สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง ”

โรงเรียนบ้านโคกสิเหรง หมู่ ที่1 ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางมนต์พิรุณ เสือกลับ/นางพัฎชรี ผ่องศรี

ชื่อโครงการ โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านโคกสิเหรง หมู่ ที่1 ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านโคกสิเหรง หมู่ ที่1 ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านโคกสิเหรง หมู่ ที่1 ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบันปัญหาเรื่องของพฤติกรรมการกิน และรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบอันนำมาสู่โรคอ้วนและโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ นั้น ไม่ได้คุกคามเฉพาะผู้ใหญ่วัยทำงานเท่านั้น แต่ปัจจุบันปัญหาโรคอ้วนยังลามไปถึงวัยนักเรียน ซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ผู้ปกครองควรใส่ใจ และหันกลับมาแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของลูกหลานกันอย่างจริงจังในอดีตคนทั่วไปมักคิดว่าเลี้ยงลูกให้อ้วนทำให้ดูน่ารัก น่าเอ็นดู แต่ในทางการแพทย์ เด็กที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานถือว่ามีภาวะโรคอ้วน ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกประเมินว่า ทั่วโลกมีเด็กอ้วนที่อายุต่ำกว่า 5 ปี จำนวนกว่า 22 ล้านคน ทำให้เด็กเหล่านี้กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ ส่วนประเทศไทยจากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในนักเรียนพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คนจะพบอย่างน้อย 1 คนที่เป็นโรคอ้วน ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่น่าตกใจอย่างมาก เนื่องจากโรคอ้วนเป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย อาทิ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งและโรคหัวใจ เป็นต้น ยิ่งไปกว่านั้นเด็กหญิงที่อ้วน จะเข้าสู่ภาวะวัยรุ่นเร็วกว่าปกติ ประจำเดือนจะมาเร็ว และกระดูกปิดเร็ว ทำให้สูงได้ไม่เต็มศักยภาพ จึงน่าเป็นห่วงว่าเด็กรุ่นใหม่จะเตี้ยลงเรื่อย ๆ นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วนยังมีผลกระทบต่อการเรียนของเด็กอีกด้วย โดยพบว่าเด็กอ้วนส่วนมากมักมีปมด้อยจากรูปร่างของตัวเองและมักถูกเพื่อนๆล้อ ทำให้ไม่อยากไปโรงเรียน เบื่อหน่ายการเรียนได้ ส่งผลให้เรียนไม่ดี ดังนั้นโรงเรียนบ้านโคกสิเหรงได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงให้ผู้ปกครองและนักเรียนอ้วนและเริ่มอ้วนได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพจากโรคอ้วนและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาความอ้วน ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง เรียนได้อย่างดีมีประสิทธิภาพ และนำความรู้ที่ได้จากกิจกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองปรับใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันรวมถึงได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
  2. เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เพาะเห็ดนางฟ้า1
  2. เลี้ยงปลาดุก
  3. เก็บผลผลิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครู 5
นักเรียน 20
ผู้ปกครอง อบต รพ.สต 5

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนรับประทานผักที่ปลอดสารพิษ

  1. นำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เลี้ยงปลาดุก

วันที่ 24 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก โดยปล่อยปลาดุกจำนวน 600 ตัว จำนวน 2 บ่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิตที่ได้
    ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 4 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการื 20 กิโลกรัม

 

0 0

2. ปลูกผักสวนครัว

วันที่ 31 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมแปลงปลูกผัก จำนวน 2 ชนิด คือ ตะไคร้ 4 กอ ผักบุ้ง 3 แปลง แบ่งนักเรียนมาดูแลแปลงผักในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ปลูกผัก บุ้ง 3แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 8 กิโลกรัม

  • ปลูก ตะไคร้ 4 กอ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม

 

0 0

3. เพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 4 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1 ร่วมกันจัดทำโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า

2 นำก้อนเห็ดนางฟ้าเข้าสู่โรงเรือนและทำการเปิดดอกเห็ด รดน้ำแบบฝอยเช้าเย็น

3 นักเรียนเก็บเห็ดนางฟ้าที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาหารกลางวันเพื่อบริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ได้โรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าจำนวน 1 โรงเรือน

2 นักเรียนนำก้อนเห็ดนางฟ้าเข้าสู่โรงเรือนและทำการเปิดดอกเห็ด

  • ผลผลิตที่ได้ เพาะเห็ดจำนวน100ก้อน ได้เห็ดสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 80 กิโลกรัม

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : นักเรียนรับประทานผัก ปลอดสารพิษจากผลผลิตจากแปลงผักของโรงเรียนจำนวน3ชนิด
2.30 50.00 50.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : รายงานภาวะทุพโภชนาการนักเรียนประจำภาคเรียน
0.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 5
นักเรียน 20
ผู้ปกครอง อบต รพ.สต 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กด้านพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (2) เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพาะเห็ดนางฟ้า1 (2) เลี้ยงปลาดุก (3) เก็บผลผลิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกสิเหรง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมนต์พิรุณ เสือกลับ/นางพัฎชรี ผ่องศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด