แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) ”
หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัทมา จันทมณี (0936589812)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม)
ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กที่มีภาวะอ้วนหรือผอม จะเกิดผลกระทบต่อร่างกายและการเจริญเติบโตของเด็ก จากการสำรวจพบว่ามีเด็กผอม จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.49 มีเด็กอ้วน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 14.15นักเรียนร้อยละ 20มีพฤติกรรมเลือกและไม่ชอบรับประทานผัก และผลไม้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ
- เก็บเกี่ยวผลผลิตผักปลอดสารพิษ /เห็ดนางฟ้า ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้น ป.4 - ป.6
55
นักเรียนชั้น อนุบาล -ป.6
106
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนมีผลผลิตผักปลอดสารพิษและเห็ดนางฟ้าเพื่อนำไปทำเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
2.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ประโชน์ สะอาดและปลอดภัยจากสารพิษ
3.นักเรียนเห็นคุณค่าของอาหารที่มีประโยชน์และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 10 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูและนักการ จำนวน 4 คน วางแผนและปฏิบัติการทำโรงเรีอนเพาะเห็ดนางฟ้า จำนวน 1 โรงเรือน
2.ครูให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้า ตลอดจนการดูแลรักษา
3.ครูและนักเรียน นำก้อนเห็ดนางฟ้าวางเรียงบนชั้น ในโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าจำนวน 500 ก้อน
4.นักเรียนจำนวน 20 คน หมุนเวียนปฏิบัติการดูแลก้อนเห็ดนางฟ้า โดยการรดน้ำก้อนเห็ด เพื่อรักษาความชื้นตลอดอายุการให้ผลผลิตดอกเห็ดนางฟ้า และดูแลความสะอาดในโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.โรงเรียนได้ผลผลิตดอกเห็ดนางฟ้า เพื่อนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน
2.นักเรียนปฏิบัติการเพาะเห็ดนางฟ้า ดูแลรักษา ได้ตามขั้นตอนจนได้ผลผลิต
ผลลัพธ์
1.นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีวัสดุประกอบอาหารที่ปลอดภัย
2.นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าไปใช้ในการปฏิบัติจริงได้
3.นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจการปฏิบัติงาน
35
0
2. เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 11 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.นักเรียนชั้นป.4-6 จำนวน 20 คน เตรียมแปลงสำหรับปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 12 แปลง และล้อยางรถยนต์จำนวน 20 วงล้อ
2.ครูผู้รับผิดชอบโครงการให้ความรู้นักเรียนเรื่องกระบวนการขั้นตอนการเตรียมดินสำหรับปลูกผัก การใช้อุปกรณ์การเกษตร
3.นักเรียนปฏิบัติการเตรียมแปลงปลูกผักโดยการพรวนดิน และใส่ปุ๋ยในแปลงและล้อยางรถยนต์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต:
1.โรงเรียนมีพื้นที่แปลงผักจำนวน 12 แปลง และล้อยางรถยนต์ จำนวน 20 ล้อยาง
2.นักเรียนมีความรู้ และปฏิบัติการเตรียมแปลงปลูกผักได้
ผลลัพธ์:
1.นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารเคมีที่มีคุณภาพ
20
0
3. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
วันที่ 18 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูให้ความรู้และสาธิตการเพาะเมล็ดผัก ได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาดเขียวกวางตุ้ง ผักกาดขาว
2.นักเรียนจำนวน 20 คน ช่วยกันเพาะเมล็ด และปลูกผักบุ้ง ช่วยกันรดน้ำ
3.มอบหมายนักเรียนดูแล บำรุงรักษา ดดยการรดน้ำ กำจัดวัชพืช และใส่ปุ๋ย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.โรงเรียนมีผลผลิตผักปลอดสารพิษ เพื่อนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียน
2.นักเรียนปฏิบัติงานได้ตามขั้นตอน
ผลผลัพธ์
1.นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติการปลูกผักปลอดภัยสารพิษได้ด้วยตนเอง
2.นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
50
0
4. เก็บเกี่ยวผลผลิตผักปลอดสารพิษ /เห็ดนางฟ้า ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
วันที่ 25 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูผู้รับผิดชอบวางแผนการทำรายการอาหารกลางวันโดยใช้ผลผลิตผักปลอดสารพิษ และผลผลิตเห็ดนางฟ้า จากผลการปฏิบัติงานของนักเรียน
2.ปรับเปลี่ยนรายการอาหารกลางวันเพื่อใช้ผลผลิตผักปลอดสารพิษ และผลผลิตเห็ดนางฟ้า ได้แก่ แกงส้มผักบุ้ง ต้มยำไก่ใส่เห็ดนางฟ้า ซุปเห็ดนางฟ้า ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า
3.นักเรียนช่วยกันเก็บผลผิตผักปลอดสารพิษ และเห็ดนางฟ้าส่งต่อโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.ผักปลอดสารพิษได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดเขียวกวางตุ้ง เพื่อนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
2.เห็ดนางฟ้า สำหรับนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
ผลลัพธ์
1.นักเรียนทุกคน ได้รับประทานผักปลอดสารพิษที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
2.โรงเรียนมีแหล่งผลิตผักที่มีความปลอดภัย ปลอดสารเคมี
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 5
0.00
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอ
0.00
3
เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตรอย่างน้อย 2 กิจกรรม เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
161
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้น ป.4 - ป.6
55
นักเรียนชั้น อนุบาล -ป.6
106
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปัทมา จันทมณี (0936589812) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) ”
หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางสาวปัทมา จันทมณี (0936589812)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม)
ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กที่มีภาวะอ้วนหรือผอม จะเกิดผลกระทบต่อร่างกายและการเจริญเติบโตของเด็ก จากการสำรวจพบว่ามีเด็กผอม จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.49 มีเด็กอ้วน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 14.15นักเรียนร้อยละ 20มีพฤติกรรมเลือกและไม่ชอบรับประทานผัก และผลไม้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ
- เก็บเกี่ยวผลผลิตผักปลอดสารพิษ /เห็ดนางฟ้า ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียนชั้น ป.4 - ป.6 | 55 | |
นักเรียนชั้น อนุบาล -ป.6 | 106 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนมีผลผลิตผักปลอดสารพิษและเห็ดนางฟ้าเพื่อนำไปทำเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
2.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ประโชน์ สะอาดและปลอดภัยจากสารพิษ
3.นักเรียนเห็นคุณค่าของอาหารที่มีประโยชน์และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูและนักการ จำนวน 4 คน วางแผนและปฏิบัติการทำโรงเรีอนเพาะเห็ดนางฟ้า จำนวน 1 โรงเรือน 2.ครูให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้า ตลอดจนการดูแลรักษา 3.ครูและนักเรียน นำก้อนเห็ดนางฟ้าวางเรียงบนชั้น ในโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าจำนวน 500 ก้อน 4.นักเรียนจำนวน 20 คน หมุนเวียนปฏิบัติการดูแลก้อนเห็ดนางฟ้า โดยการรดน้ำก้อนเห็ด เพื่อรักษาความชื้นตลอดอายุการให้ผลผลิตดอกเห็ดนางฟ้า และดูแลความสะอาดในโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.โรงเรียนได้ผลผลิตดอกเห็ดนางฟ้า เพื่อนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน 2.นักเรียนปฏิบัติการเพาะเห็ดนางฟ้า ดูแลรักษา ได้ตามขั้นตอนจนได้ผลผลิต ผลลัพธ์ 1.นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีวัสดุประกอบอาหารที่ปลอดภัย 2.นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้าไปใช้ในการปฏิบัติจริงได้ 3.นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจการปฏิบัติงาน
|
35 | 0 |
2. เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.นักเรียนชั้นป.4-6 จำนวน 20 คน เตรียมแปลงสำหรับปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 12 แปลง และล้อยางรถยนต์จำนวน 20 วงล้อ 2.ครูผู้รับผิดชอบโครงการให้ความรู้นักเรียนเรื่องกระบวนการขั้นตอนการเตรียมดินสำหรับปลูกผัก การใช้อุปกรณ์การเกษตร 3.นักเรียนปฏิบัติการเตรียมแปลงปลูกผักโดยการพรวนดิน และใส่ปุ๋ยในแปลงและล้อยางรถยนต์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต: 1.โรงเรียนมีพื้นที่แปลงผักจำนวน 12 แปลง และล้อยางรถยนต์ จำนวน 20 ล้อยาง 2.นักเรียนมีความรู้ และปฏิบัติการเตรียมแปลงปลูกผักได้ ผลลัพธ์: 1.นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารเคมีที่มีคุณภาพ
|
20 | 0 |
3. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูให้ความรู้และสาธิตการเพาะเมล็ดผัก ได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาดเขียวกวางตุ้ง ผักกาดขาว 2.นักเรียนจำนวน 20 คน ช่วยกันเพาะเมล็ด และปลูกผักบุ้ง ช่วยกันรดน้ำ 3.มอบหมายนักเรียนดูแล บำรุงรักษา ดดยการรดน้ำ กำจัดวัชพืช และใส่ปุ๋ย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.โรงเรียนมีผลผลิตผักปลอดสารพิษ เพื่อนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียน 2.นักเรียนปฏิบัติงานได้ตามขั้นตอน ผลผลัพธ์ 1.นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติการปลูกผักปลอดภัยสารพิษได้ด้วยตนเอง 2.นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
|
50 | 0 |
4. เก็บเกี่ยวผลผลิตผักปลอดสารพิษ /เห็ดนางฟ้า ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูผู้รับผิดชอบวางแผนการทำรายการอาหารกลางวันโดยใช้ผลผลิตผักปลอดสารพิษ และผลผลิตเห็ดนางฟ้า จากผลการปฏิบัติงานของนักเรียน 2.ปรับเปลี่ยนรายการอาหารกลางวันเพื่อใช้ผลผลิตผักปลอดสารพิษ และผลผลิตเห็ดนางฟ้า ได้แก่ แกงส้มผักบุ้ง ต้มยำไก่ใส่เห็ดนางฟ้า ซุปเห็ดนางฟ้า ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า 3.นักเรียนช่วยกันเก็บผลผิตผักปลอดสารพิษ และเห็ดนางฟ้าส่งต่อโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.ผักปลอดสารพิษได้แก่ ผักบุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดเขียวกวางตุ้ง เพื่อนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน 2.เห็ดนางฟ้า สำหรับนำไปเป็นวัสดุประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนทุกคน ได้รับประทานผักปลอดสารพิษที่มีคุณค่าทางโภชนาการ 2.โรงเรียนมีแหล่งผลิตผักที่มีความปลอดภัย ปลอดสารเคมี
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 5 |
0.00 | |||
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอ |
0.00 | |||
3 | เพื่อส่งเสริมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน ตัวชี้วัด : โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตรอย่างน้อย 2 กิจกรรม เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 161 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนชั้น ป.4 - ป.6 | 55 | ||
นักเรียนชั้น อนุบาล -ป.6 | 106 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสิตาราม (โรงเรียนวัดทุ่งฆ้อโฆสตาราม) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปัทมา จันทมณี (0936589812) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......