สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) ”

บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

หัวหน้าโครงการ
เชภาดร จันทร์หอม

ชื่อโครงการ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์)

ที่อยู่ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์)



บทคัดย่อ

โครงการ " ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
  2. เพื่อพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอันดามัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงานวิจัยครั้งที่ 1

    วันที่ 23 สิงหาคม 2561 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
      โดยมีเป้าหมายสำคัญครั้งนี้เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดอันดามัน
      สำหรับกระบวนการใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการประเมินพื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวในฝั่งจังหวัดอันดามัน 6 จังหวัด 6 พื้นที่
      ได้แก่ 1) จังหวัดระนอง 2)จังหวัดภูเก็ต 3)จังหวัดพังงา 4) จังหวัดกระบี่ 5) จังหวัดตรัง และ 6) จังหวัดสตูล
      สำหรับจังหวัดตรังเลือกพื้นที่เป้าหมาย บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง
    • สำหรับขั้นตอนก็ใช้รูปแบบขั้นตอนการประเมิน ได้แก่
      1) การกลั่นกรองความจำเป็นในการประเมิน(Screening) ทบทวนสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดตรังและการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ 2) การกำหนดขอบเขตการประเมิน(Scoping) กำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง 3) การประเมินผล (Assessment) การประเมินผล 4) การทบทวนร่างรายงานการประเมินผล (Review) 5) นำข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 5 พื้นที่ ประกอบการยกร่างยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนอันดามัน
    • ทีมคณะทำงานวิจัย ประกอบด้วย เชภาดร จันทร์หอม นางสาวพรองค์อินทร์ ธาระธนผล นางสาวศ-รีจิตร เขมิยาทร นายนบ ศรีจันทร์
      ทั้งนี้สำหรับครั้งนี้ อ.นบ จะลงพื้นที่ได้บางครั้งที่ไม่ตรงกับการสอนในมหาวิทยาลัย และจะมีทางนายสมชาย ขุนอินทร์ ช่วยลงเก็บข้อมูลวิจัยถ้าลงพื้นที่ช่วงวันเสาร์ อาทิตย์
    • นำเสนอการไปเข้าร่วมเวที workshop HIA วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2561 ณ สจรส.มอ. โดยเป็นการนำเสนอพื้นที่เป้าหมายในการศึกษา สำหรับจังหวัดตรัง ได้แก่ บ่อหินฟาร์มสเตย์
      การทดลองออกแบบการประเมิน ขอบเขต และฝึกปฏิบัติการประเมินความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนตั้งแต่การแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
      แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน พ.ศ.2559-2563 และ แผน CBT อันดามัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานมีความเข้าใจ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน กรณีจังหวัดตรัง
    • การกำหนดแผนการลงพื้นที่วิจัยเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

     

    5 5

    2. ประชุมคณะทำงานวิจัยครั้งที่ 2

    วันที่ 19 กันยายน 2561 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การทบทวนเป้าหมาย แนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    • วางแผนการการทำงานและลงพื้นที่บ่อหินฟาร์มสเตย์ บ้านพรุจูด ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานมีความเข้าใจเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินโครงการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    • แผนการดำเนินงาน กิจกรรม
    • ลงพื้นที่ชี้แจงเบื้องต้นการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เดือนกันยายน  (21 กันยายน 2561)
    • ลงพื้นที่สำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ เดือนกันยายน
    • ลงพื้นที่ชี้แจงและกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ เดือนตุลาคม
    • ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เดือนพฤศจิกายน 2561 - มกราคม 2562
    • กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปข้อมูลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพฯ  เดือนมกราคม 2562
    • กิจกรรมทบทวนร่างรายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพฯ เดือนกุมภาพันธ์ เดือนกุมภาพันธ์ 2562

     

    5 6

    3. การลงพื้นที่ชี้แจงเบื้องต้นงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพบ่อหินฟาร์มสเตย์

    วันที่ 21 กันยายน 2561 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    • ที่มากรณี จังหวัดตรัง กับการเลือกพื้นที่บ่อหินฟาร์มสเตย์
    • การปรึกษาแนวทางการลงพื้นที่ศึกษา และการกำหนดวันจัดเวที scoping เพื่อชี้แจงและกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คุณบรรจง นฤพรเมธี ประธานกลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) เข้าใจที่มา เป้าหมาย และแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    • ข้อเสนอแนวทางการจัดเวทีในพื้นที่ คือ ควรจัดในช่วงบ่าย ส่วนวันจัดต้องดูเปรียบเทียบกับโปรแกรมการท่องเที่ยว ว่ามีกรุ๊ปนักท่องเที่ยวหรือไม่
      ซึ่งกำลังจะเข้าช่วงหน้าไฮซีซั่น ส่วนใหญ่ เสาร์-อาทิตย์ จะมีนักท่องเที่ยวมาที่กลุ่ม

     

    6 6

    4. การสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

    วันที่ 28 กันยายน 2561 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะวิจัยลงพื้นที่เพื่อสำรวจเส้นทางการท่องเที่ยว one day trip บ่อหินฟาร์มสเตย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะวิจัยได้เห็นโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบ่อหิมฟาร์มสเตย์ ประกอบด้วย กิจกรรมบนฝั่ง และกิจกรรมทางทะเล 1) กิจกรรมทางบก ได้แก่ การชมและร่วมฝึกเพ้นผ้ากับกลุ่มผ้าบาติกสตรีบ้านพรุจูด และการชมกิจกรรมจักสานเตยปาหนัน
      2  กิจกรรมทางทะเล ได้แก่ การล่องเรือชมระบบนิเวศป่าชายเลย - การเดินตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน - ชมบ่อน้ำพุร้อนเค็ม - ชมทัศนียภาพอ่าวบุญคง - ชมพระอาทิตย์ตกที่หาดเก็บตะวัน และรับประทานอาหารเย็นที่บ่อหินฟาร์มสเตย์
    • การประเมินกลุ่มผู้ได้ส่วนเสียเบื้องต้นจากโปรแกรมการท่องเที่ยว ได้แก่ กลุ่มสมาชิกสตรีผ้าบาติก ม.2  กลุ่มจักสานเตยปาหนัน กลุ่มวิสาหกิจปลากระชังบ้านพรุจูด (คนขับเรือ คนนำเที่ยว คนทำอาหาร ที่่พัก )

     

    5 6

    5. เวทีกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน (Scoping)

    วันที่ 3 ตุลาคม 2561 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะวิจัยชี้แจงที่มาที่ไป เป้าหมาย โครงการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
      และขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
    • การช่วยกันกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวบ่อหินฟาร์มสเตย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แกนนำกลุ่มต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์เข้าใจที่มาที่ไป เป้าหมายการประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนกลุ่มจังหวัดอันดามัน
    • แกนนำกลุ่มต่างๆ เข้าใจขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
    • ได้ขอบเขตการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ โดยดูจากโปรแกรมการท่องเที่ยวในชุมชน /กิจกรรมท่องเที่ยว มีขอบเขตเกี่ยวข้องกับ กลุ่มวิสาหกิจเลี้ยงปลากระชังบ้านพรุจูด-กลุ่มผ้าบาติกสตรีบ้านพรุจูด-กลุ่มจักสานเตยปาหนัน-กลุ่มที่พัก/อาหาร-กลุ่มขายของที่ระลึก โดยเนื้อหาการประเมินครอบคลุมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ 

     

    20 21

    6. ขั้นตอนการประเมิน (Appraisal)

    วันที่ 3 ธันวาคม 2561 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
    • สอบถามกิจกรรมโปรแกรมการท่องเที่ยวของบ่อหิน /ประเภทกลุ่มนักท่องเที่ยว/ระยะเวลา /ความถี่/จำนวนนักท่องเที่ยว
    • สอบถามผลกระทบจากการท่องเที่ยวด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ข้อมูลผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จากการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์
    • ข้อมูลค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นของกลุ่มคนขับเรือ ในโปรแกรมการท่องเที่ยวชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

     

    10 0

    7. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

    วันที่ 22 มกราคม 2562 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    8 8

    8. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    13 13

    9. ประชุมคณะทำงานวิจัย ครั้งที่3

    วันที่ 3 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 3

    10. เวทีรับฟังความคิดเห็นโดยสาธารณะการประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษาบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

    วันที่ 7 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    26 26

    11. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการท่องเที่ยวชุมชน โดยชุมชนบ้านพรุจูด (บ่อหินฟาร์มสเตย์)

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง
    ตัวชี้วัด : ได้ข้อมูลผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์

     

    2 เพื่อพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอันดามัน
    ตัวชี้วัด : ได้แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอันดามัน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดตรัง (2) เพื่อพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอันดามัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูด(บ่อหินฟาร์มสเตย์) จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เชภาดร จันทร์หอม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด