-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อประชุมสรุปผลการประเมิน
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
สรุปผลการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ 59 และปรึกษาหารือเพื่อพัฒนา และขับเคลื่อนงานในปีถัดไป
สรุปผลการดำเนินในภาพรวม ห้องย่อย และนิทรรศการ
การจัดการเรื่องเวลา
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
คณะทำงานสร้างสุขภาคใต้ 59
แก้ไขเรื่องเวลา
ยกเลิกอาหารกล่อง
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อบริหารจัดการค่าจัดทำหนังสือ
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อบริหารจัดการทำนิทรรศการ
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อการบริหารจัดการค่าส่งไปรษณีย์
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อการบริหารจัดการค่าถ่ายเอกสาร
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อบริหารจัดการวัสดุในโครงการทั้งหมด
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อบริหารจัดการค่าน้ำมันรถ
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อบริหารจัดการค่าเช่ารถยนต์
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อการบริหารจัดการค่าเดินทางผู้เข้าร่วมประชุม
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เพื่อดำเนินการชำระค่าตอบแทนวิทยากรและคณะทำงาน
-
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เตรียมความพร้อม
เตรียมความพร้อม
เตรียมความพร้อม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
1 เพื่อเรียนรู้สถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และมีความซับซ้อนมากขึ้น ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คน รวมถึงเด็ก-เยาวชน และครอบครัว 2 เพื่อสร้างกลไกระดับภาคใต้ ในการเรียนรู้สู่การขยายผลกิจกรรมด้านสร้างเสริมสุขภาพและเชื่อมโยง บูรณาการ และขยายเ
รูปแบบ
ช่วงที่1 เวทีชวนคุยเพื่อนำประเด็นปัญหาของสถานการณ์ทั้งในระดับประเทศ ระดับภาคใต้ และระดับพื้นที่ จากปีที่ผ่านมาและปีนี้ (ชุดข้อมูลสถานการณ์ในเล่มที่รวบรวม) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาสู่การขับเคลื่อนงานสื่อสร้างสรรค์ที่เป็นรูปธรรม ของ“นักสื่อสารสร้างสรรค์สุขภาวะ” (Creative Communication for Health)
ช่วงที่2 ล้อมวงคิด แบ่งออกเป็น 2กลุ่ม (ผู้ใหญ่และเด็ก) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาและ ขับเคลื่อนงานสื่อสร้างสรรค์ที่เป็นรูปธรรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ถึงปัจจัยเอื้อและปัจจัยที่เป็นสาเหตุ และวิธีการดำเนินการหรือกระบวนการที่ส่งผลต่อการเข้าถึงสุขภาวะ พร้อมยกระดับเชิงนโยบาย พร้อมข้อเสนอถึงทิศทางในการขับเคลื่อนการทำงานเด็กและเยาวชนสู่สุขภาวะ ต่อหน่วยงานหรือองค์กรที่สามารถขับเคลื่อนต่อ
ช่วงที่3 นำเสนอจาก 2วงคุย สู่การเชื่อมงานสื่อสร้างสรรค์ โดยเชิญผู้ใหญ่ใจดี เช่น ผู้อำนวยการสำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ หรือ ผู้จัดการแผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำสู่เวทีใหญ่ เพื่อยื่นข้อเสนอ ในวันพุธ ที่5 เดือนตุลาคม พ.ศ.2559 ต่อ เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ , ผู้จัดการกองทุนสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ,ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน , เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ,ผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ ไทย พี บี เอส และนายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผลผลิต จำนวนผู้เข้าร่วม แกนนำเยาวชน และหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง จำนวน 80คน ผลลัพธ์ ได้ข้อเสนอต่อนโยบายในการขับเคลื่อนงานเด้ก เยาวชน และครอบครัว
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
• กลุ่มนกนางนวล จังหวัดชุมพร • กลุ่มสโมสรเด็กเพลิน จังหวัดสุราษฯ • กลุ่มดอกลำดวล จังหวัดสุราษฯ • กลุ่มยุวทัศน์ จังหวัดนครศรีธรรมราช • กลุ่มละครมาหยา จังหวัดกระบี่ • กลุ่มสโมสรลูกปูดำ จังหวัดกระบี่ • กลุ่มพัทลุงยิ้ม จังหวัดพัทลุง • กลุ่มระบัดใบ จังหวัดระนอง • กลุ่มด้วยดวงใจ จังหวัดพัทลุง • กลุ่มพิราบขาว • กลุ่ม ศูนย์ให้คำปรึกษากิจกรรมเพื่อสังคม จังหวัดสตูล • กลุ่มลูกเหรียง จังหวัดยะลา • กลุ่มยังยิ้ม จังหวัดนราธิวาส • กลุ่มสงขลาฟอรั่ม จังหวัดสงขลา
-การประสานงานระหว่างเครือข่ายไม่ค่อยเป็นไปตามแผน โดยได้มีแนวทางในการแก้ไข คือ กำหนดผู้ประสานงานหลักในแต่ละเครือข่าย -การจัดการบริหารห้องย่อย ในเรื่องการเงิน ไม่ค่อยดำเนินตามแผนเนื่องจากผู้เข้าร่วมไม่ได้เป็นไปตามแผน วิธีการแก้ไข จัดระบบการจัดการของทีมงาน
-ควรมีคณะทำงานที่ต่อเนื่อง
-
(0)
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อนำเสนอข้อเสนอนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาการขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ภาคใต้
วันที่ 4 ตุลาคม 2559
- เสวนาและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบทบาทกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่กับการเป็นเครื่องมือพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนใน 3 ประเด็น ประกอบด้วย
1) การบริหารจัดการกองทุนแบบมีส่วนร่วม
2) การสร้างและพัฒนานวตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
3) การมีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ
และนำเสนอข้อเสนอนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาการขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ภาคใต้ พร้อมทำสรุปรายงานเตรียมพร้อมการเป็นเอกสารนำเข้าสู่การนำเสนอ
วันที่5 ตุลาคม 2559
- นำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อยกระดับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ภาคใต้ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สสส. สช. สปสช. สธ.ท้องถิ่นจังหวัดหรืออื่นๆ และเสนอนโยบายจากห้องย่อย เพื่อขับเคลื่อนการทำงานให้เกิดความยั่งยืน
- มีการรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ บทเรียน ปัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จสุขภาพในกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
- เครือข่ายได้ร่วมกันพัฒนาข้อเสนอการขับเคลื่อนกองทุนฯและข้อเสนอนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
- เกิดการเชื่อมโยงสร้างเครือข่ายและทีมพี่เลี้ยง (Coaching) สำหรับเป็นกลไกการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ระดับเขต 11 และ เขต 12
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 120 คน ประกอบด้วย
• คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา 20 คน
• คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 11สุราษฎร์ธานี 10 คน
• ผู้บริหารเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา 60 คน
• ผู้บริหารเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 11 30 คน
- ควรเพิ่มพื้นที่ของห้องย่อยให้มากขึ้น
- สนับสนุนงบประมาณให้มีการจัดงานต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
- ควรเปิดโอกาสให้คนได้เข้าร่วมมากขึ้น
- ควรมีการจัดทำแบบสอบถามความคิดเห็นการจัดงาน
- ควรมีพื้นที่กลางให้เครือข่ายได้แลกเปลี่ยน
๑. เพื่อนำเสนอผลการประเมิน รวบรวมสถานการณ์ และการจัดการความรู้ด้านระบบสุขภาพของภาคใต้ สู่ภาคีเครือข่ายพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง ทั้งในเชิงพื้นที่และเชิงนโยบาย๒. เพื่อสร้างกลไกระดับภาค การเชื่อมประสาน บูรณาการงานและขยายเครือข่ายภาคีพันธมิตรสร้างเสริมสุขภาพใน
วันจันทร์ ที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. การแสดงโขน ตอน ศึกพรหมาสตร์ ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พิธีเปิด การร่วมกันร้องเพลงชาติไทย
๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๐ น. กล่าวต้อนรับ
โดย นายทรงพลสวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
๑๓.๑๐ - ๑๓.๒๐ น. กล่าวเปิดโดย นายแพทย์วีระพันธ์สุพรรณไชยมาตร์
รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
๑๓.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. ปาฐกถา เรื่อง “บทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน”โดย นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี
๑๕.๐๐ - ๑๕.๓๐ น. รายงานสุขภาวะคนใต้ สรุปภาพรวมการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ปีที่ผ่านมา โดย ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพสุธีรวุฒิ
ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ (สจรส.ม.อ.)
๑๕.๓๐ - ๑๗.๐๐ น. เสวนา “มุมมองใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพในอนาคต” โดย ผศ.ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี นายพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์เจริญนายกเทศมนตรีนครยะลา นายทวีวัตรเครือสาย ตัวแทนภาคประชาสังคมจังหวัดชุมพร นายแพทย์ยอร์นจิระนครสาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ ๑๒ ผู้ดำเนินรายการเสวนา : นายแพทย์บัญชาพงษ์พานิช
๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม
วันอังคาร ที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙
๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม
๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.การประชุมห้องย่อย ๑. การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
๒. การท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ๓. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ๔. สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ ๕. ความมั่นคงทางมนุษย์ : การลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ
๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.การนำเสนอผลงานวิชาการ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม ๑ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่าเร้าพลังลานสื่อสร้างสุข
๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. ลานปัญญาเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม ลานศาลาเรือนไทย
๑๔.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. การประชุมห้องย่อย
๑. การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้ (ต่อ) ๒. ความมั่นคงทางอาหาร
๓. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (ต่อ) ๔. สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ (ต่อ) ๖.การพัฒนาเด็ก เยาวชนและครอบครัว ๗.ระบบสุขภาพการแพทย์พหุวัฒนธรรม
๑๔.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. การนำเสนอผลงานวิชาการ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม ๑ (ต่อ) ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม ๒ (ต่อ) ห้องนำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่าเร้าพลัง (ต่อ)
๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. ลานปัญญาเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม
วันพุธที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๙
๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม
ลานศาลาเรือนไทย
๐๙.๐๐ - ๑๐.๓๐ น. สรุปข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพของภาคใต้ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๔๕ น. เสวนาเรื่อง “การขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซียน”โดย นายแพทย์ศักดิ์ชัยกาญจนวัฒนารักษาการเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ นายแพทย์พลเดชปิ่นประทีป เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ รศ.ดร.วิลาสินีพิพิธกุล รองผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยสถานีโทรทัศน์ (TPBS)
ผู้ดำเนินการอภิปราย นางสาวณาตยาแวววีรคุปต์
๑๑.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. พิธีปิด
สรุปข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพของภาคใต้
1. ข้อเสนอจากห้องความมั่นคงทางมนุษย์: การลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ
ข้อเสนอ
สสส.
- สร้าง สนับสนุน ให้เกิดพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้กับเครือข่ายด้านปัจจัยเสี่ยง เพื่อพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถ รวมถึงการเชื่อมเครือข่ายในภาคใต้
- กระจายงบประมาณให้ครอบคลุมทั้งแบบพื้นที่และแบบประเด็น ขยายประเด็นการสนับสนุนงบประมาณให้กับบางประเด็นที่ไม่มีงบประมาณ เช่น เอดส์
- ให้มีหน่วยงานย่อยของ สสส. อาจจะเป็นในระดับ เขต โซน หรือจังหวัด เพื่อให้เครือข่ายขนาดเล็กสามารถเข้าถึงแหล่งทุนได้
สช.
- สนับสนุนกระบวนการนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพในทุกระดับ โดยใช้เครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง เช่น แอลกอฮอล์ บุหรี่ สารเสพติด เอดส์ และอุบัติเหตุ
- สนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพทั้งระดับชาติและระดับพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงให้มีรูปธรรมที่ชัดเจน โดยความร่วมมือของเครือข่ายปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สปสช.
- เพิ่มงานด้านปัจจัยเสี่ยงเป็นเป้าหมายหนึ่งของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- สร้างความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของกองทุน กลไกที่มี และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายด้านปัจจัยเสี่ยงกับกองทุน
- ขยายชุดสิทธิประโยชน์ให้ครอบคลุมผลกระทบทางด้านสุขภาพที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงและการเข้าถึงยา เช่น การจัดให้ยารักษาโรคไวรัสตับอักเสบ C (DAA) เข้าสู่บัญชียาหลัก และจัดให้มีระบบคัดกรองให้รองรับการเข้าถึงการรักษา ตลอดจนการรักษาพยาบาล และจัดให้มีกองทุนโรคไวรัสตับอักเสบ C
- การจัดสรรงบประมาณรายหัวสาหรับการบาบัดผู้ติดสารเสพติด สุราและบุหรี่
กระทรวงสาธารณสุข
- เพิ่มภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงโดยถือเป็นตัวชี้วัด (KPI) ที่สาคัญของกระทรวงสาธารณสุข
- จัดทายุทธศาสตร์และมาตรการ รวมทั้งการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการในการจัดการปัจจัยเสี่ยงทุกระดับโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เช่น การควบคุมแอลกอฮอล์ สารเสพติด บุหรี่
- ส่งเสริมให้ชุมชนมีทักษะด้านการจัดการตนเองด้านสุขภาพ ในเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงโดยชุมชน โดยกระทรวงสาธารณสุขทาหน้าที่หนุนเสริมการดาเนินงานของชุมชน
- ให้สร้างองค์กรภาคประชาชนที่มีส่วนร่วมในด้านการรับเรื่องร้องเรียน เรื่องการได้รับบริการที่ไม่เป็นธรรม
- ผลักดันร่างกฎหมายอนามัยเจริญพันธุ์ (ภาคประชาชน)
สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส
- เพิ่มการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการปัจจัยเสี่ยงของประชาชน
- ให้มีการสื่อสารผ่านสื่อหลักสู่สาธารณะ ในการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อ HIV ผู้ป่วย AIDS และกรณีอื่น ๆ ที่มีลักษณะเดียวกัน
องค์กรอื่น ๆ:
- ให้หน่วยงาน องค์กร ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องหาแนวทางร่วมกันในการทางานเพื่อเสริมพลัง และลดความซ้าซ้อนกิจกรรมที่ทาในพื้นที่ ทั้งในเรื่องการสนับสนุนงบประมาณ การสร้างเครือข่าย การรับรองสถานะองค์กรภาคประชาชน
- องค์กรด้านวิชาการ เช่น มหาวิทยาลัย สถาบัน มูลนิธิ สนับสนุน หนุนเสริมให้เกิดการจัดการความรู้เพื่อการขับเคลื่อนการดาเนินงานของภาคีเครือข่าย
- สร้างพื้นที่รูปธรรม ที่เห็นถึงการบูรณาการการทางานร่วมกันขององค์กรด้านสุขภาพ เพื่อเป็นโมเดลในการขยายผล
2. ข้อเสนอจากห้องการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ข้อเสนอ
สสส. ส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนภาคใต้ยกระดับการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อนาไปสู่การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพื่อสร้างสรรค์เศรษฐกิจของชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
สช. เสนอให้มีการพัฒนาประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นวาระหนึ่งพิจารณาในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติเพื่อเป็นช่องทางสาคัญในงานผลักดันนโยบายท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT) ให้เป็นวาระแห่งชาติ
สรุปข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพของภาคใต้
สปสช. ส่งเสริมให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นมีโครงการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical tourism) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวโดยชุมชน
สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส ให้สื่อสาธารณะมีนโยบาย ในการส่งเสริมสนับสนุนให้มีรายการเฉพาะด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น การสนับสนุนให้มีรายการในท้องถิ่น นาเสนอ ผลิตรายการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น การนาเสนอรายการวิทยุในท้องถิ่น การผลิตรายการทีวีในระดับท้องถิ่น และระดับประเทศ
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- เสนอให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการการทางานหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- สนับสนุนให้มีการเพิ่มบุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวในระดับและกระทรวงและระดับจังหวัด
- ให้กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬาเชื่อมประสานกับสถาบันวิชาการในการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการตลาดให้กับชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น
- ให้กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา มีการบรรจุแผนยุทธศาสตร์ของสมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนภาคใต้เป็นส่วนหนึ่งการสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของภาคใต้
องค์กรอื่น ๆ:
- ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการจัดทาผังเมืองให้ชัดเจนในการจัดเขตการพัฒนาพื้นที่ด้านการท่องเที่ยว
- ให้หน่วยงานภาครัฐ องค์กรอิสระมีการเพิ่มสัดส่วนการประชุมสัมมนาในพื้นที่การท่องเที่ยวโดยชุมชน
-ให้หน่วยงานภาครัฐแก้ไขระเบียบที่เอื้อต่อการเบิกจ่ายงบประมาณในการจัดประชุมในพื้นที่การท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ให้มีการพัฒนากลไกกองทุนเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนในระดับชาติ
เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ให้มีแผนเรื่องการตลาดที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายกลุ่ม MICE เช่นการประชุมองค์กร การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล
- ส่งเสริม และสนับสนุน เปิดโอกาสให้เด็กเยาวชน คนรุ่นใหม่ ในชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการทาการตลาดโดยการใช้สื่อใหม่ เช่น สื่อออนไลน์ โซเชียลต่าง ๆ
3. ข้อเสนอจากห้องสานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ
ข้อเสนอ
สสส.
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกลไก ขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนเพื่อสร้างชุมชนน่าอยู่ เช่น สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้นาชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ให้สามารถขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ได้อย่างต่อเนื่อง
- เพิ่มการสื่อสารและช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนได้เข้าถึงแหล่งทุนให้มากขึ้น
- สนับสนุนให้เกิดการสร้างกลไกพี่เลี้ยงเพื่อหนุนเสริมให้ชุมชนมีศักยภาพนาไปสู่การสร้างชุมชนเข้มแข็ง
- สสส. เป็นองค์กรกลางประสานความร่วมมือระหว่างเครือข่าย เพื่อให้เกิดการขยายผลในระดับนโยบาย เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่
สช.
- เปิดโอกาสให้ชุมชนที่ดาเนินงานชุมชนน่าอยู่ ได้เข้ามาร่วมในกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
- นาบทเรียนและข้อมูล องค์ความรู้ และคณะทางานจากโครงการชุมชนน่าอยู่ มายกระดับสู่การขับเคลื่อนเชิงนโยบายสาธารณะ ในประเด็นที่สอดคล้องกับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน
สปสช.
- ให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จัดสรรงบประมาณให้กับชุมชนที่ดาเนินงานตามแนวทางของชุมชนน่าอยู่เพื่อพัฒนายกระดับจากพื้นที่สู่ตาบล
- กาหนดสัดส่วนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นให้มีตัวแทนของผู้นาชุมชนที่ขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ได้สาเร็จ
- กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้มีแนวทาง เพื่อพัฒนาและร่วมเป็นภาคีเครือข่ายได้มากขึ้น
กระทรวงสาธารณสุข
- กำหนดให้หน่วยบริการสุขภาพ ดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับชุมชนมากขึ้น โดยกาหนดตัวชี้วัดชุมชนน่าอยู่ในมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
- ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรสาขาสุขภาพมีความเข้าใจ และ มีความร่วมมือกับชุมชน ในการขับเคลื่อนงาน
สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส
- สนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์ แนวทางการดาเนินงานชุมชนน่าอยู่ให้ทั่วถึงในระดับชุมชนท้องถิ่น
- นาเสนอบทเรียนพื้นที่ตัวอย่าง ดาเนินงานชุมชนน่าอยู่ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนา กลุ่มผู้นาชุมชนให้มีกลไกการดาเนินงานสร้างชุมชนเข้มแข็ง
- สนับสนุนให้เกิดช่องทางการสื่อสาร เพื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมสื่อสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่ ให้ถึงทั่วถึงในระดับท้องถิ่น และสื่อสารให้สังคมได้เห็นกระบวนการขับเคลื่อนชุมชนอย่างเป็นระบบ
4. ข้อเสนอจากห้องการพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว
สสส.
- สนับสนุนให้มีการจัดการฐานข้อมูลเครือข่ายคนทางาน เรื่องเด็กและเยาวชน
- สนับสนุนให้มีการพัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของเครือข่ายคนทางาน ทั้งในเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือ วิธีการ และความรู้ในการทางาน เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน
- เพิ่มแผนงานสื่อศิลปวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อใช้ศิลปวัฒนธรรม เป็นเครื่องมือการพัฒนาสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
- สนับสนุนการศึกษาหรือการถอดบทเรียน วิธีการที่ได้ผลในการทางานพัฒนาเด็กเยาวชน เช่น Project Base, Case Study ,ฯลฯ (เปิดพื้นที่ให้เด็กทางานจริง เปิดพื้นที่สร้างสรรค์ ให้โอกาส ปรับทัศนคติผู้ใหญ่/สังคม ที่มีต่อเด็ก)
สช. ให้มีมาตรการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเด็ก เยาวชน และครอบครัวอย่างจริงจัง และสนับสนุนให้เครือข่าย คณะทางานเรื่องเด็ก เยาวชน และครอบครัวมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนมติสมัชชาดังกล่าว
สปสช.
ให้กองทุนหลักประกันสุขภาพตาบลมีโครงการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสุขภาวะของเด็ก เยาวชน และครอบครัว
กระทรวงสาธารณสุข เพิ่มและขยายโรงเรียนหรือห้องเรียนพ่อแม่ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่
สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส
- ออกแบบการสื่อสารที่สร้างสรรค์ และเป็นไปเพื่อการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
- เพิ่มเวลาการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
องค์กรอื่นๆ: กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ เพิ่มกลไกการทางานของสภาเด็กและเยาวชน และสร้างเครือข่ายการทางานร่วมกันของสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ รวมทั้งการจัดตั้งศูนย์การจัดการปัญหาเด็กและเยาวชนระดับชุมชน เช่น มีการคัดกรองเด็กกลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลือตามระดับความเสี่ยง (เด็กเปราะบาง สาม จชต.ฯลฯ)
5. ข้อเสนอจากห้องความมั่นคงทางอาหาร ข้อเสนอ
สสส. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายที่ทางานด้านอาหาร เพื่อผลักดันให้เกิดยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในทุกระดับ และผลักดันให้เกิดกองทุนความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด เช่น ให้มีการจัดทาแผนการจัดการความเสี่ยงเรื่องความมั่นคงทางอาหาร
สช. กาหนดให้ประเด็นเรื่องความมั่นคงทางอาหารเป็นวาระหลักในกระบวนการสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัดเพื่อสร้างนโยบายสาธารณะทางด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหาร
สปสช. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตาบลต้องมีการจัดทาโครงการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความมั่นคงทางอาหาร โดยควรมีการจัดสรรงบประมาณของกองทุนไม่น้อยกว่า ๑๐ % ในแต่ละปี
กระทรวงสาธารณสุข
ควรจะต้องบูรณาการเรื่องความมั่นคงทางอาหารกับเรื่องอาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัยโดยจัดทาเป็น
แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการในทุกระดับ
สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส
- มีรายการหลักที่มีการสื่อสารเรื่องวัฒนธรรมอาหาร ภูมิปัญญาด้านอาหาร ผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร มิติทางวัฒนธรรมเพื่อการแบ่งปันด้านอาหาร เกษตรอินทรีย์ และเกษตรกรรมยั่งยืน
- ให้นักข่าวพลเมืองมีการนาเสนอเรื่องความมั่นคงทางอาหารเป็นประเด็นหลัก เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความมั่นคงทางอาหาร
องค์กรอื่น ๆ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ส่งเสริมให้มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ของภาคใต้ ตลอดจนมาตรการและการจัดการข้าวของภาคใต้ เนื่องจากข้าวของภาคใต้มีความเฉพาะในเรื่องฤดูกาล พันธุ์ข้าวพื้นเมือง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวให้เป็นอาหาร หรือ เวชสาอาง
- ส่งเสริมการสร้างแปลงนารวมของชุมชน เพื่อให้คนที่ไร้ที่ดินทากินได้มีส่วนร่วมในการผลิตอาหารด้วยตนเอง และสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย
- สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกองบุญข้าว (วันทาขวัญข้าว)ในระดับตาบล เพื่อกระจายอาหารให้กับผู้ด้อยโอกาสในชุมชน
- สนับสนุนให้มีการสร้างกลไกการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดให้เป็นกลไกที่ยั่งยืน โดยมีสานักงานมาตรฐาน มกอช. เป็นหน่วยงานหลักในการทางาน และมีมาตรฐานรับรอง ๓ ระดับ ได้แก่
ระดับตนเอง (GPS) -ระดับประเทศ (ออร์แกนิคไทยแลนด์/Organic Thailand) -ระดับต่างประเทศ (Ifoam Standard)
สนับสนุนการจัดทากระบวนการผลิต ตั้งแต่ต้นน้า ( เมล็ดพันธุ์) กลางน้า (โรงสีข้าว) และปลายน้า (การแปรรูปและการส่งออก) ให้ได้มาตรฐาน GMP
กาหนดมาตรการส่งเสริมโครงการตลาดเกษตรอินทรีย์ในรูปองค์กร โดยเป็นโครงการนาร่องในระดับจังหวัด เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาล ให้รับซื้อผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ขององค์กรในชุมชน หรือเครือข่ายในระดับจังหวัด
สนับสนุนให้เกิดการจับคู่ทางธุรกิจ (Matching) ระหว่างชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในภาคการผลิตและภาคการตลาด เช่น การสั่งซื้ออาหารล่วงหน้าระหว่างชุมชนกับชุมชนหรือองค์กรกับองค์กร เพื่อสร้างระบบ รับประกันการมีอาหารกินที่ยั่งยืน
สนับสนุนและผลักดันระบบ Co - farming ระหว่างเกษตรกรกับผู้บริโภค เพื่อประกันความเสี่ยงของเกษตรกร
ข้อเสนอจากห้องระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรม
ข้อเสนอ
สสส.
- สนับสนุนให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการแพทย์พหุวัฒนธรรม และการสร้างเครือข่ายเพื่อยกระดับการขับเคลื่อนการแพทย์พหุวัฒนธรรม
สช.
- สนับสนุนและจัดกระบวนการให้มีการใช้การแพทย์พหุวัฒนธรรมเป็นแนวทางในการดาเนินงานของคณะกรรมการเขตสุขภาพภาคประชาชน เช่น มีสัดส่วนของผู้นาศาสนาต่าง ๆ ใน คณะกรรมการเขตสุขภาพภาคประชาชน
- สนับสนุนและจัดทากระบวนการนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์พหุวัฒนธรรม โดยใช้เครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ และการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ
สปสช.
- ให้จัดสรรงบประมาณเพื่อให้สถานบริการสุขภาพเพิ่มการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์พหุวัฒนธรรม
- ให้จัดสรรงบประมาณให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อเพิ่มการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ โดยใช้แนวทางการแพทย์พหุวัฒนธรรม
กระทรวงสาธารณสุข
- กำหนดให้มีมาตรฐานของสถานพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์พหุวัฒนธรรม ทั้งในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและการบริการสุขภาพ
- กำหนดให้มีมาตรการใช้การแพทย์พหุวัฒนธรรมเป็นแนวทางในการจัดการปัญหาสุขภาพที่เป็นวิกฤติที่สำคัญของพื้นที่ เช่น การบาบัดรักษาผู้ใช้สารเสพติด การจัดการโรคเรื้อรัง
- พัฒนาศักยภาพและจัดสรรบุคคลากรเพื่อรองรับการดาเนินงานการแพทย์พหุวัฒนธรรม เช่น มีนักวิชาการ
ศาสนาสุขภาพวิถีอิสลามประจาโรงพยาบาล การมีสูตินรีแพทย์ที่เป็นผู้หญิงประจา รพ.ชุมชนทุกแห่งในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนใต้
สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส ควรเพิ่มการสื่อสาร สร้างความเข้าใจในเรื่องการแพทย์พหุวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดสันติสุขภาวะในพื้นที่ชายแดนภาคใต้
องค์กรอื่น ๆ
- กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้มีเนื้อหาการแพทย์พหุวัฒนธรรมในหลักสูตรทางการแพทย์และสาธารณสุข ของสถาบันการศึกษา - กระทรวงมหาดไทย กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับต้องเพิ่มบทบาทและเพิ่มการดาเนินงานด้านสุขภาพทั้งเชิงโครงสร้างและ งบประมาณเทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับงานอื่นๆ
7. ข้อเสนอจากห้องกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ข้อเสนอ
สปสช.
- ให้เร่งทบทวนเกี่ยวกับประกาศ ระเบียบเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าด้วยการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๗ โดยให้ทาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย กระทรวงมหาดไทย สมาคมสันนิบาติเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมสันนิบาตองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งประเทศไทย กระทรวงพัฒนาความมั่นคงของมนุษย์ สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน กระทรวงสาธารณสุข และผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น ให้แล้วเสร็จภายในปี ๖๐ ในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1)โครงสร้างของกรรมการกองทุนฯ โดยเพิ่มผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาคประชาชน และผู้อานวยการ รพ.สต.ทุกแห่ง เป็นต้น
1.1) เพิ่มสัดส่วนงบบริหารจัดการกองทุนฯ ข้อ ๗(๔) จากไม่เกินร้อยละ ๑๕ เป็นไม่เกินร้อยละ ๒๐ โดยงบประมาณที่เพิ่มขึ้นใช้ในการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนฯ
1.2) เพิ่มวงเงินสาหรับการจัดซื้อครุภัณฑ์ตาม ๗(๒)ได้ในวงเงินอย่างน้อยไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
พัฒนาหลักเกณฑ์ แนวทาง คู่มือในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่และคู่มือการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุให้ชัดขึ้น
สปสช. ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สานักงานสานับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น เด็กเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ในการจัดทาแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพของพื้นที่ผ่านเครื่องมือ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (CHIA) ธรรมนูญสุขภาพชุมชน เป็นต้น ตลอดจนการจัดทา โดยให้ภาคประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกาหนดแนวทางเพื่อแนวทางแก้ไขปัญหาการมีเงินคงเหลือในกองทุนฯที่สอดคล้องกับบริบทกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ให้ สปสช. จัดสรรงบประมาณและพัฒนาช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในลักษณะวงกว้าง (Mass Media) โดยร่วมกับ ไทยพีบีเอส และสื่ออื่น ๆ เพื่อนาเสนอผลงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ เจตนารมณ์ของกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนและคณะกรรมการกองทุนฯเกิดความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานีและ เขต ๑๒ สงขลา
- ให้ สปสช. เขต ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) หน่วยงานวิชาการในพื้นที่ เช่น สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นต้น และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ร่วมกันพัฒนาศักยภาพแกนนากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่จัดกระบวนการทานโยบายสาธารณะด้านสุขภาพของพื้นที่ผ่านเครื่องมือ เช่น การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (CHIA) เพื่อพัฒนาเป็นแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรือธรรมนูญสุขภาพชุมชน โดยให้ภาคประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ซึ่งกระบวนการดังกล่าวสามารถใช้งบประมาณประเภท ๗(๔) งบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ให้ สปสช. เขตจัดตั้งคณะทางานร่วมระหว่างผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน เกี่ยวกับสถานการณ์เงินคงเหลือในกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของแต่ละกองทุน
ให้ สปสช. เขตร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านการสื่อสารของพื้นที่พัฒนาช่องทางสื่อสารโดยปรับประยุกต์สื่อสารชุมชนเพื่อประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนรับรู้เกี่ยวกับ ผลงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ เจตนารมณ์ของกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนเกิดการรับรู้และร่วมเป็นเจ้าของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ให้ สปสช. เขต จัดตั้งคณะทางานระดับเขต ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้เชี่ยวชาญด้านงานกองทุน และ อปสข.ที่เป็นผู้แทนจากภาคประชาชน คณะกรรมการภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละจังหวัดทาหน้าที่เป็นกลไกสนับสนุนและติดตามนิเทศงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ โดย สปสช. เขต ทาหน้าที่พัฒนาศักยภาพคณะทางานระดับเขต พร้อมสนับสนุนงบประมาณเพื่อการติดตามและนิเทศ
ให้ สปสช. เขต จัดทาหลักสูตรเพื่อพัฒนาสมรรถนะของเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการกองทุนฯในการเขียนโครงการสุขภาวะชุมชนโดยมีผู้รับผิดชอบ เช่น มี ครู ก หรือหลักสูตรไปสู่ภาคปฏิบัติด้วย
สมรรถนะทั่วไป (General competency) เช่น ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จาเป็น ๕.๒ สมรรถนะหลัก (Core competency) ๕.๓ สมรรถนะเฉพาะตาแหน่ง (Functional competency)
ให้ สปสช. เขต สามารถจัดทาระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ในลักษณะง่ายต่อการใช้งาน ลดความซ้าซ้อน สามารถติดตามการทางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ตลอดจนให้คณะทางานระดับเขตทาหน้าที่ติดตามการสนับสนุนผ่านระบบโปรแกรม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งดาเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ออกคาสั่งเพื่อมอบหมายงานให้กับกองงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
- ให้ อปท. ทุกแห่งจัดตั้งศูนย์ดูแลพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้เกิดขึ้น ตามความพร้อมของท้องถิ่นของ อปท. เพื่อรองรับการดาเนินงานในส่วนของกองทุนดูแลผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง
- ให้ อปท. จัดทาแผนส่งเสริมสุขภาวะของเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือ ชื่ออื่น เพื่อขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุน
- ให้ อปท. สนับสนุนการจัดทานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพของพื้นที่ผ่านเครื่องมือ เช่น การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน (CHIA) เป็นต้นเพื่อพัฒนาเป็นแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรือ ธรรมนูญสุขภาพชุมชน โดยให้ภาคประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ภาคประชาชน: ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนและหน่วยรับเรื่องร้องเรียนที่เป็นอิสระจากผู้ถูกร้อง ตามมาตรา ๕๐ (๕)
- เพิ่มจานวนสัดส่วนการส่งผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน หรือหน่วยรับเรื่องร้องเรียนที่เป็นอิสระในพื้นที่เข้าไปเป็นคณะกรรมการกองทุนฯ
จัดพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯในส่วนสัดส่วนผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน หรือหน่วยรับเรื่องร้องเรียนที่เป็นอิสระในพื้นที่เข้าไปเป็นคณะกรรมการกองทุนฯ ให้สามารถเข้าใจเรื่อง ประกาศและระเบียบเกี่ยวกับกองทุน การเขียนโครงการด้านสุขภาวะเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณจากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ข้อเสนอจากห้องการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมพื้นที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
ข้อเสนอ
สสส.
- การพัฒนานโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ทาให้เกิดการยอมรับในความหลากหลายจนตกผลึกเป็นประเด็นร่วมของสังคม ที่น่าจะได้รับการสนับสนุนเพื่อการขับเคลื่อนทั้งในระดับภูมิภาคหรือระดับพื้นที่ เช่น ประเด็นร่วมระดับจังหวัดหรือระดับภาคและมติสมัชชาติ เป็นต้นจึงมีข้อเสนอต่อ สสส. ให้เป็นผู้สนับสนุนการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพหรือประเด็นด้านสุขภาวะต่างๆ ที่เกิดจากข้อเสนอนโยบายแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดพลังในการปฏิบัตินาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างเป็นรูปธรรม
- กาหนดให้องค์กรที่มีภารกิจด้านสุขภาพทุกองค์กร เช่น สสส. สปสช. กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ทาให้เกิดการบูรณาการจัดกลไกการดาเนินงานระดับจังหวัดและสนับสนุนเชิงนโยบาย เพื่อให้เห็นทิศทางในการขับเคลื่อนที่ชัดเจนและหนุนเสริมการทางานของกลไกให้เกิดการบูรณาอย่างเข้มข้น
- องค์กรที่มีภารกิจด้านสุขภาพและสุขภาวะ ให้มีการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่สนับสนุนและหนุนเสริมด้านสุขภาพ เพื่อให้มีศักยภาพในการทางานและร่วมกันสร้างนวัตกรรมใหม่แบบบูรณาการที่สอดคล้องตามบริบทของแต่ละพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน ๑,๖๐๐ คน ประกอบด้วย ภาคีพันธมิตรสุขภาพจาก ภาคีภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสื่อสารมวลชน ภาควิชาการ ที่มีบทบาท มีหน้าที่ มีศักยภาพ และสนใจในการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นปัญหาหลักของภาคใต้ ตลอดจนหน่วยงานที่มีหน้าที่กำหนดหรือเกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐ และท้องถิ่นตลอดจนนักการเมืองทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ องค์กรร่วมจัด สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ)
-
-
-
เพื่อเสนอนโยบายด้านความมั่นคงทางมนุษย์ การลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ต่อ สธ. สปสช. สสส. สช. และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส
- ช่วงที่ 1 นำเสนอพื้นที่รูปธรรม โดยผู้เข้าร่วมทั้งหมดจะเข้าชมนิทรรศการของแต่ละประเด็น โดยจะมีวิทยากรประจำนิทรรศการทำหน้าที่อธิบายและตอบข้อซักถาม โดยจะใช้เวลา 15 นาที ซึ่งมีทั้งหมด 10 นิทรรศการ ดังนี้
- เครือข่ายงดเหล้า 4 นิทรรศการ
- เครือข่ายบุหรี่ 2 นิทรรศการ
- เครือข่าย ยาเสพติด 1 นิทรรศการ
- เครือข่ายภัยพิบัติ 1 นิทรรศการ
- เครือข่ายเพื่อนหญิง 1 นิทรรศการ
- เครือข่ายด้านเอดส์และเพศ 1 นิทรรศการ
- ช่วงที่ 2 ร่วมแลกเปลี่ยนข้อเสนอในแต่ละประเด็นเพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย
- มีการนำเสนอนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ในการลดปัจจัยเสี่ยงในเชิงรูปธรรม ทั้งแนวคิด กระบวนการ ผลลัพธ์ บทเรียน ข้อค้นพบ กรณีศึกษา และกลไกที่ขับเคลื่อน
- รวบรวมข้อเสนอจากภาคีเครือข่ายและพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยการสนับสนุนของนักวิชาการ
- ร่วมกำหนดทิศทางในการลดปัจจัยเสี่ยงในภาคใต้อย่างมีส่วนร่วม
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
กลุ่มเป้าหมายรวม 60 คน 1. เครือข่ายงดเหล้า 15 คน 2. เครือข่ายบุหรี่ 10 คน 3. เครือข่าย ยาเสพติด 10 คน 4. เครือข่ายภัยพิบัติ 5 คน 5. เครือข่ายเพื่อนหญิง 10 คน 6. เครือข่ายด้านเอดส์และเพศ 10 คน
-
- สร้าง สนับสนุน ให้เกิดพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้กับเครือข่ายด้านปัจจัยเสี่ยง เพื่อพัฒนาศักยภาพและขีด ความสามารถ รวมถึงการเชื่อมเครือข่ายในภาคใต้
- กระจายงบประมาณให้ครอบคลุมทั้งแบบพื้นที่และแบบประเด็น ขยายประเด็นการสนับสนุนงบประมาณให้กับบางประเด็นที่ไม่มีงบประมาณ เช่น เอดส์
- ให้มีหน่วยงานย่อยของ สสส. อาจจะเป็นในระดับเขต โซน หรือจังหวัด เพื่อให้เครือข่ายขนาดเล็กสามารถ เข้าถึงแหล่งทุนได้
- ควรมีการเชื่อมร้อยเครือข่ายด้านปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่ภาคใต้ให้เป็นรูปธรรม
- มีพื้นที่/เวที ให้เครือข่ายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
(0)
1.จัดงานสร้างสุขภาคใต้ 3-5 ตุลาคม 2559 2.จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องความมั่นคงทางอาหาร แกะรอยข้าใต้ใครทำใครกิน วันที่ 4 ตุลาคม 25593.หนังสือถอดบทเรียนการดำเนินงานเรื่องความมั่นคงทางอาหาร
1.จัดนิทรรศการประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
2.จัดเสวนาความมั่นคงทางอาหาร แกะรอยข้าวใต้ ใครทำใครกิน
3.หนังสือถอดบทเรียนความมั่นคงทางอาหาร กรณ๊ โครงกาผลักดันยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และตำบลบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ
จัดงานสร้างสุขภาคใต้ 2559 ประเด็นความมั่นคงทางอาหารได้นำเสนอสถานการณ์ของข้าวของภาคใต้ โดยมีกรณีตัวอย่างของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และ การบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ อบต.ควนรู จังหวัดสงขลา ซึ่งทั้ง 2 พื้นที่นำเสนอนิทรรศการ การสังเคราะห์เอกสารวิชาการเรื่องความมั่นคงทางอาหารแกะรอยข้าวใต้ ใครทำใครกิน และการเสวนาเรื่อง แลสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของภาคใต้ “แกะรอยข้าวใต้ ใครทำใครกิน” โดยมีผู้ร่วมเสวนาประกอบด้วยคุณอนุรัฐ ไทยตรง รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง คุณเกียรติศักดิ์ ยั่งยืน มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน คุณเทพรัตน์ จันทพันธ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน คุณถั่น จุลนวล นายกองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู คุณชิต สง่ากุลพงษ์มูลนิธิชุมชนสงขลา คุณเทอดนมรักษ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และคุณนัด อ่อนแก้ว ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเขากลาง อ.ควนขนุน ซึ่งที่ประชุมได้สรุปข้อเสนอเชิงนโยบายด้านความมั่นคงทางอาหาร ดังนี้
1.ข้อเสนอต่อ สสส.
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายที่ทำงานด้านอาหาร เพื่อผลักดันให้เกิดยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในทุกระดับ และผลักดันให้เกิดกองทุนความมั่นคงทางอาหารในระดับจังหวัด เช่น ให้มีการจัดทำแผนการจัดการความเสี่ยงเรื่องความมั่นคงทางอาหาร
2.ข้อเสนอต่อ สช. กำหนดให้ประเด็นเรื่องความมั่นคงทางอาหารเป็นวาระหลักในกระบวนการสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัดเพื่อสร้างนโยบายสาธารณะทางด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหาร
3.ข้อเสนอต่อ สปสช. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลต้องมีการจัดทำโครงการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความมั่นคงทางอาหาร โดยควรมีการจัดสรรงบประมาณของกองทุนไม่น้อยกว่า 10 % ในแต่ละปี
4.ข้อเสนอต่อ กระทรวงสาธารณสุข ควรจะต้องบูรณาการเรื่องความมั่นคงทางอาหารกับเรื่องอาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัยโดยจัดทำเป็นแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการในทุกระดับ
ข้อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ Thai PBS
1.ควรมีรายการหลักที่มีการสื่อสารเรื่องวัฒนธรรมอาหาร ภูมิปัญญาด้านอาหาร ผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร มิติทางวัฒนธรรมเพื่อการแบ่งปันด้านอาหาร เกษตรอินทรีย์ และเกษตรกรรมยั่งยืน
2.ควรให้นักข่าวพลเมืองมีการนำเสนอเรื่องความมั่นคงทางอาหารเป็นประเด็นหลัก เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องความมั่นคงทางอาหาร
6.ข้อเสนอต่อองค์กรอื่นๆ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.ส่งเสริมให้มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ของภาคใต้ ตลอดจนมาตรการและการจัดการข้าวของภาคใต้ เนื่องจากข้าวของภาคใต้มีความเฉพาะในเรื่องฤดูกาล พันธุ์ข้าวพื้นเมือง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวให้เป็นอาหาร หรือ เวชสำอาง
2.ส่งเสริมการสร้างแปลงนารวมของชุมชน เพื่อให้คนที่ไร้ที่ดินทำกินได้มีส่วนร่วมในการผลิตอาหารด้วยตนเอง และสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย
3.สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดกองบุญข้าว (วันทำขวัญข้าว) ในระดับตำบล เพื่อกระจายอาหารให้กับผู้ด้อยโอกาสในชุมชน
4.สนับสนุนให้มีการสร้างกลไกการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดให้เป็นกลไกที่ยั่งยืน โดยมีสำนักงานมาตรฐาน มกอช. เป็นหน่วยงานหลักในการทำงานและมีมาตรฐานรับรอง 3 ระดับ ได้แก่
ระดับตนเอง (GPS)
-ระดับประเทศ (ออแกร์นิกไทยแลนด์)
-ระดับต่างประเทศ (Ifoam) 5.สนับสนุนการจัดทำกระบวนการผลิต ตั้งแต่ต้นน้ำ ( เมล็ดพันธุ์)กลางน้ำ (โรงสีข้าว) และปลายน้ำ (การแปรรูปและการส่งออก) ให้ได้มาตรฐาน GMP. 6.กำหนดมาตรการส่งเสริมโครงการตลาดเกษตรอินทรีย์ในรูปองค์กร โดยเป็นโครงการนำร่องในระดับจังหวัด เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาล ให้รับซื้อผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ขององค์กรในชุมชน หรือเครือข่ายในระดับจังหวัด
7.สนับสนุนให้เกิดการจับคู่ทางธุรกิจ (Matching) ระหว่างชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในภาคการผลิตและภาคการตลาด เช่น การสั่งซื้ออาหารล่วงหน้าระหว่างชุมชนกับชุมชนหรือองค์กรกับองค์กร เพื่อสร้างระบบรับประกันการมีอาหารกินที่ยั่งยืน
8.สนับสนุนและผลักดันระบบ Co - farming ระหว่างเกษตรกรกับผู้บริโภค เพื่อประกันความเสี่ยงของเกษตรกร
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ตัวแทนชาวนาจังหวัดพัทลุง อบต.ควนรู นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยทักษิณ เกษตรกรและผู้ประกอบการจากตลาดเกษตร ม.อ.
-
-
-
เตรียมความพร้อม แบ่งผังงาน แบ่งห้อง
เตรียมความพร้อม แบ่งห้องย่อย
เตรียมความพร้อม แบ่งห้องย่อย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อบริหารจัดการอาหารทั้งโครงการ
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
ตรวจเช็คบูธ และความพร้อมพอธีเปิด
เตรียมความพร้อม ก่อนพิธีเปิด
เตรียมความพร้อม ก่อนพิธีเปิด
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ไม่มีการใช้วิทยุสื่อสาร ทำให้การประสานงานเสียเวลา
-
-
เตรียมความพร้อม แบ่งผังงาน แบ่งห้อง
เตรียมความพร้อม
แบ่งผังงาน แบ่งห้อง
เตรียมความพร้อม
แบ่งผังงาน แบ่งห้อง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
เตรียมความพร้อม
เตรียมความพร้อม
เตรียมความพร้อม
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
- มีการส่งข้อมูลมาให้ล่าช้า ไม่เป็นไปตามกำหนดการ
- ข้อมูลที่นำเข้ามีความผิดพลาด
-
-
เตรียมความพร้อม
ตรวจดูสถานที่ เพื่อจัดเตรียมอุปกรณ์ ที่ทางหอประชุมไม่มีให้
กำหนดการใช้งานด้านหลัง ดังนี้ ห้อง 1 แพทย์พหุฯ ห้อง 2 และ 3 นำเสนอวิชาการ ห้อง 4 สสส&สช
ห้อง 5 รับรองวิทยากร ,ห้อง 6 สจรส +ชุมชน, ห้อง 7 ศวสต.+วิชาการ ห้อง 8 สื่อ
มี ซุ้ม สำเร็จรูป 18 ซุ้ม
เตรียม ไมค์ลอย และ ชุดลำโพง จำนวน 3 ชุด ประจำห้อง 1-3
เตรียม ป้ายต่างๆ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เตรียมความพร้อม
ประชุมสรุปการเตรียมงานสร้างสุข
ได้ข้อสรุปในการเตรียมงานสร้างสุข แบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจน
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
ทีมทำงาน
-
-
-
เพื่อเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ 2559 ในประเด็นความมั่นคงของมนุษย์
- เครือข่ายองค์กรงดเหล้า
- สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.อ.
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-
-
-
-
-
ทีมสนับสนุนวิชาการ ชุมชนน่าอยู่ เตรียมงาน สร้างสุขภาคใต้ '59
รายงานความก้าวหน้า และความพร้อมในเตรียมงาน สร้างสุขภาคใต้ '59
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
สจรส & ทีมสนับสนุนวิชาการ ชุมชนน่าอยู่
-
-
-
เตรียมความพร้อม
ดูสถานที่ ห้องประชุม
เตรียมความพร้อม
แบ่งผังงาน แบ่งห้อง
การจัดงาน
ดูแลพื้นที่โดยรอบ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
สจรส
-
-
-
เพื่อนำเสอนความก้าวหน้าและระดมความเห็นทุกเครือข่าย
ทุกเครือข่าย นำเสนอ รายละเอียดในแต่ละ่ ส่วนที่รับผิดชอบ
และระดมความเห็นทุกเครือข่าย ในแต่ล่ะประเด็น
ทุกเครือข่าย นำเสนอ รายละเอียดในแต่ละ่ ส่วนที่รับผิดชอบ
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
ตัวแทน สสส สจรส พี่เลี้ยง ตัวแทนจากเครือข่ายต่างๆทีมทำงาน ทีมสื่อ
.
.
.
เพื่อประชาสัมพันธ์ งานการประชุมวิชาการเรื่อง นวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ ในรูปแบบโพสเตอร์
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโครงการ การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ ผ่านสื่อวิทยุ
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-