สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง

assignment
บันทึกกิจกรรม
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด24 กันยายน 2567
24
กันยายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
  • 453077218_794602329505377_2853654702592899415_n.jpg
  • 453075538_794602359505374_6982574420817350871_n.jpg
  • 453072098_794602312838712_7834720453319418784_n.jpg
  • 452925993_794602296172047_3153431192283149828_n.jpg
  • 452924762_794602332838710_5038053027934581444_n.jpg
  • 452921777_794602282838715_8484048617078774792_n.jpg
  • 452907317_794602279505382_600044433138302064_n.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานอาหารตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดพัทลุงและสงขลา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 09:00 – 09:30 น. ความเป็นมา วัตถุประสงค์ และความสำคัญของการ “ประชุมบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด” โดย ดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา  ผู้อำนวยการอาวุโส สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สสส.
  • 09:30 – 10:00 น. กรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ “แผนการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ของแผนอาหารเพื่อสุขภาวะ สสส.” โดย นางสาวนิรมล ราศรี  ผู้อำนวยการ สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส.
  • 10:00 – 10:10 น.ระบบและกลไกสนับสนุนแผนการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะฯ  โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • 10:10 – 10:30 น. นำเสนอผล “การสำรวจสถานการณ์การบริโภคอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของประชากรไทย” โดย รศ.ดร.สิรินทร์ยา พูลเกิด สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 10:30 – 10:45 น. นำเสนอภาพรวม “การบรรลุ SDG ในพื้นที่จังหวัดสงขลา” โดย นางสาวอภิชญา โออินทร์ United Nations Development Program : UNDP
  • 10:45 – 12:00 น. แนะนำตัว/องค์กร เพื่อทำความรู้จักเพื่อนภาคีเครือข่ายที่ดำเนินงานในเรื่องอาหารฯ (ใคร/ทำอะไร/ที่ไหน/ผลเป็นอย่างไร/ต้องการเชื่อมกับใคร/สิ่งที่ต้องการสนับสนุน)
  • 13:00 – 16:30 น. แบ่งกลุ่มจังหวัด
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ภาคีเครือข่ายในจังหวัดสงขลาและพัทลุงที่ดำเนินงานเรื่องระบบอาหาร ตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
  • แผนยุทธศาสตร์และแนวทางการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย
  • เครือข่ายขับเคลื่อนงานอาหารในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพัทลุง
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมเตรียมงานบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารตลอดห่วงโซ่อาหารในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด23 กรกฎาคม 2567
23
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sutthisapan
  • โปสเตอร์.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมกระบวนการดำเนินเวทีในกลุ่มวิทยากร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เตรียมกระบวนการเวทีบูรณาการความมั่นคงระบบอาหารในจังหวัดสงขลาและพัทลุง
  • จัดทำข้อมูล Input และผลลัพธ์ของเวที
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เครื่องมือคำถามสำหรับนำเข้าในเวที และ mapping เครือข่ายที่ทำเรื่องอาหารในจังหวัดสงขลาและพัทลุง ประกอบด้วย
  • โครงการ .....ผู้รับผิดชอบ.......แหล่งทุน........ปีที่ดำเนินการ.......
  • กิจกรรม อยู่ในต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ หรือตลอดห่วงโซ่
  • ผลที่เกิดขึ้น จัดทำนิยามคุณค่า 6 ด้านของการทำโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.)
  • คณะทำงาน
  • สื่อจาก สสส.
  • สื่อในโครงการ ศวสน.
  • ภาคีเครือข่ายสำนัก 5
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมร่วมกับ สสส. สรุปเวทีแผนอาหารและเตรียมงาน โชว์ แชร์ เชื่อม19 กรกฎาคม 2567
19
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sutthisapan
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมเตรียมเวทีโชว์แชร์เชื่อมงานอาหารจังหวัดสงขลา พัทลุง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเตรียมการจัดงานเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม งานระบบอาหารจังหวัดพัทลุงและสงขลา หารือ กระบวนการ ข้อมูลการนำเสนอ และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการจัดเวที

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. กระบวนการเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม เริ่มด้วยการคืนข้อมูลผลการจัดเวทีเครือข่ายอาหารจังหวัดสงขลาและพัทลุง ที่ผ่านมา และเติมเต็มโดยเครือข่ายใช้เครื่องมือบรรไดผลลัพธ์
  2. ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. เตรียมข้อมูลตั้งต้น และข้อมูลสถานการณ์ระบบอาหารในจังหวัดสงขลาและพัทลุง
  3. จัดเตรียมแผนที่จังหวัดสงขลา และพัทลุง สำหรับให้เครือข่าย Mapping พื้นที่ที่ดำเนินงานขับเคลื่อนเรื่องอาหารลงในแผนที่
  4. โจทย์ในการประชุม คือ ยุทธศาสตร์ร่วม และเจ้าภาพแต่ละเรื่อง หน่วยงานที่เข้ามาร่วมสนับสนุนมีบทบาทตรงไหนบ้าง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย
  • เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.)
  • เจ้าหน้าที่ สสส.สำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ และสำนัก 5
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในจังหวัดพัทลุง (เตรียมเวที โชว์ แชร์ เชื่อม แผนงานอาหาร)15 กรกฎาคม 2567
15
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
  • ed39feb2-01cb-4ba4-bed9-bd1a20bc6cc5.jpg
  • 8344b193-3895-427e-af9a-fd31274b25bc.jpg
  • 673f58d4-971e-46d0-aaa7-90f026febfc3.jpg
  • 606fedd3-f3bc-43c8-8026-e35a6f91aa04.jpg
  • 329c2f8d-bbc1-4fa1-b3a6-a699b7f998e9.jpg
  • 02b2203f-f74d-44c8-b6f7-c5ae091b26cf.jpg
  • 1e0815a8-08a5-40f8-b031-948cbe4e15ba.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อบูรณาการเครือข่ายอาหารในจังหวัดพัทลุง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
  • 09.00 – 09.15 น. ชี้แจงเป้าหมายและวัตถุประสงค์การจัดประชุม กรอบการวิเคราะห์ระบบอาหารตลอดห่วงโซ่  โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • 09.15 – 09.30 น. การขับเคลื่อนงานระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ โดย ผู้แทนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 09.30 – 10.30 น. สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารและทิศทางการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย ระบบอาหารภาคใต้ และแนวทางการขับเคลื่อนความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดพัทลุง
    โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10.30 – 12.00 น. Mapping ต้นทุน ศักยภาพการเคลื่อนงานระบบอาหาร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
    เพื่อบูรณาการทำงานร่วมกัน และ ออกแบบกลไก การขับเคลื่อนงานระบบอาหารจังหวัดพัทลุง โดย นายไพฑูรย์ ทองสม นักวิชาการอิสระ 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 15.00 น. กำหนดประเด็นการขับเคลื่อน เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางและกลไกการดำเนินงาน
    15.00 – 15.30 น. สรุปประเด็น และการเตรียมเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม
    โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    และผู้แทนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • แนวทางการขับเคลื่อนเส้นทางอาหารปลอดภัยจังหวัดพัทลุง พื้นที่ต้นแบบ การจัดการอาหาร ทะเลสาบ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ “บ้านช่องฟืน” ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน และพื้นที่ต้นแหร
  • กลไก / ระบบสนับสนุน (การสร้างคน การวิเคราะห์ความท้าทายทั้งเก่าและใหม่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้างคน / นวัตกรรม ระบบอาหารสร้างสรรค์ ชุมชน การออกแบบ การสื่อสาร)
  • วิธีการการขับเคลื่อน 1) Mapping ข้อมูล (ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายนน้ำ), คน สร้าง Model 2) เส้นทางอาหารเก็บที่ไหน (ฐานข้อมูล) เน้นในเกษตรกรคัดเชิงระบบ ระยะทาง มีปัจจัยอื่น ๆ เก็บข้อมูล 3) ตลาดเชิงระบบ สื่อสาร การจัดการ (ถ้าผู้บริโภค++) , เชื่อมโยง ผู้ค้ารายย่อย สร้างกลไก 4) สร้าง Dream team เป็นการจัดการเชิงระบบ 5) บูรณาการอาหารปลอดภัยจังหวัดพัทลุง เกษตรอินทรีย์ 8 อำเภอ 31 ราย 6) ยกระดับตัวเครือข่าย, Blue baseline
  • กำหนดตัวชี้วัดความมั่นคงทางอาหาร
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย
  • เครือข่ายอาหารจังหวัดพัทลุง ประกอบด้วย นักวิชาการ ภารรัฐ อบจ.พัทลุง ท้องถิ่น พอช. และเครือข่ายภาคประชาชนขับเคลื่อนงานอาหารที่ได้รับงบจาก สสส.
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบอาหารในจังหวัดสงขลา12 กรกฎาคม 2567
12
กรกฎาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sutthisapan
  • messageImage_1719546976492.jpg
  • messageImage_1719545768686.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมภาคีเครือข่ายจังหวัดสงขลา จัดทำข้อมูลสถานการณ์อาหารในจังหวัดสงขลา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • จัดทำข้อมูลสถานการณ์ระบบอาหารในจังหวัดสงขลา ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
  • Mapping ต้นทุน ศักยภาพการเคลื่อนงานระบบอาหาร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อบูรณาการทำงานร่วมกัน
  • ชี้แจงการจัดเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม และกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมงานของจังหวัดสงขลา
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สถานการณ์และต้นทุนการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดสงขลา มีเครือข่ายขับเคลื่อนอยู่จำนวน 9 องค์กร ได้แก่

- อบจ.สงขลา ทำวิจัยเพิ่มความสามารถของชุมชนในการพึ่งตนเอง เพื่อพัฒนาขับเคลื่อนชุมชนให้มีความมั่นคงทางอาหาร ร่วมกับกรมวิชาการเกษตร - เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้ ได้ทำประเด็นชุมชนสีเขียวเป็นนวัตกรรมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชีวิต - เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา ดำเนินนโยบายความมั่นคงทางอาหาร ตามวิสัยทัศน์ของเทศบาล
- สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสงขลา เสนอประเด็น “ข้าวอินทรีย์” และทำเรื่องการตลาด เอาเรื่องข้าวเป็นจุดเด่น โดยการพลิกฟื้นนาร้าง ในพื้นที่ที่หายไป - สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา รับผิดชอบนโยบายและแผนงาน เสนอช่องทางงบประมาณพัฒนาจังหวัด - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา รับผิดชอบเรื่องอาหารปลอดภัยและโภชนาการเป็นหลักขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด ดูแลเรื่องการรับรองมาตรฐานปลอดภัย ดูแลสถานที่ผลิต จำหน่าย นำเข้า ส่งออก การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยใน 6 ร. (โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหาร เรือนจำ รีสอร์ต โรงงาน) - โครงการความรอบรู้ด้านอาหาร โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ ทำโครงการส่งเสริมเรื่องการบริโภคทำให้คนเข้าถึงอาหารปลอดภัย และเรื่องการกินอาหารเป็นยาเพื่อลดโรค NCD ในโรงเรียนบ้านน้ำเค็ม ส่งเสริมให้ครูผู้ปกครองจัดการอาหารให้มีโภชนาการดีต่อเด็ก
- สถาบันทักษิณคดีศึกษา ทำเรื่อง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้วยอัตลักษณ์ของอาหารเน้นในเรื่องของอาหารและภูมิปัญญา - ครัวใบโหนด การดำเนินงานในระดับพื้นที่ เริ่มจากทำเรื่องออมทรัพย์ ตอนหลังมาทำครัวใบโหนดเรื่องอาหารปลอดภัย และทำนโยบายอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
2. กลไกการทำงานร่วม คือ ทำงานร่วมกันใน 4 ภาคส่วน คือ ภาครัฐท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน ขับเคลื่อนงานตามภารกิจ และสนับสนุนกระบวนการพื้นที่กลาง ข้อมูลวิชาการ การจัดการความรู้ โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 29 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  • เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.)
  • แกนนำเครือข่ายที่ทำงานอาหารในจังหวัดสงขลา
  • เจ้าหน้า สสส.สำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ และสำนัก 5
  • เครือข่าย สสส.สำนัก 5
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมวางระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางอาหารภาคใต้7 เมษายน 2567
7
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Ariya Mosu
  • 457258930_2681263632054987_3551185583002341863_n.jpg
  • 457280844_2681264115388272_8679707329123859397_n.jpg
  • 457370395_2681264142054936_3726376225934190198_n.jpg
  • 457258457_2681263912054959_8699162170707170806_n.jpg
  • 457255014_2681263705388313_29016232424480274_n.jpg
  • 457250964_2681264042054946_1845019562894847368_n.jpg
  • messageImage_1712473356559.jpg
  • messageImage_1712467642164.jpg
  • messageImage_1712464501000.jpg
  • messageImage_1712460138124.jpg
  • messageImage_1712460010054.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนภาคีภาคใต้ในการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหาร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมหารือ 2 ประเด็น คือ 1. พัฒนาระบบสนับสนุนภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหาร 2. กลไกสนับสนุนการทำงานภาคีเครือข่ายอาหารในภาคใต้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประเด็นขับเคลื่อนเรื่องความมั่นคงทางอาหารในภาคใต้ มี 4 ประเด็นคือ

  • 1) ข้าว พื้นที่ทำงาน จ.พัทลุง นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง ชุมพร ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
  • 2) ประมงน้ำจืดลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ประมงชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และสุขภาวะชาวประมง
  • 3) ปศุสัตว์ : แพะ โค ไก่ ไข่ บูรณาการใน Model เกษตรผสมผสานในพืชร่วมยาง
  • 4) พืชผักในสวนยาง พืชร่วมยาง เกษตรผสมผสานในสวนยาง
  1. ระบบสนับสนุนกลไกแต่ละประเด็น - ข้าว 1) ต้นน่ำ ทำเรื่องการผลิต การคัดเลือกพันธุ์ และการพัฒนางานวิจัย 2) กลางน้ำ ทำเรื่องการแปรรูป การพัฒนาให้ได้มาตรฐาน และ 3) ปลายน้ำ การสร้างเครือข่าย - เกษตรกรรมยั่งยืนในพืชเชิงเดี่ยว : ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล 1) ต้นน้ำ การผลิตเกษตรและอาหารปลอดภัย 2) กลางน้ำ การสร้างมูลค่าเพิ่ม เน้นการประกอบการ และ 3) ยกระดับสถาบันเกษตรกร และการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง - ประมงพื้นบ้าน 1) การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ 2) กลางน้ำ การแปรรูปอาหาร การเฝ้าระวังเครื่องมือประมงผิดกฎหมาย และ 3) การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายประมง - ปศุสัตว์ (แพะ โค ไก่ ไข่) 1) ต้นน้ำ การผลิตอาหารสัตว์ การคัดเลือกสายพันธ์ุ การเพิ่มพื้นที่ปลูกอาหาร 2) กลางน้ำ การแปรรูป การพัฒนาโรงเชือด

  2. กลไกการสนับสนุน โดยการจัดตั้ง Core team ใน 14 จังหวัดภาคใต้ตาม 4 ประเด็น

  3. ผลลัพธ์ที่อยากเห็น คือ การผลิตที่มีคุณภาพ อาหารปลอดภัย และมีความเพียงพอในการบริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย

• นักวิชาการสำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สสส. • เครือข่ายอาหาร 14 จังหวัดภาคใต้ • สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมออกแบบกลไกการขับเคลื่อนงานระบบอาหารร่วมกับสำนัก 56 เมษายน 2567
6
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Ariya Mosu
  • messageImage_1712467642164.jpg
  • messageImage_1712464501000.jpg
  • messageImage_1712460209814.jpg
  • messageImage_1712460010054.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อออกแบบกระบวนการบูรณาการงานอาหารตลอดห่วงโซ่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมออกแบบแนวทางการบูรณาการงานอาหารตลอดห่วงโซ่ในภาคใต้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • แนวทางการบูรณาการงานอาหารร่วมกัน มีดังนี้
  1. Mapping ภาคีเครือข่าย

  2. Mapping แหล่งเรียนรู้ /พื้นที่ต้นแบบ /เกษตรกรต้นแบบ 14 จังหวัดภาคใต้

  3. ชุดความรู้ คู่มือ (เกษตรกรรมยั่งยืน การจัดการดิน น้ำ)

  4. การสื่อสารเชิงนโยบายสาธารณะ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย
  • นักวิชาการสำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สสส.
  • แกนนำเครือข่ายอาหารภาคใต้
  • สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่