ชื่อโครงการ | โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านคลองช้าง (โรงเรียนบ้านคลองช้าง) |
ภายใต้โครงการ | แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
แหล่งทุน |
ไม่ระบุ
|
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านคลองช้าง ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางนิลประภา เทพช่วย (0805428618) |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | วรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
จังหวัด | อำเภอ | ตำบล | ชื่องานในพื้นที่ | ลักษณะพื้นที่ | |
---|---|---|---|---|---|
สงขลา | place directions |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | มีเด็กอ้วนร้อยละ 3 | 0.00 | ||
2 | มีนักเรียนเตี้ย ร้อยละ 5 | 0.00 | ||
3 | นักเรียนไม่ชอบรับประทานผักร้อยละ 30 | 0.00 | ||
4 | นักเรียนขาดทักษะและความรู้ในการปลูกผัก ร้อยละ20 | 0.00 | ||
5 | ขาดวัตถุดิบในการทำอาหารกลางวันที่สะอาดและปลอดภัยร้อยละ 20 | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรงเรียนบ้านคลองคลองช้าง จัดโครงการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคนซึ่งได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการอาหารกลางวัน รายหัวละ 20 คน/ วัน แต่ยังประสบปัญหานักเรียนบางส่วนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คือร้อยละ 2.81 ของนักเรียนทั้งหมดมี ภาวะค่อนข้างผอมและร้อยละ 5.63 ค่อนข้างเตี้ย (ข้อมูล 10 มิ.ย.2561) นอกจากนี้ ด้านความปลอดภัยของวัตถุดิบที่นำมาปรุงอาหาร ได้แก่ ผัก ผลไม้มีความเสี่ยงการปนเปื้อนของยาฆ่าแมลงเนื่องจาก ซื้อมาจากท้องตลาดเป็นส่วนใหญ่ จากสถานการณ์ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น จึงทำให้โรงเรียนบ้านคลองช้าง ได้จัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียนขึ้นเพื่อลดปัญหาดังกล่าว โดยการเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบเองเพื่อประกอบอาหารกลางวัน ให้นักเรียนได้รับคุณค่าทางอาหารที่ครบถ้วนและปลอดภัย
แผนผังที่ 1 กรอบแนวคิด การดำเนินงานโครงการเกษตรในโรงเรียน
1.เรียนรู้การเกษตร การเพาะปลูกพืชผัก การจัดการผลผลิตสู่อาหารกลางวัน
2.ภาวะโภชนาการที่ดี สุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี สติปัญญาดี
3.มีทักษะชีวิต มีเจตคติที่ดีต่อการอาชีพสุจริต มีพื้นฐานการประกอบอาชีพในท้องถิ่น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อนำผลผลิตจากการเกษตรเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน ร้อยละของผลผลิตที่นำสู่โครงการอาหารกลางวัน |
80.00 | |
2 | เด็กนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการ เด็กนักเรียนทุกคนได้รับสารอาหารครบถ้วนที่มีคุณค่าทั้ง 5 หมู่ |
0.00 | 80.00 |
3 | เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านการเกษตรและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม |
100.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 64 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา | 12 | - | |
นักเรียนระดับประถมศึกษา | 52 | - |
1.วางแผนการดำเนินงาน -ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อเสนอโครงการ -แต่งตั้งผู้รับผิดชอบและจัดทำโครงการ -อบรมเชิงปฏิบัติการผู้รับผิดชอบ
2.ขั้นดำเนินงาน ปลูกดอกขจรและเสาวรสริมรั่ว และปลูกผักสวนครัว
3.ขั้นตรวจ ติดตาม ประเมินผล
- ติดตามการดำเนินงานปลูกพืชผัก
- คำนวณผลผลิตที่ได้รับ
- ติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนที่รับประทานอาหารกลางวัน
- สรุป ประเมินผล และรายงานโครงการ
1.โรงเรียนสามารถสร้างผลผลิตจากการทำเกษตรสู่โครงการอาหารกลางวันได้
2.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีภาวะโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย
3.นักเรียนมีทักษะการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพเกษตรกรรม
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ย. 2561 13:40 น.