แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) ”
หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)
ที่อยู่ หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็ก วัยเรียนเป็นวัยที่กําลัง
เจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและ
สมอง จึงต้องการสารอาหาร
และพลังงานเพื่อใช้ในการ
เจริญเติบโต เด็กวัยนี้ควรได้รับ
สารอาหารที่เพียงพอต่อความ
ต้องการของร่างกายโดยได้รับ
อาหารครบทั้ง 5 หมู่ วันละ 3
มื้อ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
(สารอาหารและความ
ปลอดภัย) หากเด็กได้รับ
สารอาหารไม่เพียงพอ จะทําให้
การเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย
และสมองไม่ได้เต็มศักยภาพ
ในทางตรงข้ามการบริโภค
อาหารที่มากเกินไปของเด็กจะ
นําไปสู่ภาวะโภชนาการเกิน
และโรคอ้วน ข้อมูลจาก ปี
2560 ในโรงเรียนบ้านนาจะ
แหน พบว่า เด็กที่มีน้ําหนักต่ํากว่าเกณฑ์มีอัตราร้อยละ 7-
10 อัตราโรคอ้วนโรงเรียน ร้อย
ละ 1-3 ปัจจัยที่มีอิทธิพล คือ
พฤติกรรมการบริโภคอาหารมื้อ
หลักและอาหารจานด่วนที่มี
ไขมันสูง ผักผลไม้น้อย อาหาร
ว่าง (ขนมหวานและขนมกรุบ
กรอบ) เครื่องดื่มรสหวาน
น้ําอัดลม รวมทั้งขาดกิจกรรม
การออกกําลังกาย ทางโรงเรียน
มีนโยบายด้านการสร้างเสริม
สุขภาพ แต่ยังไม่มีการ
ดําเนินการแก้ไขปัญหา
โภชนาการอย่างเป็นรูปธรรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเลี้ยงปลาดุก
- การปลูกผักสวนครัว
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม
30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนมีผัก เห็ด และปลาดุกร้อยละ60 ถูกจำหน่ายเพื่อนำไปประกอบอาหารให้นักเรียน
2.นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้การปลูกผัก การเพาะเห็ด และการเลี้ยงปลาดุกโดยลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว
วันที่ 11 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
นักเรียน10 คน ช่วยกันเก็บผลผลิต ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด รวม4 กก เพื่อมาประกอบอาหารให้กับนักเรียน เมนูผัดผักให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ปลูกผักกวางตุ้ง 4 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 7-8 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 89 กิโลกรัม
- ปลูกผักบุ่ง 4 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5-6 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 89 กิโลกรัม
10
0
2. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว
วันที่ 11 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
นักเรียน10 คน ช่วยกันเก็บผลผลิต ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด รวม4 กก เพื่อมาประกอบอาหารให้กับนักเรียน เมนูผัดผักให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลผลิตคือผักบุ้งและผักกาดส่งโรงครัวเพื่อปรุงอาหารให้นักเรียน
10
0
3. การปลูกผักสวนครัว
วันที่ 15 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ปรับปรุงสภาพดิน
2.ทำแปลงผักพร้อมใส่ปุ๋ย
3.เพาะเมล็ด
4.นำกล้าผักลงปลูกในแปลงผักที่เตรียมไว้
5.ดูแลรักษา รดน้ำ พรวนดิน กำจัดวัชพืช
6.เก็บผลผลิตเพื่อไปจำหน่ายให้โรงครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ปลูกผัก 3ชนิดได้แก่ ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด ผักที่ให้ผลผลิตแล้วได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาด
- ผลิตที่ได้
เพาะเห้ดจำนวน 200 ก้อน ได้เห็ดสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 4-5 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 70 กิโลกรัม
30
0
4. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 15 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.สร้างโรงเรือน
2.เพาะเชื้อเห็ด บรรจุใส่ถุงกับทีมศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
3.วางก้อนเห็ดในโรงเรือน
4.เก็บผลผลิต จำหน่างสู่โรงครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เก็บเห็ดนำมาจำหน่ายให้โรงครัวและผู้ปกครอง
20
0
5. การเลี้ยงปลาดุก
วันที่ 15 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ซื้ออุปกรณ์
2.ซ่อมแซมบ่อปลาดุก
3.ซื้อพันธุ์ปลาและอาหารปลา
4.ลงปลาในบ่อ
5.ดูแลให้อาหารอย่างสม่ำเสมอ
6.จับปลาดุกขายให้โรงครัวเพื่อประกอบอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ปลาดุกที่สามารถนำมาจำหน่ายให้โรงครัวเพื่อประกอบอาหารให้นักเรียน
- ผลผลิต ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 9 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 50 กิโลกรัม
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร
ตัวชี้วัด : 1.เด็กนักเรียน มี
ลักษณะร่างกาย
สูงขึ้น ตามเกณฑ์
ร้อยละ 20 เด็ก
นักเรียน มีลักษณะ
ร่างกาย น้ําหนัก
เพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์
ร้อยละ 10 ผู้เรียน
ร้อยละ 80 มีสุข
นิสัยที่ดีในการ
รับประทานอาหาร
80.00
2
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย
ตัวชี้วัด : 2.ผู้เรียนร้อยละ
100 ได้รับประทาน
อาหารที่มีคุณค่า
ทางโภชนาการ
80.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน
ตัวชี้วัด : 3.ผู้เรียนร้อยละ70 ได้รับการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราช
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม
30
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) ”
หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)
ที่อยู่ หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่5 ตำบลจะแหน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็ก วัยเรียนเป็นวัยที่กําลัง เจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและ สมอง จึงต้องการสารอาหาร และพลังงานเพื่อใช้ในการ เจริญเติบโต เด็กวัยนี้ควรได้รับ สารอาหารที่เพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกายโดยได้รับ อาหารครบทั้ง 5 หมู่ วันละ 3 มื้อ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (สารอาหารและความ ปลอดภัย) หากเด็กได้รับ สารอาหารไม่เพียงพอ จะทําให้ การเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย และสมองไม่ได้เต็มศักยภาพ ในทางตรงข้ามการบริโภค อาหารที่มากเกินไปของเด็กจะ นําไปสู่ภาวะโภชนาการเกิน และโรคอ้วน ข้อมูลจาก ปี 2560 ในโรงเรียนบ้านนาจะ แหน พบว่า เด็กที่มีน้ําหนักต่ํากว่าเกณฑ์มีอัตราร้อยละ 7- 10 อัตราโรคอ้วนโรงเรียน ร้อย ละ 1-3 ปัจจัยที่มีอิทธิพล คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารมื้อ หลักและอาหารจานด่วนที่มี ไขมันสูง ผักผลไม้น้อย อาหาร ว่าง (ขนมหวานและขนมกรุบ กรอบ) เครื่องดื่มรสหวาน น้ําอัดลม รวมทั้งขาดกิจกรรม การออกกําลังกาย ทางโรงเรียน มีนโยบายด้านการสร้างเสริม สุขภาพ แต่ยังไม่มีการ ดําเนินการแก้ไขปัญหา โภชนาการอย่างเป็นรูปธรรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเลี้ยงปลาดุก
- การปลูกผักสวนครัว
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม | 30 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนมีผัก เห็ด และปลาดุกร้อยละ60 ถูกจำหน่ายเพื่อนำไปประกอบอาหารให้นักเรียน 2.นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้การปลูกผัก การเพาะเห็ด และการเลี้ยงปลาดุกโดยลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำนักเรียน10 คน ช่วยกันเก็บผลผลิต ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด รวม4 กก เพื่อมาประกอบอาหารให้กับนักเรียน เมนูผัดผักให้กับนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
2. เก็บเกี่ยวผลผลิต(ผัก)สู่โรงครัว |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำนักเรียน10 คน ช่วยกันเก็บผลผลิต ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด รวม4 กก เพื่อมาประกอบอาหารให้กับนักเรียน เมนูผัดผักให้กับนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลผลิตคือผักบุ้งและผักกาดส่งโรงครัวเพื่อปรุงอาหารให้นักเรียน
|
10 | 0 |
3. การปลูกผักสวนครัว |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ปรับปรุงสภาพดิน 2.ทำแปลงผักพร้อมใส่ปุ๋ย 3.เพาะเมล็ด 4.นำกล้าผักลงปลูกในแปลงผักที่เตรียมไว้ 5.ดูแลรักษา รดน้ำ พรวนดิน กำจัดวัชพืช 6.เก็บผลผลิตเพื่อไปจำหน่ายให้โรงครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นปลูกผัก 3ชนิดได้แก่ ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาด ผักที่ให้ผลผลิตแล้วได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาด
|
30 | 0 |
4. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.สร้างโรงเรือน 2.เพาะเชื้อเห็ด บรรจุใส่ถุงกับทีมศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 3.วางก้อนเห็ดในโรงเรือน 4.เก็บผลผลิต จำหน่างสู่โรงครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเก็บเห็ดนำมาจำหน่ายให้โรงครัวและผู้ปกครอง
|
20 | 0 |
5. การเลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ซื้ออุปกรณ์ 2.ซ่อมแซมบ่อปลาดุก 3.ซื้อพันธุ์ปลาและอาหารปลา 4.ลงปลาในบ่อ 5.ดูแลให้อาหารอย่างสม่ำเสมอ 6.จับปลาดุกขายให้โรงครัวเพื่อประกอบอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ปลาดุกที่สามารถนำมาจำหน่ายให้โรงครัวเพื่อประกอบอาหารให้นักเรียน
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหาร กลางวัน ที่มีคุณค่าทาง โภชนาการบริโภคตลอดช่วง การศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้น ภายในโรงเรียนมาประกอบ อาหาร ตัวชี้วัด : 1.เด็กนักเรียน มี ลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็ก นักเรียน มีลักษณะ ร่างกาย น้ําหนัก เพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียน ร้อยละ 80 มีสุข นิสัยที่ดีในการ รับประทานอาหาร |
80.00 | |||
2 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ด้านผลิต อาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพ อนามัย ตัวชี้วัด : 2.ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทาน อาหารที่มีคุณค่า ทางโภชนาการ |
80.00 | |||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูร ณาการการเกษตรเศรฐกิจ พอเพียงตามศาสตร์ พระราชากับการเรียนการ สอน ตัวชี้วัด : 3.ผู้เรียนร้อยละ70 ได้รับการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราช |
70.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนใน กิจกรรมชุมนุม | 30 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านนาจะแหน (โรงเรียนบ้านนาจะแหน) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนุสนานิง หะยีสะแม (0870984851) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......