การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
เพื่อทบทวนตัวชี้วัดและสร้างเครื่องมือในการสำรวจผลกระทบทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากโครงการ
ประชุมปรึกษาหารือ
1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ 2 ปัจจัยความสำเร็จ และอุปสรรค และร่างรายงาน
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
คณะทำงานและนักวิชาการ
-
-
-
เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) อำเภอคลองท่อมเหนือ จังหวัดกระบี่
จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ในการหาแนวทางการดำเนินงาน ขอบเขต ตัวชี้วัดและวางแผนโครงการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ได้ข้อเสนอแนะและตัวชี้วัดเพิ่มเติมจากพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้นำชุมชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณสุขจังหวัด ชาวบ้านในพื้นที่ นักวิชาการ ตัวแทนรพสต. เครือข่ายในพื้นที่
-
-
-
เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบจากกิจกรรมของโครงการ
ประชุมวิเคราะห์ผลกระทบจากโครงการ
ทราบข้อมูลสถาพปัญหา และเมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์เกิดการกำกนดตัวชี้วัดการดำเนินการและวางแผนการดำเนินการในอาคต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักวิชาการ อาจารย์
ข้อมูลที่ได้บางประเด็นยังไม่ครบถ้วน สมบูรณ์
-
-
เพื่อทบทวนเอกสาร/โครงการ และวิเคราะห์คาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเบื้องต้น
- นำข้อมูล รายละเอียดของแผนงาน/โครงการ มาศึกษา ทบทวนแผนการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อวิเคราะห์ว่ามีผลกระทบใดบ้างที่เกิดขึ้นจากโครงการเดิม หากมีผลกระทบเชิงลบต้องดำเนินการแก้ไขอย่างไร และหากมีผลกระทบเชิงบวกจะดำเนินการอย่างไรให้ดียิ่งขึ้น
- focus group แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- นำเสนอผลการวิเคราะห์
- เกิดการทบทวนแผนการดำเนินการของโครงการ
- คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับบริบทของโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักวิชาการ ตัวแทนท้องถิ่น โรงพยาบาล และหน่วยงานภาครัฐ
- ศักยภาพของแกนนำ/พี่เลี้ยง
- ความเข้มแข็งของหน่วยงานในการดำเนินงาน
-
-