1.นักเรียนช่วยกันเก็บเกี่ยวผักบุ้งจากแปลงที่ปลูกเอง ส่งให้กับโครงการอาหารกลางวัน 3-4 กิโลกรัมต่อสัปดาห์
2.แม่ครัวนำผักบุ้งที่นักเรียนช่วยกันปลูกจัดเป็นเมนูอาหารกลางวัน เช่น เมนูก๋วยเตี๋ยว ,ผัด,แกง เป็นต้น
1.นักเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล-มัธยม3 จำนวน 80 คน ได้ทานอาหารกลางวันที่มีผักบุ้งเป็นส่วนประกอบในมื้ออาหารกลางวัน
2.นักเรียนได้กินผักเพิ่มมากขึ้น
3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
4.ผักที่ปลูกมีความปลอดภัย
5.โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัย
1.คุณครูผู้รับผิดชอบ โครงการดำเนินการจัดตารางเวรนักเรียน ตั้งแต่ชั้น ป.1-ม.3 ในการรับผิดชอบ ประจำวัน ในแต่ละชั้นเรียน โดยมีหน้าที่ รดน้ำผัก กำจัดศัตรูพืช ใส่ปุ๋ยผัก จนกว่าผักจะโตและเก็บเกี่ยวผลผลิต
2.ครูให้ความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
3.นักเรียนช่วยกันปลูกผักบุ้งในแปลงที่เป็นลูกท่อง 20 ลูก และที่เป็นแปลงดิน
1.นักเรียนระดับชั้นประถมและมัธยม จำนวน 40 คน มีความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
3.นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน
1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 และมัธยมศึกษาปีที่3 ร่วมกันจัดทำแปลงปลูกผักทั้งในแบบลูกท่อ จำนวน 20ลูก และแปลงดิน จำนวน 10 แปลง โดยนักเรียนโต จะช่วยกันทำแปลงดิน เช่น การถางหญ้า ยกร่อง ส่วนเด็กเล็กระดับประถม ครูผู้รับผิดชอบโครงการได่ช่วยกันผสมดินปลูก ใส่ลงในลูกท่อ สำหรับใช้ปลูกผักบุ้ง
1.นักเรียน ป.1-ม.3 ช่วยกันทำแปลงปลูกผัก โดยเป็นรูปแบบแปลงดิน 10แปลง แบบลูกท่อ 20 ลูก
2.นักเรียนมีส่วร่วมในการทำแปลงปลูกผัก
3.นักเรียนมีความรู้ในการทำแปลงปลูกผัก