สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน) ”

หมู่ที่ 6 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดลคอเด เจะหมะ

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน)

ที่อยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันภาวะทุพโภชนาการในนักเรียนส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นอัตราการเจริญเติบโตไม่ถูกต้อง ทั้งเรื่องของน้ำหนักและส่วนสูง (เลี้ยงไม่โต) พฤติกรรมเปลี่ยน อย่างเช่นมีอารมณ์ฉุนเฉียวผิดปกติ ขี้เกียจ หรือวิตกกังวล สีผมและสีผิวเปลี่ยน สาเหตุสำคัญการเกิดภาวะทุพโภชนาการเป็นได้ทั้งการรับประทานอาหารไม่เพียงพอ ปัญหาการดูดซึมสารอาหารจากอาหาร การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก- ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ ดังนั้นทางโรงเรียน จึงได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษและส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง เพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการ
  2. เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ
  3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปลูกผักท้องถิ่นปลอดสารพิษระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
  4. เพื่ออนุรักษ์พืชพันธุ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมแปลง ลูกท่อซีเมนต์ในการปลูกผัก
  2. ลงปลูกต้นพันธ์ที่เตรียมไว้
  3. การจัดทำซุ้มครอบคลุมทางเดินให้ต้นกล้าที่ลงปลูก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครู 20
นักเรียน 250

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ลดภาวะทุพโภชนาการในนักเรียน
  • นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักสวนครัว
  • ชุมชนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการดำเนินงานโครงการ
  • ได้อนุรักษ์พืชพันธุ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมแปลง ลูกท่อซีเมนต์ในการปลูกผัก

วันที่ 25 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • วันที่ 27 กรกฎาคม 2562

    • เตรียมพื้นที่ในการวางบ่อซีเมนต์ โดยให้นักเรียนจำนวน 30 คน ร่วมกันเก็บขยะและร่วมกันถางหญ้า บริเวณข้างอาคารสำนักงานและหลังอาคารสำนักงาน
    • นักการภารโรงได้ช่วยเก็บความเรียบร้อย
  • วันที่ 28 กรกฎาคม

    • ลงหน้าดินปลูก โดยสั่งหน้าดินมา 2 กระบะ พร้อมปุ๋ยคอก 40 กระสอบ
    • นักเรียนทั้ง 30 คน ช่วยกันผสมดิน เพื่อเตรียมลงในบ่อซีเมนต์
  • วันที่ 29 กรกฎาคม

    • นักเรียนพร้อมด้วยครูและนักการภารโรง ช่วยกันขนดินลงบ่อซีเมนต์จำนวน 80 บ่อ เป็นที่เรียบร้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2.สอนให้เด็กรู้จักความสามัคคีในการทำกิจกรรมร่วมกัน
3. นักเรียนได้นำความรู้วิชาการงานอาชีพมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำกิจกรรมนี้
4. ครูและบุคลากรได้ใช้เวลาร่วมกัน

 

10 0

2. ลงปลูกต้นพันธ์ที่เตรียมไว้

วันที่ 3 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมต้นกล้าพันธู์ปลูก
- ต้นมะม่วงหิมพานต์ จำนวน 6 ชนิด ชนิดละ 15 ต้น
- ต้นจิกนา จำนวน 80 ต้น
- ต้นกล้าผักหวานป่า จำนวน 6 ต้น
ขั้นตอนการดำเนินงาน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 10 คน ช่วยกันปลูกต้นมะม่วงหิมพานต์
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 คน ช่วยกันปลูกต้นผักหวานป่า
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 คน ช่วยกันลงปลูกต้นจิกนาในบ่อซีเมนต์
โดยแต่ละขั้นตอน มีครูและนักการภารโรง ช่วยกันดูแลและควบคุมความเรียบร้อยของกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต

    • ผลผลิตที่ได้จากต้นมะม่วงหิมพานต์ป้อนเข้าสู่โรงอาหารตลอดโครงการ 1-2 กิโลกรัม
    • ผลผลิตที่ได้จากต้นจิกนาป้อนเข้าสู่โรงอาหารตลอดโครงการ 1-2 กิโลกรัม
    • ผลผลิตที่ได้จากต้นกล้าผักหวานป่าป้อนเข้าสู่โรงอาหารตลอดโครงการ 1-2 กิโลกรัม
  • ผลผลัพธ์

  1. มีต้นกล้าพันธุ์ไม้เพิ่มขึ้น บริเวณโรงเรียนจำนวน 176 ต้น
  2. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  3. ปลูกฝังให้นักเรียนรักธรรมชาติและสิ่งแวะล้อมมากยิ่งขึ้น
  4. นักเรียนได้เรียนรู้การทำกิจกรรมร่วมกัน รู้จักการมีส่วนร่วมและความสามัคคี
    5.คุณครูและบุคลากรในโรงเรียน ได้ทำกิจกรรมร่วมกันอย่างมีความสุข

 

0 0

3. การจัดทำซุ้มครอบคลุมทางเดินให้ต้นกล้าที่ลงปลูก

วันที่ 10 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียม ไม้ไผ่ในการทำซุ้มทางเดิน จำนวน 100 ลำ
- นักการภารโรง เตรียมการตัดไม้ไผ่ให้ออกเป็นส่วนตามที่เตรียมโครงร่างไว้
- เด็กนักเรียนจำนวน 10 คน ช่วยกันผูกเชือกสร้างซุ้มครอบต้นกล้า
- ครูและบุคลากรช่วยกัน จนแล้วเสร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดทำซุ้มไม้ไผ่ทางเดิน เพื่อสร้างร่มเงาให้ ให้ต้นกล้าเสร็จเรียบร้อย
2. นักเรียนได้นำทักษะวิชาการงานอาชีพมาใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดน้อยลง
250.00 250.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เขาร่วมโครงการมีแรงจูงใจในการปลูกผัก
250.00 250.00

นักเรียนให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

3 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปลูกผักท้องถิ่นปลอดสารพิษระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนละชุมชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปลูกผักในท้องถิ่น
0.00 250.00

นักเรียนให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

4 เพื่ออนุรักษ์พืชพันธุ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป
ตัวชี้วัด : มีการอนุรักษ์พันธ์ุพืชท้องถิ่นในโรงเรียน
0.00

มีพืชท้องถิ่นยู่ในชุมชนและไม่สูญพันธ์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 20
นักเรียน 250

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการ (2) เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ (3) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปลูกผักท้องถิ่นปลอดสารพิษระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (4) เพื่ออนุรักษ์พืชพันธุ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมแปลง ลูกท่อซีเมนต์ในการปลูกผัก (2) ลงปลูกต้นพันธ์ที่เตรียมไว้ (3) การจัดทำซุ้มครอบคลุมทางเดินให้ต้นกล้าที่ลงปลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดลคอเด เจะหมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด