สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด24 กันยายน 2567
24
กันยายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
  • 453077218_794602329505377_2853654702592899415_n.jpg
  • 453075538_794602359505374_6982574420817350871_n.jpg
  • 453072098_794602312838712_7834720453319418784_n.jpg
  • 452925993_794602296172047_3153431192283149828_n.jpg
  • 452924762_794602332838710_5038053027934581444_n.jpg
  • 452921777_794602282838715_8484048617078774792_n.jpg
  • 452907317_794602279505382_600044433138302064_n.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานอาหารตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดพัทลุงและสงขลา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 09:00 – 09:30 น. ความเป็นมา วัตถุประสงค์ และความสำคัญของการ “ประชุมบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด” โดย ดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา  ผู้อำนวยการอาวุโส สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สสส.
  • 09:30 – 10:00 น. กรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ “แผนการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ของแผนอาหารเพื่อสุขภาวะ สสส.” โดย นางสาวนิรมล ราศรี  ผู้อำนวยการ สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส.
  • 10:00 – 10:10 น.ระบบและกลไกสนับสนุนแผนการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะฯ  โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • 10:10 – 10:30 น. นำเสนอผล “การสำรวจสถานการณ์การบริโภคอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของประชากรไทย” โดย รศ.ดร.สิรินทร์ยา พูลเกิด สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 10:30 – 10:45 น. นำเสนอภาพรวม “การบรรลุ SDG ในพื้นที่จังหวัดสงขลา” โดย นางสาวอภิชญา โออินทร์ United Nations Development Program : UNDP
  • 10:45 – 12:00 น. แนะนำตัว/องค์กร เพื่อทำความรู้จักเพื่อนภาคีเครือข่ายที่ดำเนินงานในเรื่องอาหารฯ (ใคร/ทำอะไร/ที่ไหน/ผลเป็นอย่างไร/ต้องการเชื่อมกับใคร/สิ่งที่ต้องการสนับสนุน)
  • 13:00 – 16:30 น. แบ่งกลุ่มจังหวัด
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ภาคีเครือข่ายในจังหวัดสงขลาและพัทลุงที่ดำเนินงานเรื่องระบบอาหาร ตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  • แผนยุทธศาสตร์และแนวทางการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย
  • เครือข่ายขับเคลื่อนงานอาหารในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพัทลุง
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่