แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนิลประภา เทพช่วย (0805428618)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านคลองคลองช้าง จัดโครงการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคนซึ่งได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการอาหารกลางวัน รายหัวละ 20 คน/ วัน แต่ยังประสบปัญหานักเรียนบางส่วนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คือร้อยละ 2.81 ของนักเรียนทั้งหมดมี ภาวะค่อนข้างผอมและร้อยละ 5.63 ค่อนข้างเตี้ย (ข้อมูล 10 มิ.ย.2561) นอกจากนี้ ด้านความปลอดภัยของวัตถุดิบที่นำมาปรุงอาหาร ได้แก่ ผัก ผลไม้มีความเสี่ยงการปนเปื้อนของยาฆ่าแมลงเนื่องจาก ซื้อมาจากท้องตลาดเป็นส่วนใหญ่ จากสถานการณ์ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น จึงทำให้โรงเรียนบ้านคลองช้าง ได้จัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียนขึ้นเพื่อลดปัญหาดังกล่าว โดยการเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบเองเพื่อประกอบอาหารกลางวัน ให้นักเรียนได้รับคุณค่าทางอาหารที่ครบถ้วนและปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อนำผลผลิตจากการเกษตรเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
- เด็กนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการ
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกต้นขจรและเสาวรสริมรั้ว
- ปลูกผักสวนครัวในแปลงซีเมนต์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา
12
นักเรียนระดับประถมศึกษา
52
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนสามารถสร้างผลผลิตจากการทำเกษตรสู่โครงการอาหารกลางวันได้
2.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย
3.นักเรียนมีทักษะการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปลูกขจรริมรั้ว
วันที่ 20 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูและนักเรียนระดับชั้น 1 - 6 ร่วมกันจัดเตรียมพื้นที่ปลูกต้นขจร
2.เตรียมดินปลูกโดยการผสมของปุ๋ยชีวภาพและขี้วัวเพื่อให้ดินมีประสิทธิภาพ
3.ปลูกต้นพันธุ์ขจรที่ได้จัดซื้อ 4.แบ่งนักเรียนและรับผิดชอบในการดูแลต้นขจรต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้
ปลูกต้นดอกขจร 30 หลุม ( อยู่ในระยะของการเจริญเติบโต ยังไม่สามารถให้ผลผลิตได้ )
62
0
2. ปลูกผักสวนครัวในแปลงซีเมนต์
วันที่ 4 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.นักเรียนตั้งแต่ชั้นป.1-ป.6 เตรียมดินในแปลงซีเมนต์ โดยจะแบ่งนักเรียนให้รับผิดชอบตามแปลงที่ตนเองได้รับมอบหมาย 5 คน ต่อ 1 แปลง โดยมีหน้าที่ในการแล้วรดน้ำ ใส่ปุ๋ย และกำจัดวัชพืช
2.เมื่อผลผลิตสามารถเก็บเกี่ยวได้ให้ส่งไปประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียนต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้
ปลูกผักบุ้ง 6 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 30 กิโลกรัม
ปลูกข้าวโพด 6 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 15 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 30 กิโลกรัม
ปลูกบวบ 3 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 40 กิโลกรัม
64
0
3. ปลูกเสาวรสริมรั้ว
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมพื้นที่ปลูก และขุดหลุมเพื่อใส่เสาคอนกรีตในการทำค้างเสาวรส
2.ผสมดินปลูกเพื่อให้ได้ดินที่มีคุณภาพ
3.ปลูกต้นพันธุ์เสาวรสที่จัดซื้อ
4.แบ่งนักเรียนให้ดูแลรับผิดชอบต้นเสาวรส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 นักเรียนได้เรียนรู้การเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก
2 มีต้นเสาวรสให้นักเรียนได้รับประทาน
3 นักเรียนและครู มีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
64
0
4. ปลูกฟักทองในสวนทุเรียน
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 -6 ร่วมกันจัดเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก
2.ผสมดินโดยใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และมูลชี้ไก่เพื่อจะได้ดินที่มีคุณภาพ
3.นำเมล็ดพันธุ์ไปปลูก และแบ่งหน้าที่ให้นักเรียนรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ได้แปลงฟักทองเพื่อที่จะได้นำผลิตไปประกอบอาหาร ( อยู่ในระหว่างการเจริญเติบโต ยังไม่สามารถให้ผลผลิตได้ )
64
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อนำผลผลิตจากการเกษตรเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผลผลิตที่นำสู่โครงการอาหารกลางวัน
80.00
2
เด็กนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการ
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนทุกคนได้รับสารอาหารครบถ้วนที่มีคุณค่าทั้ง 5 หมู่
0.00
80.00
3
เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านการเกษตรและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
64
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา
12
นักเรียนระดับประถมศึกษา
52
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิลประภา เทพช่วย (0805428618) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) ”
จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางนิลประภา เทพช่วย (0805428618)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านคลองคลองช้าง จัดโครงการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคนซึ่งได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการอาหารกลางวัน รายหัวละ 20 คน/ วัน แต่ยังประสบปัญหานักเรียนบางส่วนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คือร้อยละ 2.81 ของนักเรียนทั้งหมดมี ภาวะค่อนข้างผอมและร้อยละ 5.63 ค่อนข้างเตี้ย (ข้อมูล 10 มิ.ย.2561) นอกจากนี้ ด้านความปลอดภัยของวัตถุดิบที่นำมาปรุงอาหาร ได้แก่ ผัก ผลไม้มีความเสี่ยงการปนเปื้อนของยาฆ่าแมลงเนื่องจาก ซื้อมาจากท้องตลาดเป็นส่วนใหญ่ จากสถานการณ์ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น จึงทำให้โรงเรียนบ้านคลองช้าง ได้จัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียนขึ้นเพื่อลดปัญหาดังกล่าว โดยการเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบเองเพื่อประกอบอาหารกลางวัน ให้นักเรียนได้รับคุณค่าทางอาหารที่ครบถ้วนและปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อนำผลผลิตจากการเกษตรเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
- เด็กนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการ
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกต้นขจรและเสาวรสริมรั้ว
- ปลูกผักสวนครัวในแปลงซีเมนต์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา | 12 | |
นักเรียนระดับประถมศึกษา | 52 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.โรงเรียนสามารถสร้างผลผลิตจากการทำเกษตรสู่โครงการอาหารกลางวันได้
2.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย
3.นักเรียนมีทักษะการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปลูกขจรริมรั้ว |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูและนักเรียนระดับชั้น 1 - 6 ร่วมกันจัดเตรียมพื้นที่ปลูกต้นขจร 2.เตรียมดินปลูกโดยการผสมของปุ๋ยชีวภาพและขี้วัวเพื่อให้ดินมีประสิทธิภาพ 3.ปลูกต้นพันธุ์ขจรที่ได้จัดซื้อ 4.แบ่งนักเรียนและรับผิดชอบในการดูแลต้นขจรต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
62 | 0 |
2. ปลูกผักสวนครัวในแปลงซีเมนต์ |
||
วันที่ 4 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.นักเรียนตั้งแต่ชั้นป.1-ป.6 เตรียมดินในแปลงซีเมนต์ โดยจะแบ่งนักเรียนให้รับผิดชอบตามแปลงที่ตนเองได้รับมอบหมาย 5 คน ต่อ 1 แปลง โดยมีหน้าที่ในการแล้วรดน้ำ ใส่ปุ๋ย และกำจัดวัชพืช 2.เมื่อผลผลิตสามารถเก็บเกี่ยวได้ให้ส่งไปประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียนต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
64 | 0 |
3. ปลูกเสาวรสริมรั้ว |
||
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมพื้นที่ปลูก และขุดหลุมเพื่อใส่เสาคอนกรีตในการทำค้างเสาวรส 2.ผสมดินปลูกเพื่อให้ได้ดินที่มีคุณภาพ 3.ปลูกต้นพันธุ์เสาวรสที่จัดซื้อ 4.แบ่งนักเรียนให้ดูแลรับผิดชอบต้นเสาวรส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 นักเรียนได้เรียนรู้การเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก 2 มีต้นเสาวรสให้นักเรียนได้รับประทาน 3 นักเรียนและครู มีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
|
64 | 0 |
4. ปลูกฟักทองในสวนทุเรียน |
||
วันที่ 5 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 -6 ร่วมกันจัดเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก 2.ผสมดินโดยใช้ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และมูลชี้ไก่เพื่อจะได้ดินที่มีคุณภาพ 3.นำเมล็ดพันธุ์ไปปลูก และแบ่งหน้าที่ให้นักเรียนรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นจริง - ได้แปลงฟักทองเพื่อที่จะได้นำผลิตไปประกอบอาหาร ( อยู่ในระหว่างการเจริญเติบโต ยังไม่สามารถให้ผลผลิตได้ )
|
64 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อนำผลผลิตจากการเกษตรเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผลผลิตที่นำสู่โครงการอาหารกลางวัน |
80.00 | |||
2 | เด็กนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการ ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนทุกคนได้รับสารอาหารครบถ้วนที่มีคุณค่าทั้ง 5 หมู่ |
0.00 | 80.00 | ||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านการเกษตรและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม |
100.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 64 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา | 12 | ||
นักเรียนระดับประถมศึกษา | 52 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิลประภา เทพช่วย (0805428618) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......