แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา ”
จังหวัดพังงา
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา
ที่อยู่ จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพังงา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา
บทคัดย่อ
โครงการ " มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพังงา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์จังหวัดภูเก็ตและกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่มะรุ่ย
- ประชุมการทำแผนขับเคลื่อนบูรณาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม "มะรุ่ยแห่งความสุข"
- ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนและการประเมินงานมะรุ่ยแห่งความสุข
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตำบลมะรุ่ย
- ประชุมสำรวจข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประชุมทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรมะรุ่ยแห่งความสุข
- ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมการจัดทำข้อมูลภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย (รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว)
- ประชุมสรุปการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมดูข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ยและวางแผนเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
- ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรของพื้นที่ตำบลมะรุ่ย
- ประชุมเตรียมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย จังหวัดพังงา
- ประชุมสรุปข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมปรึกษษหารือการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
- ประชุมจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรร่วมกับ อบต.มะรุ่ย
- ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
- ประชุมเตรียมเวทีประชุมแผนพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ อบต.มะรุ่ย
- ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถื่น อบต.มะรุ่ย
- ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
- ประชุมติดตามงานมะรุ่ยแห่งความสุข
- ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาปลาตายในพื้นที่คลองมะรุ่ย
- ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย เพื่อวางแผนการจัดทำนโยบายระดับตำบล
- ประชุมทบทวนแผนการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ตำบลมะรุ่ย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์จังหวัดภูเก็ตและกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่มะรุ่ย
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานและ อบต.มะรุ่ย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้แนวทางการประชุมคณะทำงานตำบลในการขับเคลื่อนงานระยะที่ 2
4
5
2. ประชุมการทำแผนขับเคลื่อนบูรณาการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม "มะรุ่ยแห่งความสุข"
วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนแผนงาน “การจัดการภัยพิบัติและการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติควบคู่กับการท่องเที่ยวอย่างปลอดภัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้แต่งตั้งคณะทำงาน และแผนปฏิบัติงาน
24
25
3. ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนและการประเมินงานมะรุ่ยแห่งความสุข
วันที่ 8 มีนาคม 2567 เวลา 16:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สำรวจข้อมูล ม.2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผังทรัพยากรในหมู่ 2 เป็นแผนที่
5
5
4. ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วันที่ 10 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สำรวจข้อมูลทรัพยากรดอนหลอย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยว
5
5
5. ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตำบลมะรุ่ย
วันที่ 12 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำผังทรัพยากร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลการทำผังทรัพยากร 7 หมู่บ้าน และเห็นปัญหานำ้แล้งในหมู่ 3
5
30
6. ประชุมสำรวจข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประชุมทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรมะรุ่ยแห่งความสุข
วันที่ 19 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่จัดทำแผนทำมือและผังทรัพยากรชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลสำหรับทำแผนที่ 7 หมู่บ้าน
100
100
7. ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
วันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมตำบลมะรุ่ย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้แผนที่ทำมือและผังทรัพยากรชุมชน 7 หมู่บ้าน
6
6
8. ประชุมการจัดทำข้อมูลภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย (รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว)
วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเตรียมข้อมูลการสำรวจภัยพิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้แผนการลงสำรวจและหน่วยงานที่จะไปเก็บข้อมูล
5
3
9. ประชุมสรุปการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
วันที่ 3 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมติดตามข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลสุขภาพ และภัยพิบัติ
10
9
10. ประชุมดูข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ยและวางแผนเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดูข้อมูลที่่ทางคณะทำงานมะรุ่ยแห่งความสุขเสนอข้อมูลในพื้นที่ และมีการวางแผนเตรียมเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ทราบถึงข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ย
6
6
11. ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรของพื้นที่ตำบลมะรุ่ย
วันที่ 24 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมทบทวนข้อมูลที่จะสำรวจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แบ่งงานให้แต่ละคนหาข้อมูลพื้นฐานและ Mapping ผู้เกี่ยวข้อง
5
4
12. ประชุมเตรียมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
วันที่ 30 เมษายน 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานออกแบบเวที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จะใช้กระบวนการ word cafe ในการจัดเวที
15
14
13. ประชุมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย จังหวัดพังงา
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมทีมทำงาน ประเด็นพูดคุย
- ที่มาและความสำคัญ "มะรุ่ยแห่งความสุข" และชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดเวที
- ชี้แจ้งการแบ่งกลุ่ม และกระบวนการทำข้อมูล
- กระบวนการ Word Cafe แบ่งกลุ่มจัดทำข้อมูลระดับตำบล
- การใช้ประโยชน์จากน้ำ และที่ดิน
- การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- การจัดการเศรษฐกิจชุมชน
- ศิลปวัฒนธรรม และสุขภาพ
- การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่ตำบลมะรุ่ย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การใช้ประโยชน์น้ำและที่ดิน
- ศิลปวัฒนธรรม / สุขภาพ / สังคม
- การจัดการเศรษฐกิจชุมชน
- การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
80
80
14. ประชุมสรุปข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การเชื่อมโยงข้อมูลจากโครงการแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566-2570) เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) กับข้อมูลจากการลงพื้นที่ และการรับฟังข้อมูลเพิ่มเติมจากเวที
ประเด็นที่ 1 การใช้ประโยชน์น้ำและที่ดิน
ประเด็นที่ 2 ศิลปวัฒนธรรม/สุขภาพ/สังคม
ประเด็นที่ 3 การจัดการเศรษฐกิจชุมชน
ประเด็นที่ 4 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลและแผนที่จำนำเสนอต่อ อบต.มะรุ่ย
4
4
15. ประชุมปรึกษาหารือการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
วันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมร่วมกับ อบต.หารือการจัดเวทีประชาคม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้แนวทางการจัดกระบวนการเวที โดยการเชิญแกนนำหมู่บ้านละ 10 คนมาร่วมให้ข้อมูล
6
6
16. ประชุมจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรร่วมกับ อบต.มะรุ่ย
วันที่ 21 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรมะรุ่ย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- บริบทพื้นที่
- จำนวนโครงสร้างและประชากร
- ทุนทางสังคม
9
9
17. ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
วันที่ 30 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปข้อมูลที่ได้จากเวทีประชาคม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปข้อมูลจากแผนที่ 7 หมู่บ้าน
10
9
18. ประชุมเตรียมเวทีประชุมแผนพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ อบต.มะรุ่ย
วันที่ 3 มิถุนายน 2567 เวลา 16:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานสรุปข้อมูลและเตรียมนำเสนอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้นำเสนอข้อมูลแผนที่สำรวจ 7 หมู่บ้าน
9
9
19. ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่น อบต.มะรุ่ย
วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมวิชาการได้ร่วมหารือการพัฒนาอย่างยั่งยินมะรุ่ยแห่งความสุข ในที่ประชุมแผนการดำเนินงานของ อบต.มะรุ่ย ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมี นายก อบต.มะรุ่ย เป็นประธาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ทีมงานวิชาการได้หยิบยกข้อเสนอ 7 หมู่บ้านที่เข้าร่วมทบทวนข้อมูลในเวทีมะรุ่ยแห่งความสุขเป็นกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อน ดังนี้
- การสำรวจและการจัดทำแผนการใช้น้ำดื่มในพื้นที่
- สร้างเสริมุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง NCD
- ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว
- บูรณะอนุสรณ์สถานหลวงพ่อแซ่ม
- ส่งเสริมอาชีพและการสร้างรายได้
- แผนการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว
10
13
20. ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมวิชาการได้ร่วมหารือการพัฒนาอย่างยั่งยินมะรุ่ยแห่งความสุข ในที่ประชุมแผนการดำเนินงานของ อบต.มะรุ่ย ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมี นายก อบต.มะรุ่ย เป็นประธาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ทีมงานวิชาการได้หยิบยกข้อเสนอ 7 หมู่บ้านที่เข้าร่วมทบทวนข้อมูลในเวทีมะรุ่ยแห่งความสุขเป็นกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อน ดังนี้
- การสำรวจและการจัดทำแผนการใช้น้ำดื่มในพื้นที่
- สร้างเสริมุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง NCD
- ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว
- บูรณะอนุสรณ์สถานหลวงพ่อแซ่ม
- ส่งเสริมอาชีพและการสร้างรายได้
- แผนการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว
10
14
21. ประชุมติดตามงานมะรุ่ยแห่งความสุข
วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อมูลที่ต้องเพิ่มเติม มี
1. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย
2.แผนที่ทำมื่อ
8
8
22. ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาปลาตายในพื้นที่คลองมะรุ่ย
วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เปิดเวที รับฟังปัญหา ข้อมูลการตายของปลาในกระชัง
- บังกวี กลุ่มประมงพื้นบ้าน บ้านโคกไคร นำเสนอข้อมูล เกิดการตายของปลาเก๋าดอกแดง เริ่มประมาณวันที่ 5 สิงหาคม และทยอยตายมาเรื่อยๆ จนจำนวนปลารอดตายเหลือน้อยกว่า 30%
- สมาชิก กลุ่มบ้านท่าสนุก นำเสนอข้อมูล สรุปได้ว่าเกิดปลาตายเริ่มตั้งแต่ช่วงกลางเดือนกรกฏาคม จนถึงปัจจุบัน กระชังในพื้นที่จำนวน 8 ราย ไม่มีปลารอดชีวิต และหยุดการเลี้ยงปลาในกระชัง จนถึงปัจจุบัน
- สมาชิก กลุ่มบ้านท่าแกรง นำเสนอข้อมูล สรุปได้ว่าในพื้นที่ ก็มีปลาตาย ทั้งปลากะพง และปลาเก๋า เริ่มทยอยตาย ประมาณ 30% ของกระชังที่เลี้ยงปลา
- คุณโกสิน นำเสนอว่า ในพื้นที่มีการลอบขุดเหยื่อแดง และสังเกตสีของน้ำมีความขุ่นเหมือนมี 2 สี มีความเมือกของน้ำในลำคลอง
- นายสมโภชน์ ซักถามคำถามเพิ่มเติม และให้ชาวบ้านในพื้นที่ทำข้อมูลทางสถิติ ประเด็นคำถาม 2.1 ตำแหน่งที่เลี้ยงปลา 2.2 ขนาดของกระชัง ชนิดปลา อายุ และปริมาณของปลาที่เลี้ยง 2.3 อาหารที่เลี้ยงปลา 2.4 จำนวนการตาย สังเกตพฤติกรรมของปลา และลักษณะของปลาที่ตาย
- ดร. อภิชาติ ซักถามคำถามเพิ่มเติม ประเด็นคำถาม 3.1 สภาพแวดล้อมในพื้นที่ มีการเปลี่ยนแปลงกะทันหันหรือไหม เกิดฝนตกไหม หรือ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดไหม 3.2 กิจกรรมของชาวบ้านในพื้นที่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ กิจกรรมการจัดการทางการเกษตร และการกำจัดของเสีย 3.3 สอบถามเพิ่มเติมไปประเด็น สปาโคลน คิดว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับพื้นที่ไหม มีชาวบ้านตั้งประเด็น กำมะถัน อาจเพิ่มขึ้นจากแนวรอยเลื่อน
- ดร.ศิริภัธร ซักถามคำถามเพิ่มเติม ประเด็นคำถาม 4.1 ได้มีการแจ้งหน่วยงานไหนแล้วบ้าง และหน่วยงานมีการดำเนินการอะไรบ้าง 4.2 ต้องการความช่วยเหลือ หรือ อยากให้ทาง สนส ช่วยเป็นตัวกลางในการประสานเรื่องไหนเพิ่มเติมไหม
- นายสมโภชน์ ให้คำตอบเบื้องต้น สาเหตุของการเกิดปลาตาย 5.1 เกิดฝนตก ทำให้ปริมาณน้ำจืดไหลลงสู่คลอง พื้นที่ต้นน้ำ ท่าสนุก จะเกิดการตายก่อน และไหลไปยัง กลางน้ำ และปลายน้ำ (ปลาเก๋าเป็นปลาน้ำเค็มจะเป็นปลาที่ทนน้ำจืดได้น้อยกว่าปลากะพงซึ่งเป็นปลา 2 น้ำ ทำให้เกิดการตายสูงกว่า) 5.2 ตั้งข้อสังเกต ความหนาแน่นของจำนวนกระชัง และปริมาณปลาที่เลี้ยงในแต่ละกระชัง 5.3 ตั้งข้อสังเกต เรื่องปลิงใส โรคของปลา การรุกล้ำของแมงกะพรุน 5.4 ตั้งข้อสังเกตการตื้นเขินของตะกอน จากของเสียที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชัง ทำให้เกิดพยาธิ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากการรับฟังปัญหา และให้ชาวบ้านในพื้นที่เก็บข้อมูลเชิงสถิติเพิ่มเติมสรุปได้ว่า
- ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการตายของปลาในกระชัง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปลาเก๋าดอกแดง ซึ่งเป็นปลาน้ำเค็มในบริเวณนั้นจะมีปลากระพงขาวซึ่งเป็นปลา 2 น้ำปลากะพงขาวไม่ตาย หรือ ตายน้อยกว่า เพราะปลากะพงขาวจะทนน้ำจืดได้มากกว่า น้ำจืดไหลลง ตอนบน กระชังตอนบนจะตายก่อน น้ำเค็มตอนล่างยังมีจึงทำให้ปลากระชังในตอนล่างตายช้ากว่า
- ปลิงใสเกิดจากตะกอน และการหมักของตะกอนใต้กระชัง บวกกับการเลี้ยงปลาที่หนาแน่น เชื้อโรค และของเสีย เมื่อปลาอ่อนแอ พยาธิจะเกาะได้ง่าย
- เมือกที่ตัวปลา เกิดจากเวลาปลาอ่อนแอ ปลาจะขับเมือกออกมาเพื่อรักษาตัวเอง
ส่วนสายเมือก ส่วนใหญ่เกิดจากแมงกะพรุน
- ล้อยาง ขัดขวางการไหลของกระแสน้ำ เกิดการสะสมตัวของตะกอน
- ต้องมีการตรวจสอบเรื่องดิน เรื่องน้ำ
- ปลาตายเกิน 50% แล้ว วิธีเดียวที่ช่วยได้ตอนนี้ คือเอาปลาขึ้นจากกระชัง แต่ไม่คุ้มกับต้นทุน ตอนนี้ปลาในคลองติดเชื้อแล้วเกือบทั้งหมด ปลิงใสจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น เนื่องจากจะทำให้ปลาตาย แล้วปลิงจะไปดูดตัวอื่นต่อ กระจายพันธุ์ไปเรื่อยๆ
10
11
23. ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย เพื่อวางแผนการจัดทำนโยบายระดับตำบล
วันที่ 6 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- หารือการเตรียมข้อมูลนำเสนอต่อ ทช.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีข้อมูลดังนี้
- แผนที่ท่องเที่ยวชุมชนและภัยพิบัติมีรองรับในแผนทาง อบต.ใส่ชื่อโครงการไว้เพื่อรองรับเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน
24
24
24. ประชุมทบทวนแผนการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ตำบลมะรุ่ย
วันที่ 16 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำข้อมูลสำรวจสถานการณ์และความเสี่ยงภัยพิบัติในตำบลมะรุ่ย ด้วยการสำรวจ และจัดเวทีชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผลการสำรวจสถานการณ์ภัยพิบัติรายหมู่บ้านของตำบลมะรุ่ย
- ผลการสำรวจพื้นที่เสี่ยงต่อโอกาสการเกิดภัย
- ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในพื้นที่
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา ”
จังหวัดพังงาหัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา
ที่อยู่ จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพังงา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา
บทคัดย่อ
โครงการ " มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพังงา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์จังหวัดภูเก็ตและกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่มะรุ่ย
- ประชุมการทำแผนขับเคลื่อนบูรณาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม "มะรุ่ยแห่งความสุข"
- ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนและการประเมินงานมะรุ่ยแห่งความสุข
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตำบลมะรุ่ย
- ประชุมสำรวจข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประชุมทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรมะรุ่ยแห่งความสุข
- ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมการจัดทำข้อมูลภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย (รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว)
- ประชุมสรุปการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมดูข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ยและวางแผนเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน
- ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรของพื้นที่ตำบลมะรุ่ย
- ประชุมเตรียมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย จังหวัดพังงา
- ประชุมสรุปข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรตำบลมะรุ่ย
- ประชุมปรึกษษหารือการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
- ประชุมจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรร่วมกับ อบต.มะรุ่ย
- ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
- ประชุมเตรียมเวทีประชุมแผนพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ อบต.มะรุ่ย
- ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถื่น อบต.มะรุ่ย
- ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย
- ประชุมติดตามงานมะรุ่ยแห่งความสุข
- ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาปลาตายในพื้นที่คลองมะรุ่ย
- ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย เพื่อวางแผนการจัดทำนโยบายระดับตำบล
- ประชุมทบทวนแผนการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ตำบลมะรุ่ย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์จังหวัดภูเก็ตและกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่มะรุ่ย |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานและ อบต.มะรุ่ย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แนวทางการประชุมคณะทำงานตำบลในการขับเคลื่อนงานระยะที่ 2
|
4 | 5 |
2. ประชุมการทำแผนขับเคลื่อนบูรณาการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม "มะรุ่ยแห่งความสุข" |
||
วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
24 | 25 |
3. ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนและการประเมินงานมะรุ่ยแห่งความสุข |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2567 เวลา 16:00 น.กิจกรรมที่ทำสำรวจข้อมูล ม.2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผังทรัพยากรในหมู่ 2 เป็นแผนที่
|
5 | 5 |
4. ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสำรวจข้อมูลทรัพยากรดอนหลอย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยว
|
5 | 5 |
5. ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 12 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำผังทรัพยากร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลการทำผังทรัพยากร 7 หมู่บ้าน และเห็นปัญหานำ้แล้งในหมู่ 3
|
5 | 30 |
6. ประชุมสำรวจข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประชุมทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรมะรุ่ยแห่งความสุข |
||
วันที่ 19 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่จัดทำแผนทำมือและผังทรัพยากรชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลสำหรับทำแผนที่ 7 หมู่บ้าน
|
100 | 100 |
7. ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมตำบลมะรุ่ย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แผนที่ทำมือและผังทรัพยากรชุมชน 7 หมู่บ้าน
|
6 | 6 |
8. ประชุมการจัดทำข้อมูลภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย (รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว) |
||
วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเตรียมข้อมูลการสำรวจภัยพิบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แผนการลงสำรวจและหน่วยงานที่จะไปเก็บข้อมูล
|
5 | 3 |
9. ประชุมสรุปการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 3 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมติดตามข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลสุขภาพ และภัยพิบัติ
|
10 | 9 |
10. ประชุมดูข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ยและวางแผนเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน |
||
วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดูข้อมูลที่่ทางคณะทำงานมะรุ่ยแห่งความสุขเสนอข้อมูลในพื้นที่ และมีการวางแผนเตรียมเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ทราบถึงข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ย
|
6 | 6 |
11. ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรของพื้นที่ตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 24 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมทบทวนข้อมูลที่จะสำรวจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแบ่งงานให้แต่ละคนหาข้อมูลพื้นฐานและ Mapping ผู้เกี่ยวข้อง
|
5 | 4 |
12. ประชุมเตรียมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 30 เมษายน 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานออกแบบเวที ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 14 |
13. ประชุมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย จังหวัดพังงา |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมทีมทำงาน ประเด็นพูดคุย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 80 |
14. ประชุมสรุปข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการเชื่อมโยงข้อมูลจากโครงการแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566-2570) เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) กับข้อมูลจากการลงพื้นที่ และการรับฟังข้อมูลเพิ่มเติมจากเวที ประเด็นที่ 1 การใช้ประโยชน์น้ำและที่ดิน ประเด็นที่ 2 ศิลปวัฒนธรรม/สุขภาพ/สังคม ประเด็นที่ 3 การจัดการเศรษฐกิจชุมชน ประเด็นที่ 4 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลและแผนที่จำนำเสนอต่อ อบต.มะรุ่ย
|
4 | 4 |
15. ประชุมปรึกษาหารือการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมร่วมกับ อบต.หารือการจัดเวทีประชาคม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แนวทางการจัดกระบวนการเวที โดยการเชิญแกนนำหมู่บ้านละ 10 คนมาร่วมให้ข้อมูล
|
6 | 6 |
16. ประชุมจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรร่วมกับ อบต.มะรุ่ย |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรมะรุ่ย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
9 | 9 |
17. ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสรุปข้อมูลที่ได้จากเวทีประชาคม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปข้อมูลจากแผนที่ 7 หมู่บ้าน
|
10 | 9 |
18. ประชุมเตรียมเวทีประชุมแผนพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ อบต.มะรุ่ย |
||
วันที่ 3 มิถุนายน 2567 เวลา 16:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานสรุปข้อมูลและเตรียมนำเสนอ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้นำเสนอข้อมูลแผนที่สำรวจ 7 หมู่บ้าน
|
9 | 9 |
19. ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่น อบต.มะรุ่ย |
||
วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทีมวิชาการได้ร่วมหารือการพัฒนาอย่างยั่งยินมะรุ่ยแห่งความสุข ในที่ประชุมแผนการดำเนินงานของ อบต.มะรุ่ย ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมี นายก อบต.มะรุ่ย เป็นประธาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 13 |
20. ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำทีมวิชาการได้ร่วมหารือการพัฒนาอย่างยั่งยินมะรุ่ยแห่งความสุข ในที่ประชุมแผนการดำเนินงานของ อบต.มะรุ่ย ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมี นายก อบต.มะรุ่ย เป็นประธาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 14 |
21. ประชุมติดตามงานมะรุ่ยแห่งความสุข |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อมูลที่ต้องเพิ่มเติม มี 1. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย 2.แผนที่ทำมื่อ
|
8 | 8 |
22. ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาปลาตายในพื้นที่คลองมะรุ่ย |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- บังกวี กลุ่มประมงพื้นบ้าน บ้านโคกไคร นำเสนอข้อมูล เกิดการตายของปลาเก๋าดอกแดง เริ่มประมาณวันที่ 5 สิงหาคม และทยอยตายมาเรื่อยๆ จนจำนวนปลารอดตายเหลือน้อยกว่า 30%
- สมาชิก กลุ่มบ้านท่าสนุก นำเสนอข้อมูล สรุปได้ว่าเกิดปลาตายเริ่มตั้งแต่ช่วงกลางเดือนกรกฏาคม จนถึงปัจจุบัน กระชังในพื้นที่จำนวน 8 ราย ไม่มีปลารอดชีวิต และหยุดการเลี้ยงปลาในกระชัง จนถึงปัจจุบัน
- สมาชิก กลุ่มบ้านท่าแกรง นำเสนอข้อมูล สรุปได้ว่าในพื้นที่ ก็มีปลาตาย ทั้งปลากะพง และปลาเก๋า เริ่มทยอยตาย ประมาณ 30% ของกระชังที่เลี้ยงปลา
- คุณโกสิน นำเสนอว่า ในพื้นที่มีการลอบขุดเหยื่อแดง และสังเกตสีของน้ำมีความขุ่นเหมือนมี 2 สี มีความเมือกของน้ำในลำคลอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 11 |
23. ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย เพื่อวางแผนการจัดทำนโยบายระดับตำบล |
||
วันที่ 6 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
24 | 24 |
24. ประชุมทบทวนแผนการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ตำบลมะรุ่ย |
||
วันที่ 16 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
มะรุ่ยแห่งความสุข จ.พังงา จังหวัด พังงา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......