สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประจักษ์ อารมณ์ฤทธิ์ (0973507949)

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นักเรียนอาจได้รับสารพิษเจือปนในพืชผักที่นำมาประกอบอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนได้รับอาหารที่ดี มีประโยชน์ ปลอดสารเคมี ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
  3. เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนในโรงเรียน 46

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 20 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 และมัธยมศึกษาปีที่3 ร่วมกันจัดทำแปลงปลูกผักทั้งในแบบลูกท่อ จำนวน 20ลูก และแปลงดิน จำนวน 10 แปลง โดยนักเรียนโต จะช่วยกันทำแปลงดิน เช่น การถางหญ้า ยกร่อง ส่วนเด็กเล็กระดับประถม ครูผู้รับผิดชอบโครงการได่ช่วยกันผสมดินปลูก ใส่ลงในลูกท่อ สำหรับใช้ปลูกผักบุ้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียน ป.1-ม.3 ช่วยกันทำแปลงปลูกผัก โดยเป็นรูปแบบแปลงดิน 10แปลง แบบลูกท่อ 20 ลูก

2.นักเรียนมีส่วร่วมในการทำแปลงปลูกผัก

3.นักเรียนมีความรู้ในการทำแปลงปลูกผัก

 

61 0

2. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

วันที่ 24 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.คุณครูผู้รับผิดชอบ โครงการดำเนินการจัดตารางเวรนักเรียน ตั้งแต่ชั้น ป.1-ม.3 ในการรับผิดชอบ ประจำวัน ในแต่ละชั้นเรียน โดยมีหน้าที่ รดน้ำผัก กำจัดศัตรูพืช ใส่ปุ๋ยผัก จนกว่าผักจะโตและเก็บเกี่ยวผลผลิต

2.ครูให้ความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ

3.นักเรียนช่วยกันปลูกผักบุ้งในแปลงที่เป็นลูกท่อง 20 ลูก และที่เป็นแปลงดิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนระดับชั้นประถมและมัธยม จำนวน 40 คน มีความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ

2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

3.นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน

 

40 0

3. เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนช่วยกันเก็บเกี่ยวผักบุ้งจากแปลงที่ปลูกเอง ส่งให้กับโครงการอาหารกลางวัน 3-4 กิโลกรัมต่อสัปดาห์

2.แม่ครัวนำผักบุ้งที่นักเรียนช่วยกันปลูกจัดเป็นเมนูอาหารกลางวัน เช่น เมนูก๋วยเตี๋ยว ,ผัด,แกง เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล-มัธยม3 จำนวน 80 คน ได้ทานอาหารกลางวันที่มีผักบุ้งเป็นส่วนประกอบในมื้ออาหารกลางวัน

2.นักเรียนได้กินผักเพิ่มมากขึ้น

3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

4.ผักที่ปลูกมีความปลอดภัย

5.โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนได้รับอาหารที่ดี มีประโยชน์ ปลอดสารเคมี ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
80.00 82.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 46
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนในโรงเรียน 46

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนได้รับอาหารที่ดี มีประโยชน์ ปลอดสารเคมี ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ (2) ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน (3) เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหม่อม (โรงเรียนวัดนาหม่อม) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประจักษ์ อารมณ์ฤทธิ์ (0973507949) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด