สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ Matching Model รูสะมิแล ”

ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณา ราชพฤกษ์ นางสาวนูรอัยณี ยามา

ชื่อโครงการ Matching Model รูสะมิแล

ที่อยู่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"Matching Model รูสะมิแล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
Matching Model รูสะมิแล



บทคัดย่อ

โครงการ " Matching Model รูสะมิแล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่ม
  2. 1.2 สำรวจลงพื้นที่ผู้ผลิตเกษตรประมงในพื้นที่ตำบลรูสะมิแลและนอกพื้นที่ตำบลรูสะมิแลจำวน 3 ราย
  3. 2.1 ออกรูปแบบสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้กับผู้บริโภค
  4. 2.2 เชิญชวนผู้บริโภคที่สนใจตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไป
  5. 3.1 ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่ม

วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นัดประชุมและวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่ม โดยมีทั้งหมด  3 คน  ประชุมวันที่  1 สิงหาคม  2565  ณ หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี  ซึ่งมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นวางแผ่นการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นัดประชุมและวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่ม โดยมีทั้งหมด 3 คน ประชุมวันที่ 1 สิงหาคม 2565 ณ หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี  ซึ่งมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นวางแผ่นการดำเนินโครงการตลาดสีเขียว สรุปผลการประชุม จากที่ได้นัดประชุมวางแผนโครงการตลาดสีเขียวในตำบล รูสะมิแล  ได้มีการเสนอจัดโครงการตลาดสีเขียวในรูปแบบ Online ซึ่งมีการสำรวจเกษตรกรในพื้นที่ที่จะเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียว โดยมีการลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่สนใจ ซึ่งเกษตรกรในตำบลรูสะมิแลมีอาชีพทำประมง จึงไม่มีเกษตรกรภายในตำบลรูสะมิแลเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียว และได้ลงพื้นที่สำรวจพื้นที่เกษตรกรในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมือง ตำบลประจัน อำเภอยะรัง ตำบลหนองแรด อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ที่ผลิตผักออร์แกนิค จำนวน 3 ราย ที่สนใจเข้าร่วมโครงการตลาดสีเขียวในรูปแบบการขายผลผลิต Online ซึ่งทางกลุ่มได้มีการสร้างกลุ่ม Line ขึ้นมาเพื่อผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สนใจในการซื้อผลผลิตสามารถสั่งซื้อผ่านช่องทางสื่อ Online โดยผู้บริโภคในกลุ่มเป้าหมายจะเป็น ร้านคาเฟ่ ประชาชนทั้วไป หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เป็นต้น มติที่ประชุม ทางทีมตลาดสีเขียวตำบลรูสะมิแล ได้มีมติความเห็นวางแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการดำเนินงานตลาดสีเขียวตำบลรูสะมิแล ในระยะเวลา 3 เดือน

  • photo
  • photo

 

3 0

2. 1.2 สำรวจลงพื้นที่ผู้ผลิตเกษตรประมงในพื้นที่ตำบลรูสะมิแลและนอกพื้นที่ตำบลรูสะมิแลจำวน 3 ราย

วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางทีมกลุ่มตำบลบางรูสะมิแลลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่จะเข้าร่วมเครือข่ายตลาดสีเขียวในวันที่ 7-11 กรกฎาคม 2565 โดยลงพื้นที่สอบถามความสมัครใจและความพร้อมในการเข้าร่วมตลาดสีเขียว        ซึ่งในการลงพื้นที่จะมีการอธิบายความเป็นมาของโครงการดำเนินงานเพื่อจะเชิญชวนให้เข้าร่วมเครือข่ายตลาด  สีเขียวใช้ระยะเวลา 2-4 วัน ในการลงพื้นที่เพื่อให้ได้กลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ และเพื่อให้ทั่วถึงผู้ผลิตเกษตรกร  ให้ได้มากที่สุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางทีมกลุ่มตำบลบางรูสะมิแลลงพื้นที่สำรวจเกษตรกรที่จะเข้าร่วมเครือข่ายตลาดสีเขียวในวันที่ 7-11 กรกฎาคม 2565 โดยลงพื้นที่สอบถามความสมัครใจและความพร้อมในการเข้าร่วมตลาดสีเขียว    ซึ่งในการลงพื้นที่จะมีการอธิบายความเป็นมาของโครงการดำเนินงานเพื่อจะเชิญชวนให้เข้าร่วมเครือข่ายตลาดสีเขียวใช้ระยะเวลา 2-4 วัน ในการลงพื้นที่เพื่อให้ได้กลุ่มเป้าหมายที่วางไว้ และเพื่อให้ทั่วถึงผู้ผลิตเกษตรกรให้ได้มากที่สุด
สรุปผลการลงพื้นที่ ทีมตลาดสีเขียวตำบลรูสะมิแลได้ลงพื้นที่สำรวจผู้ผลิตในพื้นที่และนอกพื้นที่ครั้งนี้ได้จำนวนผู้ผลิตที่สนใจและอยากเข้าร่วมเครือข่ายตลาดสีเขียวตำบลรูสะมิแลจำนวน 3 ราย ในตำบลใกล้เคียงได้แก่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมือง , ตำบลปะจัน อำเภอยะรัง , ตำบลหนองแรด อำเภอยะหริ่ง เป็นต้นซึ่งเกินคาดตามจำนวนที่ตั้งเป้าหมายไว้

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

3 0

3. 2.1 ออกรูปแบบสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้กับผู้บริโภค

วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 เวลา 10:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางทีมงานได้มีการนัดประชุมรูปแบบสื่อและออกแบบสื่อที่จะมีการประชาสัมพันธ์ ตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไป ในวันที่ 28 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2565 เพื่อให้มีความโดนเด่นและมีเนื้อหาที่ครอบคลุม และสามารถสื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจและมีความสนใจที่จะเข้าร่วมกลุ่ม Line ตลาดสีเขียว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการประชุม ทางทีมงานตำบลรูสะมิแลได้ตกลงที่จะมีการประชาสัมพันธ์ออกแบบสื่อในรูปแบบ โบว์ชัวร์แผ่นพับ และสติกเกอร์ ซึ่งจะมีรายละเอียดของผลผลิตและประโยชน์ของผลผลิตมีอะไรบ้าง  ข้อมูลเกษตรกร เบอร์โทรศัพท์ เพจเฟสบุ๊ค และคิวอาร์โค้ดกลุ่มไลน์ตลาดสีเขียว เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถสแกนเข้ากลุ่มไลน์ได้ง่ายขึ้น
มติที่ประชุม ออกแบบสื่อในรูปแบบโบว์ชัวร์แผ่นพับ ป้ายไวนิล และสติกเกอร์แปะที่สินค้าเพื่อประชาสัมพันธ์ภายในตัวและให้เป็นเอกลักษณ์ของอาหารปลอดสารพิษ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

4. 2.2 เชิญชวนผู้บริโภคที่สนใจตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไป

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 10:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางทีมตลาดสีเขียวลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนผู้บริโภคที่สนใจตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไปในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ในวันที่ 15 -26 สิงหาคม 2565 ให้เข้าร่วมกลุ่มไลน์ตลาดสีเขียว ได้แก่ ตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไป เป็นต้น โดยมีการเข้าไปแจกโบว์ชัวร์แผ่นพับ และอธิบายให้กับผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการลงพื้นที่ จากที่ได้ลงพื้นที่ในระยะเวลา 12 วันผลตอบรับดีมาก ผู้บริโภคมีความสนใจและอยากให้มีการดาเนินตลาดสีเขียวไปเรื่อยๆ เพื่อที่จะสามารถซื้อสินค้าที่ดี อาหารปลอดภัย ปลอดสารพิษ ให้สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังได้อุดหนุนเกษตรกรในพื้นที่ได้อีกด้วย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

100 0

5. 3.1 ติดตามและประเมินผล

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามและประเมินผลตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม - 30 กันยายน 2565 หลังจากที่ได้สร้างกลุ่มไลน์ให้เกษตรกรตำบลรูสะมิแลในพื้นที่เองและพื้นที่ใกล้เคียงเข้ากลุ่มไลน์และประชาสัมพันธ์ให้กับผู้บริโภคตามหน่วยงานต่างๆตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไปได้เข้ากลุ่มไลน์ตลาดสีเขียว เพื่อให้มาอยู่ในกลุ่มเครือข่ายเดียวกัน มีการติดตามการโพสต์ขายภายในกลุ่ม ติดตามจำนวนผู้ผลิตที่โพสต์ขายในกลุ่มไลน์ ติดตามผลผลิตที่ผู้ผลิตโพสต์ขายมีประเภทอะไรบ้าง ติดตามปริมาณและราคาของผลผลิตแต่ละประเภท และมีการติดตามตอนไปส่งผลผลิตให้กับผู้บริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการซื้อขาย จากที่ได้เห็นในกลุ่มไลน์มีเกษตรกร จะมีการขาย ผักสลัดอินทรีย์ ปลูกในดินที่ปรุงเองด้วยความใส่ใจ มั่นใจไร้สารเคมี ผักกรอบ หวาน อร่อย สายสุขภาพห้ามพลาดเลย เช่น ผักกรีนโอ๊ค , เรดโครอล , ฟิลเลย์ , เรดบัตเตอร์เวียฉ และทางทีมงานตำบลรูสะมิแลและเกษตรกรได้มีการรวมมือกันนำผักที่ปลูกเองจากฟาม์รมาแปลรูปทำเป็นแซนวิทผักปลอดสารพิษ เป็นต้น และได้การโฟสต์ขายผ่านช่องทาง ไลน์กลุ่ม และทางเฟสบุ๊ค เป็นตอบเป็นที่หน้าพอใจต่อผู้บริโภค

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

5 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการภายในกลุ่ม (2) 1.2 สำรวจลงพื้นที่ผู้ผลิตเกษตรประมงในพื้นที่ตำบลรูสะมิแลและนอกพื้นที่ตำบลรูสะมิแลจำวน  3  ราย (3) 2.1 ออกรูปแบบสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้กับผู้บริโภค (4) 2.2 เชิญชวนผู้บริโภคที่สนใจตามสถานที่หน่วยงานราชการ , ร้านอาหารตามสั่ง , ร้านคาเฟ่ และประชาชนทั่วไป (5) 3.1 ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


Matching Model รูสะมิแล จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณา ราชพฤกษ์ นางสาวนูรอัยณี ยามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด