สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การประชุมปรึกษาหารือวางแผนการติดตามและประเมินผลผ่านเว็บไซต์ 20 พ.ค. 2565 20 พ.ค. 2565

 

1.

 

1.

 

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานโครวการขับเคลื่อนนโบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 15 มิ.ย. 2565 15 มิ.ย. 2565

 

1.

 

1.

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการและการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ 25 มิ.ย. 2565 25 มิ.ย. 2565

 

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ และการสื่อสารเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ระหว่างวันที่ 25 – 26  มิถุนายน พ.ศ. 2565 ณ ห้อง 1402 ชั้น 14 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ (LRC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน 2565 1. การดำเนินโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. หลักการแนวคิดการติดตามประเมินผลและการประยุกต์ใช้ HIA เพื่อการประเมินโครงการ โดยผศ.ดร.ภก. พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3. แบ่งกลุ่มทำแผนการดำเนินงาน 3.1.กลุ่มคณะทำงานติดตามประเมินผล วิทยากรประจำกลุ่ม ดร.เพ็ญ สุขมาก 3.2.กลุ่มคณะทำงานสื่อสารสาธารณะ วิทยากรประจำกลุ่ม ผศ.ดร.ภก. พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ

วันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2565 1. นำเสนอแผนการดำเนินงานติดตามประเมินผล โดย คณะทำงานติดตามประเมินผล 2. นำเสนอแผนการดำเนินงานสื่อสารสาธารณะ โดย คณะทำงานสื่อสารสาธารณะ     ให้ข้อเสนอแนะ โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก และ ผศ.ดร.ภก. พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ

 

  1. ได้แผนงานการดำเนินงานติดตามประเมินผล
  2. ได้แผนการดำเนินงานสื่อสารสาธารณะ

 

ประชุมทบทวนแผนการดำเนินการงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 5 ก.ค. 2565 5 ก.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมทบทวนแผนการดำเนินการงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 5 ก.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานสมัชชาชุมชนสีเขียว 8 ก.ค. 2565 8 ก.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานติดตามและประเมิน เครือข่ายนักวิชาการ 18 ก.ค. 2565 18 ก.ค. 2565

 

-

 

-

 

ประชุมหารือการดำเนินงานความมั่นคงทางสุขภาวะ 4 ประเด็น 26 ก.ค. 2565 26 ก.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ระยะที่1 17 ส.ค. 2565 16 ส.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ สู่งานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่13 19 ส.ค. 2565 19 ส.ค. 2565

 

*

 

*

 

การประชุมติดตามความก้าวหน้าเว็บไซต์ ศวนส. 26 ส.ค. 2565 26 ส.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมแผนงานยกระดับนโยบายสาธารณะสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข 6 ก.ย. 2565 6 ก.ย. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพและกระบวนการขับเคลื่่อนนโยบายสาธารณะภาคีเครือข่ายสุขภาวะพื้นที่ภาคเหนือตอนบน 10 ก.ย. 2565 10 ก.ย. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการการคีย์ข้อมูลกิจกรรมและการเงินแบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ ศวนส. 14 ก.ย. 2565 14 ก.ย. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่องนโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการสาธารณะ 26 ก.ย. 2565 26 ก.ย. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน การพัฒนารูปแบบการทำเกษตรกรรมยั่งยืน พื้นที่ทุ่งใสไช 26 ต.ค. 2565 26 ต.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 31 ต.ค. 2565 31 ต.ค. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมกำกับทิศ 12 ม.ค. 2566 12 ม.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามการดำเนินงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามงานกลไกกองทุนตำบล พชอ 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

ติดตามงานกลไกกองทุนตำบล พชอ รายงานความก้าวหน้าของโครงการ

 

1.ได้กลไกร่วมขับเคลื่อน 3 ฝ่าย (กลไกด้านการปฏิบัติการ 4 คน /กลไกด้านสื่อ 3 คน /กลไกด้านวิชาการ 3 คน) 2.ได้สร้างความเข้าใจโครงการกับคณะทำงานพชอ. 11 คน พชต. 17 คน สื่อ 3 คน วิชาการ 3 คนและกลุ่มอื่นๆ4คน รวม 38 คน 3.ได้พื้นที่กองทุนเป้าหมายจำนวน 10 กองทุนที่ประชุมรับรอง

 

ประชุมนำเสนอรายงานความก้าวหน้าโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเาริมสุขภาพ (ศวนส.) ต่อคณะกรรมการบริหารแผนคณะที่7 2 ก.พ. 2566 2 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเรื่องเว็บไซต์ ศวนส. กลไกกองทุนเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 3 ก.พ. 2566 3 ก.พ. 2566

 

1.มีการเสนอปรับเปลี่ยนชื่อจากเดิมเป็นกลไกกองทุนอำเภอเมืองกระบี่ เปลี่ยนเป็น กลไกกองทุนอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 2.มีการเสนอปรับเปลี่ยนชื่อผู้ดูแลโครงการ จากนางสาวจันท์จุรี มาศโอสถ เป็น นางสาววิริยา ตุลารักษ์ 3.วางแผนเตรียมงานที่จะจัดขึ้น

 

1.ได้มีการเปลี่ยนแปลงให้ตามคำแนะนำของผู้ที่ดูแลโครงการ 2.ได้แผนงานที่จะจัดขึ้น

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาเครื่องมือติดตามประเมินผลการดำเนินงานในโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4 ก.พ. 2566 4 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานจังหวัดนครศรีธรรมราช 8 ก.พ. 2566 8 ก.พ. 2566

 

  1. ติดตามการลงข้อมูลลงเว็บไซต์ศวนส.กลไกสุขภาพ : ระดับอำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช 2.ติดตามการดำเนินงานโครงการ

 

1.การคีย์ข้อมูลลงเว็บไซต์ศวนส.กลไกกองทุนสุขภาพอำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ นายอภิวัฒน์ ไชยเดช และนางสาว อนุสรา มาศเสม 2.เกิดการเรียนรู้ในการติดตามประเมินผล ผ่านเวปกองทุนหลักประกันสุขภาพ เกิดแผนสุขภาพระดับตำบล แผนสุขภาพระดับอำเภอ โดยมีผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพทั้ง 4 กองทุน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดเทศบาล  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผอ.รพ.สต เลขา พชอ.อำเภอพระพรหม คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ

 

ประชุมวางแผนการติดตามประเมินพื้นที่เกษตกรรมยั่งยืน (ทุ่งใสไช จ.สุราษฎร์ธานี) 10 ก.พ. 2566 10 ก.พ. 2566

 

1

 

1

 

ประชุมทำความเข้าใจและดูเครื่องมือประเมินผ่านระบบ zoom 13 ก.พ. 2566 13 ก.พ. 2566

 

*

 

1.ได้เครื่องมือแผนการขับเคลื่อนนโยบาย
2.ได้นิยามผลลัพธ์และผลผลิต

 

ลงพื้นที่ติดตามงานกลไกความร่วมมือเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะระดับจังหวัด (ภูเก็ต) 19 ก.พ. 2566 19 ก.พ. 2566

 

  1. ติดตามงานเว็บไซต์ศวนส. กลไกความร่วมมือเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะระดับจังหวัด (ภูเก็ต) 2.ติดตามการดำเนินงานกลไกความร่วมมือเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะระดับจังหวัด (ภูเก็ต)

 

1.การคีย์ข้อมูลลงเว็บไซต์ศวนส.กลไกกองทุนจังหวัดภูเก็ต โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ นางสาวภัทราวดี ปานเพ็ง และนางสาวจุฑามาศ จิมานัง 2.จากการลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานพบว่า คณะทำงานโครงการได้ภาคีเครือข่ายในการจัดทำโครงการเพื่อขับเคลื่อนโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และสุขภาพในระดับจังหวัดภูเก็ต

 

ประชุมเตรียมงานเวทีติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) 2 มี.ค. 2566 2 มี.ค. 2566

 

1.ชี้แจงกำหนดการเวทีติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) โดย นางสาวฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ 2.ชี้แจงการแบ่งกลุ่มจัดทำกรอบการดำเนินงานร่วมระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อ และทีมประเมิน โดยให้แต่ละห้องมีคนดูแลรับผิดชอบ 3.ตารางแผนการดำเนินงาน

 

1.รับทราบกำหนดการเวทีติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) มีการปรับเปลี่ยนเวลาจากเดิม เริ่ม 13.00 น. เปลี่ยนเป็น 09.30 น. เป็นต้นไป โดยทีมประเมินนำเสนอกรอบแนวทางการติดตามประเมินผลต่อผู้ทรงคุณวุฒิ ปรับเครื่องมือการประเมิน เพื่อนำเสนอในช่วงบ่าย ต่อทีมขับเคลื่อนและทีมสื่อ ให้ทราบในประเด็นที่รับผิดชอบ 2.ในการแบ่งกลุ่มจัดทำกรอบการดำเนินงานร่วมระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อ และทีมประเมิน จะมีทีมงานดูแลรับผิดชอบ
3.ตารางแผนการดำเนินงาน สิ่งที่ต้องได้จากกระบวนการบ่งกลุ่ม ดังนี้ 3.1 ผลการทบทวนแผนการดำเนินงาน time line 3.2 ความก้าวหน้าการดำเนินงานแต่ละทีม ผลผลิต  ปัญหา/อุปสรรค่

 

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโครงการ ศวนส. 4 มี.ค. 2566 4 มี.ค. 2566

 

การประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงานในโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) ระหว่างวันที่ 4 – 5 มีนาคม 2566 ณ ห้อง 1402 สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และออนไลน์ระบบ Zoom

วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2566

  1. การขับเคลื่อนแผนงานให้บรรลุเป้าหมายตามผลลัพธ์และตัวชี้วัดในโครงการ ศวนส. โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก
  2. กรอบการดำเนินโครงการร่วมกันระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อ และทีมประเมิน โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
  3. แบ่งกลุ่มจัดทำกรอบการดำเนินงานร่วมระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อ และทีมประเมิน •ความมั่นคงทางอาหาร (พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน และการขับเคลื่อนนโยบายสวนยางยั่งยืน ทีมขับเคลื่อน นายทวีวัตร เครือสาย / นางสาวพัลลภา ระสุโส๊ะ / รศ.ดร.โอภาส พิมพา / นายอานัติ หวังกุหลำ / นายเสณี จ่าวิสูตร ทีมประเมิน ผศ.ดร.ว่าที่ร้อยตรีชุมพล อังคนานนท์ / ดร.อนิรุต หนูปลอด/ผศ.ดร.วุฒิชัย ศรีช่วย ทีมสื่อ นายศาสนะ กลับดี / นางสาวศิลาพร กลับดี • ความมั่นคงทางอาหาร (ชุมชนสีเขียว) ทีมขับเคลื่อน นายไพฑูรย์ ทองสม / นางสรวรรณ นิรันรัตน์ / นายรอซีดีย์ เลิศอริยพงษ์กุล / นางสาวกรรณิการ์ แพแก้ว / นายสุชา วันศุกร์ / นายกำราบ พานทอง ทีมประเมิน ดร.จตุรงค์ คงแก้ว / อาจารย์วิโรจน์ ภู่ต้อง ทีมสื่อ นายอานนท์ มีศรี • ความมั่นคงทางสุขภาพ (การผลักดันระบบบริการเข้าสู่มาตรฐาน HA) ทีมขับเคลื่อน ดร.ซอฟียะห์ นิมะ / นายพัสสน หนูบวช / นพ.มาหะมะ เมาะมูลา / นางนฤมล ฮะอุรา / นางเพียงกานต์ เด่นดารา / นางนิมลต์ หะยีนิมะ • ความมั่นคงทางสุขภาพ (พหุวัฒนธรรมในโรงพยาบาลและสถานประกอบการ) ทีมขับเคลื่อน ผศ.ดร.กุลดา เพ็ชรวรุณ ทีมประเมิน ดร.อภิรมย์ พรหมจรรยา ทีมสื่อ นายธนวัฒน์ วงศ์ลักษณพันธ์ / นางสาวนวลจันทร์ พู่พัฒนศิลป์ • ความมั่นคงทางมนุษย์ (กลไกกองทุนตำบล พชอ. ) ทีมขับเคลื่อน นายสมนึก นุ่นด้วง / นางธมล มงคลศิลป์ / นายอภิวัฒน์ ไชยเดช / นางวิริยา ตุลารักษ์ ทีมประเมิน ดร.ดุริยางค์ วาสนา / ดร. ไพสิฐ บุณยะกวี / ดร.อรสา นุ่นแก้ว / ดร.คณิดา สินใหม / อาจารย์สุปานดี มณีโลกย์
    ทีมสื่อ นายอานนท์ มีศรี • ความมั่นคงทางมนุษย์ (การบูรณาการกลไกกองทุนจังหวัด ) ทีมขับเคลื่อน ดร.ศิริพร เพ็งจันทร์ / นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว / นางปิยะพร โยธี / นายจีรวุธ ทองทศ
    ทีมประเมิน อาจารย์โปรดปราน คำอ่อน / ดร.อภิรมย์ พรหมจรรยา ทีมสื่อ นายธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง • ความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    ทีมขับเคลื่อน ดร.ฐิติชญาณ์ บุญโสม / ดร.จินดา สวัสดิ์ทวี ทีมประเมิน ผศ.ดร.จิรัชยา เจียวก็ก / ดร.ภัชกุล ตรีพันธ์ ทีมสื่อ นายธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง
  4. แต่ละประเด็นสรุปกรอบแผนเป็นเอกสารส่งให้ผู้ประสานงาน ศวนส. นางสาวฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์

วันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม 2566

  1. นำเสนอกรอบแผนขับเคลื่อนงาน งานติดตามประเมินภายใน และงานสื่อสารสาธารณะ

• ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร

o การขับเคลื่อนนโยบายสวนยางยั่งยืน
o พื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืน
o ชุมชนสีเขียว

• ประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ

o การผลักดันมาตรฐานระบบบริการ HA

o ระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมในโรงพยาบาลและสถานประกอบการ

• ประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์

o กลไกกองทุนตำบล พชอ.

o การบูรณาการกลไกกองทุนจังหวัด

• ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

o ภัยพิบัติและการท่องเที่ยวโดยชุมชน พื้นที่มะรุ่ย จังหวัดพังงา

o การจัดทำผังทรัพยากรในพื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ศาลาด่านโมเดล

ให้ข้อเสนอแนะ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ / ดร.เพ็ญ สุขมาก / นางสาวซูวารี มอซู

 

*

 

ประชุมติดตาม นำ้สนอผลการจัดเวที ลานตา ลันตา และการวางแผนการดำเนินงาน งวดที่4 แผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 15 มี.ค. 2566 15 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

เข้าร่วมการจัดการอบรมเชิงปฎิบัติการ คู่มือภาษาเพื่อการสื่อสารในธุรกิจสปาและนวดเพื่อสุขภาพ 23 มี.ค. 2566 23 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

ติดตามงานสื่อสารนโยบายสาธารณะ 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

ติดตามงานสื่อสารนโยบายสาธารณะ

 

รายงานการดำเนินงานด้านงานสื่อสารนโยบายสาธารณะ

 

ประชุมติดตามการดำเนินงานชุมชนสีเขียว 26 เม.ย. 2566 26 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามการดำเนินงานกลไกจังหวัดสุราษฎร์ธานีและภูเก็ต 2 พ.ค. 2566 2 พ.ค. 2566

 

1.ติดตามการดำเนินงานกลไกจังหวัดสุราษฎร์ธานีและภูเก็ต 2.โจทย์จากการประชุม
2.1 ปัญหาสุขภาวะมีความซับซ้อน 2.2 ต้องการความร่วมมือ-สานพลัง 2.3 มีเครือข่ายทำงาน แต่ไม่เข้าถึงทุน

 

  1. คณะทำงานรายงานการดำเนินงานของกลไกจังหวัดสุราษฎร์ธานี และ ภูเก็ต
  2. แก้โจทย์ 2.1. มีกองทุนเสมือนจริง เป็นกลไกประสานแหล่งทุนต่างๆ เช่น อบจ., สสส., ท้องถิ่นอื่นๆ (กองทุนตำบล) และเอกชน       2.2. มีกลไกพี่เลี้ยงช่วยประสาน กำหนดประเด็นสุขภาพ ทำแผน/พัฒนาโครงการ ประสานแหล่งทุน ตามเงื่อนไขของแหล่งทุน ติดตามประเมินผล ประเด็นข้อตัดสิน 1. ระเบียบราชกาาร 2.ภาระงานของอบจ.

 

ประชุมการดำเนินงานประเด็นสื่อสารสาธารณะ ประเด็นกลไกระดับจังหวัดภูเก็ต 8 พ.ค. 2566 8 พ.ค. 2566

 

  1. ติดตามการดำเนินงานประเด็นสื่อสารสาธารณะ ประเด็นกลไกระดับจังหวัดภูเก็ตและผู้รับผิดชอบดูแล

 

ข้อสรุปงานมีการจัดทำ page งานกลไกจังหวัดภูเก็ต ภายใต้ Facebook ศวนส. โดยมี นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว และนายธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง ร่วมกันดูแลและรับผิดชอบ page ดังกล่าว

 

ประชุมติดตามงานกลไกกองทุน อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 15 พ.ค. 2566 15 พ.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจง ทบทวน ติดตามงานกลไกกองทุน อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง การดำเนินงานกลไกกองทุน อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

 

ได้บันไดผลลัพธ์การขับเคลื่อนกลไกตำบล อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช และการติดตามงานกลไกกองทุน อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง

 

ประชุมทบทวนโครงการ ภูเก็ต : สุขภาพเพื่อชีวิตแห่งอนาคต (โครงร่างเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ จาก อบจ.ภูเก็ต 15 พ.ค. 2566 15 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมตรวจสอบการบันทึกรายงานกิจกรรมและรายงานการเงินแบบออนไลน์ 18 พ.ค. 2566 18 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมปรึกษาหารืองานบูรณาการกลไกจังหวัดสุราษฎร์ธานี 23 พ.ค. 2566 23 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ จังหวัดภูเก็ต 24 พ.ค. 2566 24 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงาน จังหวัดกระบี่ 31 พ.ค. 2566 31 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมปรึกษาหารือแผนและเตรียมความพร้อมการประชุมสัญจร คณะกรรมการบริหารแผน คณะ7 สสส. 2 มิ.ย. 2566 2 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามงานประเมินความมั่นคงทางอาหารเพื่อนำข้อมูลเข้าสู่งานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 7 มิ.ย. 2566 7 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมสัญจร คณะกรรมการบริหารแผน คณะ7 9 มิ.ย. 2566 9 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามการดำเนินงานความมั่นคงทางอาหาร 12 มิ.ย. 2566 12 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามงานกลไกกองทุน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 13 มิ.ย. 2566 13 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมทบทวนตัวชี้วัดการประเมินผลความมั่นคงทางอาหาร 16 มิ.ย. 2566 16 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมปรึกษาหารือการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะของเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ 4 ก.ค. 2566 4 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามผลการดำเนินงานกลไกจังหวัดสุราษ และพิจารณาแผนการดำเนินงานเฟสถัดไป 6 ก.ค. 2566 6 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานจังหวัดกระบี่ 18 ก.ค. 2566 18 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 "ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ" การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน : โอกาส และความท้าทาย 8 ส.ค. 2566 8 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 "ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ" การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน : โอกาส และความท้าทาย 8 ส.ค. 2566 8 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 "ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ" การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน : โอกาส และความท้าทาย 8 ส.ค. 2566 8 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมสรุปงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 "ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ " 11 ส.ค. 2566 11 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

เข้าร่วมกิจกรรมเวทีแรกพบเพื่อนใหม่ ครั้งที่2 ประจำปี2566 21 ส.ค. 2566 21 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมจัดทำเครื่องมือวิจัยในการถอดบทเรียนเกษตรกรรมยั่งยืนทุ่งใสไช 23 ส.ค. 2566 23 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมติดตามการดำเนินงานโครงการศวนส. 6 ก.ย. 2566 6 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเวทีขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสู่การขยายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสุขภาวะกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล 12 ก.ย. 2566 12 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมสรุปเอกสารและรายงานโครงการ 16 ก.ย. 2566 16 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ปี2566-2567 18 ก.ย. 2566 18 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมนำเสนอการประเมินโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 24 ก.ย. 2566 24 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมปฏิบัติการสรุปผลการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 26 ก.ย. 2566 26 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะของเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ เพื่อนำไปสู่ภาคใต้แห่งความสุข 28 ก.ย. 2566 28 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 2 ต.ค. 2566 2 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมข้อมูลนำการเข้าประชุมคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อยกระดับการพัฒนาระบบกลไกการสร้างเสริมสุขภาพ 11 ต.ค. 2566 11 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 13 ต.ค. 2566 13 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวนส.) 13 ต.ค. 2566 13 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 14 ต.ค. 2566 14 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการขับเคลื่อนตำบลต้นแบบบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการจังหวัดปัตตานี 18 ต.ค. 2566 18 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหารเพื่อพัฒนาเป็นต้นแบบระดับพื้นที่ 19 ต.ค. 2566 19 ต.ค. 2566

 

ตามที่กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สนับสนุนให้สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดำเนินโครงการขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดสงขลา และสามจังหวัดชายแดนใต้ (ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) โดยมีเป้าหมายเพื่อบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อสร้างปฎิบัติการเรื่องความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และด้านโภชนาการ ซึ่งในวันที่ 19 ตุลาคม 2566 ที่ผ่านมา ผศ.ดร พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ ร่วมกับนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี นายแพทย์วีระพันธ์ ลีธนะกุล ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ได้ร่วมกันลงนามความร่วมมือขับเคลื่อนต้นแบบตำบลบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการจังหวัดปัตตานี

 

ความร่วมมือขับเคลื่อนต้นแบบตำบลบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการจังหวัดปัตตานี ในครั้งนี้ ประกอบด้วยเรื่อง 1) ร่วมพัฒนาเครื่องมือในการเก็บและสังเคราะห์ข้อมูลด้านระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ ทั้งประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการ และสนับสนุนการใช้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ โครงการระบบอาหาร พร้อมทั้งผลักดันและขับเคลื่อนแผนงาน โครงการไปสู่การปฏิบัติของหน่วยงานในทุกระดับ 2) ร่วมพัฒนารูปแบบการรณรงค์สื่อสารความรอบรู้ด้านอาหาร เพื่อเพิ่มการเข้าถึงและเพิ่มการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 3) ร่วมจัดทำหลักสูตรและพัฒนาศักยภาพบุคลากรประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากรสังกัดองค์การบริหารจังหวัดปัตตานี และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ให้มีศักยภาพและขีดความสามารถในการบูรณาการและจัดการระบบอาหารเพื่อสุขาวะตลอดห่วงโซ่ในระดับชุมชนท้องถิ่น 4) ร่วมพัฒนากลไกพี่เลี้ยง กลไกวิชาการ และวางระบบการติดตามประเมินผล เพื่อหนุนเสริมพลังให้กับคนทำงานและสนับสนุนการใช้รูปแบบการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาให้กับการทำงานของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 5) บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่กับภาคีเครือข่าย ท้องถิ่น ชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แกนนำเกษตรกร กลุ่มอาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาโภชนาการ กระตุ้นเศรษฐกิจหมุนเวียนของชุมชน แก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ ของประชาชนในพื้นที่ 6) สร้างความร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรม องค์ความรู้ และการวิจัย เพื่อแก้ปัญหาระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่และปัญหาทุพโภชนาการ

 

ประชุมพิจารณารายงานผลการดำเนินงานและรายงานการเงินเพื่อปิดโครงการ 28 ต.ค. 2566 28 ต.ค. 2566

 

*

 

*