สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง)
ภายใต้โครงการ แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านลำลอง ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสวยหนะ หัดขะเจ (0862984973)
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ วรรณา สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.5119794637658,100.81161499023place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2561 30 ก.ย. 2562 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
3. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรงเรียนมีเด็กตัวเล็ก
56.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

นักเรียนส่วนหนึ่งภาวะทางโภชนาการไม่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข อีกทั้งโรงเรียนไม่มีวัตถุดิบที่จะมาประกอบอาหารให้เด็กนักเรียนรับประทานเป็นอาหารกลางวัน จึงต้องซื้อวัตถุดิบตามท้องตลาดมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน จากปัญหาดังกล่าวส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัยของเด็ก โดยแยกได้ดังนี้

  1. เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 51 คน

  2. เด็กเตี้ย 40 คน

  3. เด็กผอม 35 คน

รวมเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 82 คนจากนักเรียนทั้งหมด 377 คน

stars
4. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

stars
5. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่

นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่

375.00
2 2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

56.00 56.00
3 3. เพื่อให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตรสามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้

นักเรียนร้อยละ 80 สามารถนำความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้

375.00
stars
6. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู และบุคลากร ,ผู้ปกครอง,นักเรียน 70 -
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 5,000.00 6 20,000.00
19 พ.ย. 61 การปลูกผักสวนครัว 0 0.00 4,000.00
19 พ.ย. 61 การทำปุ๋ยหมัก 0 2,000.00 4,000.00
19 พ.ย. 61 การเพาะเห็ด 0 0.00 3,700.00
20 พ.ย. 61 การเลี้ยงปลาดุก 0 3,000.00 8,300.00
21 พ.ย. 61 การประชุมครู 0 0.00 0.00
22 พ.ย. 61 ประชุมผู้ปกครอง 0 0.00 0.00

1.เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำโครงการเกษตรในโรงเรียน

2.ประชุมครู

3.ประชุมผู้ปกครอง

4.จัดตั้งคณะทำงาน

5.คณะทำงานประชุมวางแผนการทำโครงการ

6.ปฏิบัติตามแผน

7.ประเมินการทำงาน

8.สรุปผลการทำงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนได้รับประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
  2. นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  3. นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตร สามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ย. 2561 13:40 น.