แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) ”
ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160
หัวหน้าโครงการ
นายสาธิต แก้วศรี (0899767271)
ชื่อโครงการ โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด)
ที่อยู่ ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160 จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) " ดำเนินการในพื้นที่ ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160 รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัส แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจให้ทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีเป้าหมายมุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยยึดหลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกันในตัวที่ดี ภายใต้เงื่อนไข ความรู้คู่คุณธรรม ที่ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน ตลอดจนเสริมสร้างจิตใจของคนทั้งชาติทุกระดับชั้น ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
โรงเรียนบ้านพอบิด มีนโยบายปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนำความรู้ เห็นความสำคัญของหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร
- เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ
- เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการเพาะชำต้นไม้
- กิจกรรมตลาดนัดนักเรียนร่วมกับชุมชน
- กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก
- กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
- กิจกรรมการเพาะเห็ด
- จัดทำแปลงเกษตรและปลูกปลูกผักปลอดสารพิษ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียน
55
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ครูนักเรียนและชุมชนได้รับการปลูกฝังความรู้ตามแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
๒.ครูนักเรียนได้รับการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้การสอนให้มีความสอดคล้องกับแนวทางตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าด้วยเรื่อง “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
๓.ครูนักเรียนชุมชนสามารถนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในสถานศึกษาและสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้กับชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมการเลี้ยงปลา (การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน)
- สำรวจพื้นที่ในการทำบ่อเลี้ยงปลา
- เตรียมพื้นที่ในการทำบ่อเลี้ยงปลา
- ครูและนักเรียนร่วมขุดบ่อปลา
- เติมน้ำลงไปในบ่อดินที่ขุดไว้
- ครูและนักเรียนร่วมกันปล่อยพันธุ์ปลาดุกลงไปในบ่อปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 150 กิโลกรัม
55
0
2. กิจกรรมการเพาะชำต้นไม้
วันที่ 13 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
นำดินและขุยมะพร้าวมาผสมกัน และนำดินที่ได้จากการผสมมาใส่ถุงเพาะชำขนาดเล็ก ถุงเพาะชำขนาดกลาง กระถางเพาะชำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้ คือได้ทำการผสมดินและเตรียมดินใส่ถุงเพาะชำและกระถางเพาะชำ
55
0
3. กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก
วันที่ 24 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
อุปกรณ์การทำปุ๋ย
1.ปุ๋ยคอก(จากมูลสัตว์) จำนวน 100 กิโลกรัม 4 ถุงปุ๋ย
2.แกลบดำ จำนวน 100 กิโลกรัม 4 ถุงปุ๋ย
3.รำละเอียด 5-10 กิโลกรัม
4.ปุ๋ยชีวภาพน้ำ (น้ำหมักชีวภาพ) จำนวน 2 ลิตร
5.กากน้ำตาล จำนวน 2 ลิตร
6.น้ำ (ถ้าเป็นน้ำประปาควรตั้งทิ้งไว้ 2 วัน เพื่อให้กลิ่นคลอรีนระเหย) ใช้ จำนวน 25-30 ลิตร
7.บัวรดน้ำ ขนาด 20 ลิตร
8.ถังพลาสติกขนาด 50 ลิตร 1 ใบ
วิธีการทำ
1.เตรียมสถานที่ ใช้ลานที่มีพื้นเสมอกันเป็นที่ผสม
2.เทวัสดุ ในข้อ 1,2,3 กองรวมกัน บนลานที่ผสมปุ๋ย
3.ผสมวัสดุ 4,5,6 ผสมลงในถัง คนให้เข้ากัน
4.ใช้บัวรดน้ำ ตักน้ำที่ผสมแล้ว รดลงกองปุ๋ย แล้วคลุกเคล้าผสมให้เข้ากันกลับไปมา จนหมดน้ำที่ผสมไว้ ใช้มือบีบดู ถ้าเป็นก้อน ไม่มีน้ำไหลออกมาตามง่ามมือ ก็เป็นอันใช้ได้
5.ทำกองปุ๋ยเป็น สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความสูงไม่เกิน 1 ฟุต (ถ้าสูงมากจะเกิดความร้อนจะทำให้จุลินทรีย์ตาย) คลุมด้วยกระสอบป่าน หรือกระสอบปุ๋ยทิ้งไว้ในที่ร่ม 48 ชั่วโมง สามารถนำไปใช้ได้
การนำไปใช้
1.ในนาข้าว ควรหว่านก่อนทำการไถกลับ หรือหว่านขณะมีน้ำขัง ในอัตราส่วน 400 กิโลกรัม ต่อไร่ ประโยชน์ จะช่วยให้ข้าวเจริญเติบโต ผลผลิตดี ลดต้นทุนการซื้อปุ๋ย
2..ไม้ผล ควรใส่ โดยขุดรอบทรงพุ่ม 1 หน้าจอบ และใช้ดินเก่ากลบ ในอัตราส่วนพอประมาณ
ประโยชน์ ใช้แทนปุ๋ย รองก้นหลุมก่อนปลูกไม้ผล ช่วยเร่งการเจริญเติบโต ลดต้นทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ปุ๋ยหมักชีวภาพในการใส่ต้นไม้
55
0
4. กิจกรรมการเพาะเห็ด
วันที่ 7 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ขั้นตอนกิจกรรมการเพาะเห็ด
- สำรวจพื้นที่ในการทำโรงเพาะเห็ด
- จัดทำโรงเพาะเห็ด
- สั่งซื้อก้อนเห็ดสำเร็จรูปจำนวน 430 ก้อน
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดก้อนเห็ดในโรงเพาะเห็ด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้เห็ดสำหรับโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการได้ 8 กิโลกรัม และสามารถจำหน่ายให้ผู้ปกครองในชุมชน
55
0
5. จัดทำแปลงเกษตรและปลูกปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 5 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดการจัดทำแปลงเกษตรสำหรับปลูกผักปลอดสารพิษ
- สำรวจพื้นที่สำหรับการจัดทำแปลงผัก
- ปรับพื้นที่สำหรับการจัดทำแปลงผัก
- จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับการจัดทำแปลงผัก
- อิฐบล็อค
- ทราย
- ปูนซีเมนต์
- ตะปู
- ดำเนินการจัดทำแปลงผักโดยนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีและผู้ปกครอง
กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ
- ปลูกผักบุ้ง 20 ล้อ
- บวบ 10 ล้อ
- ผักกวางตุ้ง 10 ล้อ
- ถั่วฝักยาว 10 ล้อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้
- ปลูกผักบุ้ง 20 ล้อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 3 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม
- บวบ 10 ล้อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 10 กิโลกรัม
- ผักกวางตุ้ง 10 ล้อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 3 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม
- ถั่วฝักยาว 10 ล้อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 9 กิโลกรัม
55
0
6. กิจกรรมตลาดนัดนักเรียนร่วมกับชุมชน
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมการปลูกผักบุ้ง
1. สำรวจพื้นที่ในการปลูกผักบุ้ง
2. เตรียมพื้นที่ในการปลูกผักบุ้งโดยใช้ล้อยางรถยนต์
3. ใส่ดินและปุ๋ยคอกในล้อยาง
4. ปลูกผักบุ้งในล้อยางจำนวน 20 ล้อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผักบุ้งสำหรับโครงการอาหารกลางวันจำนวน 20 ล้อและจำหน่ายให้ผู้ปกครองในชุมชน
55
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น
80.00
2
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น
70.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถบูรณาการการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้
70.00
4
เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น
80.00
5
เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : มีการขยายผลไปสู่หมู่บ้าน/ชุมชน
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน
55
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสาธิต แก้วศรี (0899767271) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) ”
ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160หัวหน้าโครงการ
นายสาธิต แก้วศรี (0899767271)
ชื่อโครงการ โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด)
ที่อยู่ ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160 จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) " ดำเนินการในพื้นที่ ม. 9 ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 90160 รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัส แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจให้ทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีเป้าหมายมุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยยึดหลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกันในตัวที่ดี ภายใต้เงื่อนไข ความรู้คู่คุณธรรม ที่ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน ตลอดจนเสริมสร้างจิตใจของคนทั้งชาติทุกระดับชั้น ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โรงเรียนบ้านพอบิด มีนโยบายปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนำความรู้ เห็นความสำคัญของหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร
- เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ
- เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการเพาะชำต้นไม้
- กิจกรรมตลาดนัดนักเรียนร่วมกับชุมชน
- กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก
- กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
- กิจกรรมการเพาะเห็ด
- จัดทำแปลงเกษตรและปลูกปลูกผักปลอดสารพิษ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียน | 55 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ครูนักเรียนและชุมชนได้รับการปลูกฝังความรู้ตามแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๒.ครูนักเรียนได้รับการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้การสอนให้มีความสอดคล้องกับแนวทางตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าด้วยเรื่อง “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ๓.ครูนักเรียนชุมชนสามารถนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในสถานศึกษาและสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้กับชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมการเลี้ยงปลา (การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 150 กิโลกรัม
|
55 | 0 |
2. กิจกรรมการเพาะชำต้นไม้ |
||
วันที่ 13 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำนำดินและขุยมะพร้าวมาผสมกัน และนำดินที่ได้จากการผสมมาใส่ถุงเพาะชำขนาดเล็ก ถุงเพาะชำขนาดกลาง กระถางเพาะชำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตที่ได้ คือได้ทำการผสมดินและเตรียมดินใส่ถุงเพาะชำและกระถางเพาะชำ
|
55 | 0 |
3. กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำอุปกรณ์การทำปุ๋ย
1.ปุ๋ยคอก(จากมูลสัตว์) จำนวน 100 กิโลกรัม 4 ถุงปุ๋ย
2.แกลบดำ จำนวน 100 กิโลกรัม 4 ถุงปุ๋ย
3.รำละเอียด 5-10 กิโลกรัม
4.ปุ๋ยชีวภาพน้ำ (น้ำหมักชีวภาพ) จำนวน 2 ลิตร วิธีการทำ
1.เตรียมสถานที่ ใช้ลานที่มีพื้นเสมอกันเป็นที่ผสม
2.เทวัสดุ ในข้อ 1,2,3 กองรวมกัน บนลานที่ผสมปุ๋ย
3.ผสมวัสดุ 4,5,6 ผสมลงในถัง คนให้เข้ากัน การนำไปใช้
1.ในนาข้าว ควรหว่านก่อนทำการไถกลับ หรือหว่านขณะมีน้ำขัง ในอัตราส่วน 400 กิโลกรัม ต่อไร่ ประโยชน์ จะช่วยให้ข้าวเจริญเติบโต ผลผลิตดี ลดต้นทุนการซื้อปุ๋ย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ปุ๋ยหมักชีวภาพในการใส่ต้นไม้
|
55 | 0 |
4. กิจกรรมการเพาะเห็ด |
||
วันที่ 7 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำขั้นตอนกิจกรรมการเพาะเห็ด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เห็ดสำหรับโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการได้ 8 กิโลกรัม และสามารถจำหน่ายให้ผู้ปกครองในชุมชน
|
55 | 0 |
5. จัดทำแปลงเกษตรและปลูกปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 5 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดการจัดทำแปลงเกษตรสำหรับปลูกผักปลอดสารพิษ
กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตที่ได้
|
55 | 0 |
6. กิจกรรมตลาดนัดนักเรียนร่วมกับชุมชน |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมการปลูกผักบุ้ง 1. สำรวจพื้นที่ในการปลูกผักบุ้ง 2. เตรียมพื้นที่ในการปลูกผักบุ้งโดยใช้ล้อยางรถยนต์ 3. ใส่ดินและปุ๋ยคอกในล้อยาง 4. ปลูกผักบุ้งในล้อยางจำนวน 20 ล้อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผักบุ้งสำหรับโครงการอาหารกลางวันจำนวน 20 ล้อและจำหน่ายให้ผู้ปกครองในชุมชน
|
55 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการสร้างความมั่นคงด้านอาหารในโรงเรียน ครัวเรือนและชุมชนเพิ่มขึ้น |
80.00 | |||
2 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการทำการเกษตร ด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถนำความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร การจัดทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ รวมถึงการประกอบอาชีพในอนาคตเพิ่มขึ้น |
70.00 | |||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันกับการเรียนการสอนในหลักสูตร ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่สามารถบูรณาการการเรียนรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้ |
70.00 | |||
4 | เพื่อพัฒนาเด็กและเยาชนในโรงเรียนในการเจริญเติบโตและทั้งร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์อย่างเต็มศักยภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์ขึ้น |
80.00 | |||
5 | เพื่อส่งเสริมการดำเนินชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ชุมชน และผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : มีการขยายผลไปสู่หมู่บ้าน/ชุมชน |
70.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 55 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียน | 55 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านพอบิด (โรงเรียนบ้านพอบิด) จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสาธิต แก้วศรี (0899767271) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......