เกิดรูปแบบเครือข่ายสื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ และกองบรรณาธิการสื่อสร้างสุขภาคใต้ |
เครือข่ายสื่อ 8 จังหวัดภาคใต้ คือ ปัตตานี พัทลุง ตรัง สงขลา นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี กระบี่ ชุมพร |
-ขยายเครือข่ายครบทั้ง14 จังหวัดภาคใต้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การเชื่อมโยงสื่อในทุกแพลทฟอร์มเช่น การใช้สื่อ ออนแอร์ ออนไลน์ ออนกราวด์ |
การเชื่อมโยงสื่อเพื่อการช่วยเหลือวิกฤติน้ำท่วมภาคใต้ปี 2559/60 |
พัฒนาศักยภาพให้เป็นมืออาขีพ และยังยืน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | รูปแบบการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม |
องค์ประกอบที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง เช่น ภาวะผู้นำ ควมมรู้และงานวิจัย เรื่องเล่าและสื่อ นโยบาย วิสาหกิจเพื่อชุมชน เครือข่ายฐานรากชุมชน |
สร้างการขับเคลื่อนอน่างต่อเนื่องโดยใช้ประเด็นที่ถูกคัดกรองจากพื่นที่ในมิติของการเปลี่ยนแปลงสุขภาวะที่ดีขึ้น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | ศูนย์ช่วยเหลือภัยพิบัติ กระจายทุกโซนพื่นที่ จังหวัดนครศรีฯ รวมทั้งเครือข่ายต่างจังหวัดในบางพื้นที่ |
ศูนย์ช่วยเหลือภัยพิบัติ 6 เครือข่าย คือเครือข่ายลุมน้ำปากพนัง เครือข่ายลุมน้ำตาปี เครือข่ายลุ่มน้ำนครตรัง เครือข่ายเทือกเขารามโรม เครือข่ายลุมน้ำคลองกราย เครือข่ายเมืองหัวไทร |
พัฒนาศักยภาพ สามารถเขียนแผนที่ทำมือ แผนรับมือภัยพิบัติ เกิดศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระดับพื่นที่และระดับจังหวัด |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | แหล่งเรียนรู้ด้านอาหาร ความมั่นคงของมนุษย์ การแพทย์พหุวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน |
พื้นรุปธรรม การท่องเที่ยวชุมชนจังหวัดกระบี่ ธรรมนูญสุขภาพ ตำบลนาไม้ไผ่ จ.นครศรีฯ ยทธศาสตร์อาหาร 4 ตำบล คือ ต.ไสหร้า ต.จันดี ต. เขาแก้ว ต.หูล่อง จ.นครศรีฯ |
พัฒนาสู่นโยบายสาธารณะ ธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค | สื่อสารให้ประชาชนตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้สารเคมีผลิตอาหารและเรื่องของพลังงานทางเลือก พลังงานทดแทน |
จังหวัดพัทลุงในเรื่องการใช้พลังงานทดแทนการอนุรักษ์พันธ์ข้าวพื้นเมือง ข้าวสังหยด ที่ผลิตโดยไม่ใช้สรรเคมี |
สื่อสารต่อเนื่องสื่อสารสร้างความรู้จากพื้นที่รูปธรรม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ | เครือข่ายงดเหล้ากับประเด็นปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่กับเยาวชน สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม ลดอุบัติเหต |
กิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา |
ขยายผลสู่พื้นที่อื่นๆอย่างต่อเนื่อง สร้างเป้าหมายร่วมในกลุ่มเครือข่ายและเชื่อมโยงกับองค์กรอื่น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง | สวนสมุนไพรเก้ารส ตำบลจันดี อ.ฉวาง เพื่อการดูแลสุขภาพ |
พื้นที่แหล่งเรียนรู้รูปธรรม ต.จันดี |
สื่อสาร การอนุรักษ์พืชสมุนไพรเพื่อการรักษาโรค และอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา | สื่อสารเรื่องราวของชุมชน ของคนตัวเล็กตัวน้อยได้มีช่องทางการสื่อสารเรื่องราวของตัวเอง |
กิจกรรมชุมชน เช่นวันเด็ก กิจกรรมร่วมของชุมชน ข่าวสารความเดือดร้อนของชุมชน ลงหน้าเพจสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช |
กำหนดเป็นบทบาทที่สื่อชุมชนต้องทำอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอเพื่อเปิดโแกาสให้คนตัวเล็กตัวน้อยในสังคม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน | สื่อสารการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ 4 ประเด็น คือความมั่นคงด้านอาหาร ความมั่นคงของมนุษย์แพทย์พหุวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน |
การท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดกระบี่เป็นนโยบายสาธารณะ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด |
สื่อสารการขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรมและความรู้จากแต่ละพื้นที่ที่เกิดความสำเร็จ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน | ยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายสื่อสาธารณะกับการสร้างเสริมสุขภาวะในทุกมิติ |
เกิดเครือข่ายสื่อ ที่สื่อสารเรื่องราวสุขภาวะ 8 จังหวัด |
พัฒนายุทธศาสตร์ขยายเครือข่ายสื่อให้ครบทั้ง 14 จังหวัด ยุทธศาตร์การสร้างตัวชีวัดจริยธรรมสื่อชุมชนเพื่อกำกับตนเอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน | แผนพ้ฒนาเครือข่ายสื่อ ทำสื่ออย่างมืออาชีพ |
ข้อตกกลงร่วมของกองบรรณาธิการร่วมจากเวทีการถอดบทเรียนโครงการ |
สร้างบรรทัดฐานการทำสื่อ และการนำสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นสื่อที่สร้างสรร |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ | สื่อสารการจัดทำธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่สู่การรับรู้ของสาธารณะ |
ต.นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช |
เป็นบทบาทหน้าที่ของสื่อชุมชนต้องสื่อสารเพิ่อสร้างความเข้าใจ |
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | การเชื่อมโยงระหว่างภาคีพัฒนาที่สนับสนุนการพัฒนา เชื่อมโยงงานระหว่างเครือข่ายให้เกิดการบูรณาการร่วมทุกมิติ การสื่อสารกับบุคคลระดับแกนนำ หน่วยงานองค์กร ภาครัฐ เอกชน และสถานศึกษา |
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สสส. พอช. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สำนักงานจังหวัด สาธารณะสุขจังหวัด หัวหน้าสนง.ปภจังหวัด ขบวนองค์กรชุมชนจังหวัด คณะทำงานสมัชชสุขภาพจังหวัด กศน.จังหวัด ท้องถิ่น |
เป็นนโยบายหลักของสื่อชุมชนในการสร้างการเชื่อมโยงประสานคน บูรณาการงาน จัดให้เกิดการพบปะพูดคุยสร้างความเข้าใจระหว่างองค์กรหน่วยงาน ที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) | เรียนรู้บริบทของชุมชน จุดอ่อนจุดแข็ง ของแต่ละพื้นที่ การยอมรับต่อกันของคนในพื้นที่ การลดข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น |
สื่อสารความเดือร้อน เร่งด่วน เช่นช่วงภัยพิบัติ กับหน่วยงานที่เกี่ยวนำไปสู่การแก้ปัญหา และช่วยเหลือชุมชนอย่างทันเวลา |
ทำอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน | ทุนทรัพยากรบุคคลในพื้นที่เป็นแกนนำหลักในการขับเคลือนสังคม ในประเด็นงานต่างๆ |
ผู้สื่อขาวอาสาสมัครชุมชน นำเสนอเรื่องราวของชุมชนตัวเอง |
ชักชวนบุคลากรอาสาเพิ่ม ใช้ทุนทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง | มีการสื่อสารเชื่อมโยงและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายสม่ำเสมอ |
รายการวิทยุกินอิ่มนอนอุ่น ยังดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นกลไกเชื่อมโยงประเด็นงานระหว่างคนทำสื่อด้วยกันและส่งต่อข่าวสารผ่านรายการ |
ทำอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน | มีการถอดบทเรียนโครงการ ได้ชุดความรู้ และแนวคิดใหม่ในการสร้างสรรสื่อชุมชน |
ความรู้เรื่องการทำตัวชี้วัดจริยธรรมสื่อชุมชน |
พัฒนาศักภาพสื่อ และกำหนดกติกาเพือกำกับดูแลกันเอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ | เรียนรู้การจัดการบริหารโครงการ ได้รับการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของ สจรส.มอ. ในการวิเคราะห์โครงการ |
เครือข่ายพัฒนาสื่อ ส่งทีมงานเข้าฝึกอบรมกับสจรส.มอ. เพิ่มทักษะการจัดการโครงการ สามารถกำกับทิศทางการดำเนินโครงการให้บรรลุเป้าหมาย |
บุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ ให้กับทีมงาน เสริมศักยภาพทีมงานและสร้างความเข้าใจที่เท่าเทียมกันเพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดประโยชน์สูงสุด |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | กลุ่มสื่อและเครือข่ายมีความภาคภูมิใจในการมีส่วนช่วยเหลือสังคมตามบทบาทที่ถนัด และโครงการเอื้ออำนวยให้คิดพัฒนาคนทำสื่อและการสร้างสรรสื่อสารข้อเท็จจริงสู่สังคม |
เครือข่ายสื่ือมีสัมพันธภาพที่ดี มีความรักในหมูคณะรู้สึกตระหนักกับหน้าที่ผู้ทำการสื่อสาร การขับเคลื่อนสังคมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสังคม |
กำหนดยุทธศาสตร์ด้ารการสื่อสารชุมชนในระยะต่อไปในเรื่องการสร้างเครือข่ายเพิ่มให้ครบ 14 จังหวัดภาคใต้ พัฒนาศักภาพคนทำสื่อให้เป็นมืออาชีพ สร้างตัวชี้วัดสื่อชุมชนเพื่อการกำกับดูแลกันเอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล | นักสื่อสารเรียนรู้ปัญหาสังคมทั้งความขัดแย้งของบุคคล การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ความเห็นแก่ตัวของคนในสังคม และเรียนรู้ในด้านดีความรักสามัคคี จิตอาสาที่ยังมีอยู่ในสังคม ซึงสื่อเป็นส่วนสำคัญในการช่วยสร้างสมดุลให้กับสังคม |
การสื่อสาร การช่วยเหลือผู้ประสบภัย สื่อสารรายการวิทยุ กินอิ่มนอนอุ่น ในประเด็นต่างให้สังคมได้รับรู้สังคม |
พัฒนาประเด็นการสื่อสาร ด้วยข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือ ไม่สื่อสารให้เกิดความขัดแย้งของสังคม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง | สังคมเกิดการเรียนรู้และปรับตัว เกิดความเข้าใจในการดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายและพอเพียง |
สภาวะทางเศรฐกิจที่มีผลกระทบ กับวิถีชีวิต ตระหนักถึงความเรียบง่ายและพอเพียง |
สื่อสารสนับสนุนสังคมใช้ชีวิตเรียบง่ายและพอเพียง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร | ในชุมชนที่มีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เข้าใจ มีเป้าหมายร่่วม และเกิดศรัทธาต่อกัน จะเห็นความเอื้ออาทรอย่างชัดเจน |
ภาวะวิกฤติจากปรากฎการณ์น้ำท่วม จะเห็นมิติขิงความเอื้ออาทร ของสังคมอย่างชัดเจน |
สื่อสารสนับสนุนให้มีความเอื้อาทรของสังคม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา | การเรียนรู้กระบวนการทำงาน สังคม เกืดการจัดการความรู้ ที่สามารถนำไปสู่การตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูล ด้วยเหตด้วยผล |
การยอมรับของเครือข่ายภายนอก องค์กรภาคีอื่นให้การยอมรับ ให้ทีมสื่อ เข้าไปทำการสื่อสารเรื่องราว นำไปเผยแพร่ให้เกิดการเรียนรู้ของสังคมในวงกว้าง |
ทำอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||