สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง) ”

ม.4 ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายทนง มิตทะจันทร์ (0862948453)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง)

ที่อยู่ ม.4 ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4 ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4 ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนักเรียนของโรงเรียนบ้านนาม่วงบางส่วนมีปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย เช่น ผอมเกินไป อ้วนเกินไป มีสาเหตุมาจากการที่นักเรียนไม่รู้เลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่า มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ
โรงเรียนได้เล็งเห็นความสำคัญโภชนาการสำหรับนักเรียนเพราะหากนักเรียนมีคุณภาพร่างกายแขํงแรงสมบูรณ์ มีจิตใจร่าเริง แจ่มใส ก็จะมีผลต่อการจัดการเรียนรู้ท าให้นักเรียนพร้อมที่จ ะเรียนรู้ ดังนั้น จึงได้จัดโครงการโภชนาการเพื่ออนาคตโรงเรียนบ้านนาม่วงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการ อย่างครบถ้วน
  2. เ พื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน
  3. เพื่อส่งเสริมความรู้ พื้นฐานจากประสบการณ์ เรื่องโภชนาการและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแปลงและปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. นำผลลิตจากแปลงเกษตรมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียน 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ได้รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อโภชนาการที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำแปลงและปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมครู ,บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม มีการแบ่งนักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ

2.มีการปลูกผักสวนครัว จำนวน 3 ชนิด ดังนี้ มะเขือยาว มะเขือเจ้าพระยา ผักบุ้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิตที่ได้

  • ปลูกผักบุ้ง8 แปลง

  • ปลูกมะเขือเจ้าพระยา 2 แปลง

  • ปลูกมะเขือยาว 27 แปลง

  • ชะอม 10 ต้น เก็บเกี่ยวได้ 4 ต้น

 

0 0

2. นำผลลิตจากแปลงเกษตรมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน

วันที่ 5 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นำผลผลิตจากแปลงเกษตรมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิตที่ได้

  • ปลูกมะเขือยาว 27 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 200 กิโลกรัม

  • ปลูกผักบุ้ง 8 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 180 กิโลกรัม

  • ปลูกมะเขือเจ้าพระยา 2 .แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 32 กิโลกรัม

  • ปลูกผักชะอม 10 ต้น (ยังไม่สามารถเก็บเกี่ยวได้)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการ อย่างครบถ้วน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีน้ำหนักส่วนสูง สมส่วน ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
100.00 100.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เ พื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภูมิต้านทานโรคไม่เกิดโรคติดต่อ
100.00 100.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

3 เพื่อส่งเสริมความรู้ พื้นฐานจากประสบการณ์ เรื่องโภชนาการและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 100 มีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
100.00 100.00

นักเรียนมีความรู้เรื่องประโยชน์ของผักและนำความรู้ไปปฏิบัติได้

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการ อย่างครบถ้วน (2) เ พื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อส่งเสริมความรู้ พื้นฐานจากประสบการณ์ เรื่องโภชนาการและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแปลงและปลูกผักปลอดสารพิษ (2) นำผลลิตจากแปลงเกษตรมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่อโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง (โรงเรียนบ้านนาม่วง) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทนง มิตทะจันทร์ (0862948453) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด