1.เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 2.เพื่อสรุปโครงการที่ติดตามไปทั้ง 3โครงการ
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ เปลี่ยนแปลง คณะอนุฯ ตามมติของที่ประชุม เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2567 โดยเปลี่ยนจากนายจิตติพงศ์ สังข์ทอง เป็นนางสาวนวลจันทร์ พัฒนศิลป์
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
-ไม่มี-
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
ความก้าวหน้าการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2567
1.สรุปกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน งบประมาณ 196,400.-บาท
๒.สรุปกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดภูเก็ต ด้วยหลัก 4 อ. 2 ส. งบประมาณ 233,500.-บาท
๓.สรุปกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน งบประมาณ 196,400.-บาททั้ง 3 โครงการได้ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมดและดำเนินการได้อย่างเรียบร้อย
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องพิจารณา
๔.๑ รายงานผลการดำเนินการ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะกิจกรรมผู้สูงอายุสุขภาวะดีแห่งอนาคต จังหวัดภูเก็ต
การเสนอแนะ
ผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้
1.อยากให้มีการจัดกิจกรรมที่สอดแทรกสันทนาการแบบนี้ทำให้การอบรมเป็นไปด้วยความเพลินเพลิน สนุก ไม่เครียดและเข้าใจง่าย
2.อยากให้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพราะได้พบปะเพื่อนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่างอำเภอ
3.อยากให้จัดกิจกรรมฯนี้อีก จะได้ความรู้เรื่องอารมณ์ อาหาร ออกกำลังกาย สุขภาพจะได้แข็งแรง
4.กิจกรรมมีสันทนาการเยอะเกินไป บางท่านสุขภาพไม่แข็งแรง อยากให้กระชับเวลาในการดำเนินกิจกรรม
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินกิจกรรม
1.ชื่อกิจกรรมคล้ายกิจกรรมของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ตและกลุ่มเป้าหมายเดียวกันทำให้กลุ่มเป้าหมายไม่เข้าใจและลังเลในการเข้าร่วมกิจกรรม
2.เวลาในการดำเนินกิจกรรม ค่อนข้างกระชั้นชิดกับการติดตามผล
3.ผู้จัดกิจกรรมไม่สามารถแจ้งกลุ่มเป้าหมายก่อนเข้าร่วมได้ว่าจะคัดกรองสุขภาพเนื่องจาก กลุ่มเป้าหมายจะไม่ยินยอมเข้าร่วมทำให้ผลการตรวจคัดกรองมีความคลาดเคลื่อน
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
๕.๑ การเตรียมดำเนินโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯประจำปีงบประมาณ ๒๔๖๗
๕.๒ การเตรียมดำเนินการจัดทำแผนประจำปี ๒๕๖๘
1.ได้ข้อสรุปการดำเนินการทั้ง3 โครงการที่จัดในปี 2567 ได้ข้อเสนอแนะ อุปสรรค ปัญหาทั้ง 3 โครงการและแนวทางในการดำเนินการปรับแก้ไขเพื่อใช้ในการวางแผนในปี2568 2.ได้แนวทางในการถอดบทเรียนประจำปี 2567 3.ได้วันเวลาในการจัดทำแผนประจำปี 2568
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ
ได้ข้อเสนอแนะ อุปสรรค ปัญหาทั้ง 3 โครงการและแนวทางในการดำเนินการปรับแก้ไขเพื่อใช้ในการวางแผนในปี2568

1.เพื่อกำหนดวัน/เวลา/สถานที่ในการดำเนินกิจกรรม 2. เพื่อดำเนินการวางแผนรูปแบบกิจกรรมและเชิญวิทยากร 3. เตรียมจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์และตารางค่าใช้จ่าย
1.จัดทำกำหนดการในการดำเนินกิจกรรมอบรมฯ โดยแบ่งกิจกรรมทั้งหมด เป็น 2 ช่วง ช่วงเช้ามีการสัมนาในหัวข้อเกี่ยวกับทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ และการรู้เท่าทันการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสื่อสังคมออนไลน์เป็นไปด้วยความปลอดภัยไซเบอร์ และช่วงบ่ายจัดกิจกรรมแบ่งกลุ่ม เป็น 4 กลุ่ม เป็นช่วงวิทยากรกลุ่มโดยลักษณะกิจกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุสุขภาวะดีแห่งอนาคต ดังนี้ ขยับกายสบายชีวี,จังหวะหัวใจ,เจ็บไข้ ได้อยู่และอยากได้ อยากเป็น ตามกำหนดการที่แนบ
2.มีการจัดเตรียมการออกหนังสือเชิญทั้งวิทยากรและกลุ่มเป้าหมาย โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็น อำเภอหลักของจังหวัดภูเก็ต ดังนี้
1.อำเภอเมือง
2.อำเภอกะทู้
3.อำเภอถลาง
3.การจัดเตรียมสถานที่ มีการออกแบบการเตรียมบูธกิจกรรมในวันอบรม หน้างาน ทั้งหมด 2 จุด แบ่งเป็น จุดลงทะเบียน,จุดตรวจคัดกรองสุขภาพและจุดให้ความรู้สุขภาพ
4.เตรียมการยืมเงินเพื่อดำเนินกิจกรรมและประมาณการค่าใช้จ่ายในวันทำกิจกรรมเพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้า
5.เตรียมการเกี่ยวกับเอกสารในการจัดอบรมฯ พร้อมทั้งออกแบบรูปแบบสื่อในวันทำกิจกรรม
1.ได้กำหนดการในการดำเนินกิจกรรมอบรมฯ
2.ได้รูปแบบกิจกรรมและรายชื่อวิทยากร
3.ได้เอกสารและวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม
4.ได้หนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย วิทยากรและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.คณะทำงาน 2.คณะอนุกรรมการกองทุนฯ
1.คณะทำงานติดภารกิจบสางส่วน

1.เพื่อจัดเตรียมกำหนดการในงาน 2. เพื่อดำเนินการวางแผนรูปแบบกิจกรรมและเชิญวิทยากร 3. เตรียมจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์และตารางค่าใช้จ่าย
1.จัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม 2.เตรียมร่างกำหนดการกิจกรรม 3.จัดเตรียมสถานที่
1.ได้กำหนดการกิจกรรม 4 อ.2 ส 2.มีกลุ่มเป้าหมายแบ่งตามเขตอำเภอ 3. ได้รูปแบบการดำเนินกิจจกรรม 4.ได้เตรียมการจัดกิจกรรม
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
1.คณะอนุกรรมการ 2.คณะทำงาน

1.เพื่อกำหนดวัน/เวลา/สถานที่ในการดำเนินกิจกรรม 2. เพื่อดำเนินการวางแผนรูปแบบกิจกรกรรมและเชิญวิทยา 3. เตรียมจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์และตารางค่าใช้จ่าย 2.เพื่อเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมและปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงาน
1.ดำเนินการเปิดการประชุมคณะทำงาน 2.หารือกำหนดวัน/เวลา/สถานที่ในการดำเนินกิจกรรม 3.วางแผนรูปแบบกิจกรกรรมและเชิญวิทยา 4.เสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมและปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงาน 5.เตรียมจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์และตารางค่าใช้จ่าย
1.ได้วันดำเนินกิจกรรมอบรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 120 คน จัด ณ โรงแรมเพริล จังหวัดภูเก็ต วันที่ 8 กันยายน 2567 เวลา 08.30-17.30 น. 2.ได้กลุ่มเป้าหมายชัดเจน ดำเนินการจัดเตรียมหนังสือเชิญ 3.ได้รูปแบบกิจกรรมในวันอบรม มีการแบ่งกลุ่มและวิทยากร
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
1.อนุกรรมการกองทุนฯ 2.คณะทำงาน
วันจัดกิจกรรมสถานที่จัดกิจกรรมค่อนข้างชนกับงานการประชุมอื่น / ดำเนินการหาพื้นที่ที่สามารถจัดกิจกรรมเพือรองรับกลุ่มเป้าหมายได้

1.เพื่อกำหนดวัน/เวลา/สถานที่ในการดำเนินกิจกรรม 2. เพื่อดำเนินการวางแผนรูปแบบกิจกรรมและเชิญวิทยากร 3. เตรียมจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์และตารางค่าใช้จ่าย
กำหนดวันจัดกิจกรรมวันจันทร์ ที่ 16 กันยายน 2567 เวลา 08.30 น. – 17.00 น. ณ โรงแรมเดอะพาโก ดีไซน์ ภูเก็ต อำเภอเมือง จงหวัดภูเก็ต กลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดภูเก็ต จำนวน 200 คน การติดตามประเมินผล เริ่มกิจกรรมโดยบูรณาการขอความอนุเคราะห์จากบริษัท Touch (บริษัท ทัช เทคโนโลยีจำกัด)ให้เข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดภูเก็ต จำนวน 200 คน และให้แนะนำแอพลิเคชันภูเก็ต สมาร์ท เฮลท์ เพื่อบันทึกข้อมูลสุขภาพและนำเสนอบทความสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม 4 อ. 2 ส. ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ดีขึ้นตามเป้าประสงค์ของกิจกรรม และยังมีการวางแผนการติดตามประเมินผล โดยแบ่ง เป็น 3 อำเภอ นำร่อง ได้แก่ 1.อำเภอเมือง (รพ.สต.ราไวย์) , 2.อำเภอกะทู้ (รพ.สต.กมลา) , 3.อำเภอถลาง (รพ.สต.ศรีสุนทร) เพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4 อ. 2 ส. (ด้านอาหาร,อารมณ์,อากาศสิ่งแวดล้อม,ออกกำลังกาย,สุราและบุหรี่)
1.ได้กำหนดวันจัดกิจกรรมวันจันทร์ ที่ 16 กันยายน 2567 เวลา 08.30 น. – 17.00 น. ณ โรงแรมเดอะพาโก ดีไซน์ ภูเก็ต อำเภอเมือง จงหวัดภูเก็ต 2.ประสานกับประธานกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดภูเก็ต 3.ได้รูปแบบการจัดกิจกรรม
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
คณะทำงานกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดภูเก็ต ด้วยหลัก 4 อ. 2 ส.
1.รูปแบบการดำเนินกิจกรรมค่อนข้างใช้เวลากระช้นชิดในการดำเนินกิจกรรม แก้ปัญหาโดยการขยายระยะเวลาในการติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.กลุ่มเป้าหมายและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นขาดแคลน ประสานบริษัททัช เทคโนโลยีให้ช่วยเข้ามาตรวจติดตามผล
- LINE_ALBUM_ประชุม อนุ_240818_6.jpg
- LINE_ALBUM_ประชุม อนุ_240818_5.jpg
- LINE_ALBUM_ประชุม อนุ_240818_4.jpg
- LINE_ALBUM_ประชุม อนุ_240818_3.jpg
- LINE_ALBUM_ประชุม อนุ_240818_2.jpg
- LINE_ALBUM_ประชุม อนุ_240818_1.jpg
1.เพื่อขับเคลื่อนโครงการทั้ง3โครงการประจำปีงบประมาณ2567 2.เพื่อติดตามความคืบหน้าของโครงการที่ยังติดปัญหาในการดำเนินกิจกรรม 3.เพื่อแจ้งที่ประชุมในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทำงานชุดใหม่เพื่อขับเคลื่อนงานเนื่องจากมีการย้ายของบุคลากรในชุดคณะอนุกรรมการชุด
1.ดำเนินการจัดทำคำสั่งอนุกรรมการชุดใหม่ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงคณะอนุกรรมการชุดเดิมเพื่อขับเคลื่อนโครงการประจำปีงบประมาณ 2567 2.ติดต่อประสานงานและดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ในวันเสาร์ ที่17 สิงหาคม 2567 เวลา 9.00-13.00 น. 3.แจ้งระเบียบวาระการประชุมต่อที่ประชุมและดำเนินการแบ่งกลุ่มเข้าร่วมดำเนินการติดตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2567 4.สรุปปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมาและร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยน รวมทั้งนัดวันเวลาในการดำเนินการจัดทำแผนประจำปีงบ 2568
1.มีคณะอนุกรรมการชุดใหม่ตามคำสั่งปี2567 ที่สามารถดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2567 ให้บรรลุตามเป้าประสงค์ 2.มีการนัดคณะอนุกรรมการเพื่อลงติดตามโครงการทั้ง 3 โครงการของปีงบประมาณ 2567 3.เกิดการแลกเปลี่ยนปัญหาที่ผ่านมาเพื่อจะดำเนินการขับเคลื่อนกองทุนฯในปีถัดไป 4.วางแผนดำเนินการจัดทำแผนประจำปี 2568 และกำหนดการประชุมคณะอนุกรรมการประจำปี
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.คณะอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 22 คน 2.คณะทำงาน จำนวน 4 คน
1.มีการเปลี่ยนแปลงคณะอนุกรรมการที่ผ่านมาจึงไม่สามารถดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ /ดำเนินการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการชุดใหม่ 2.ติดระเบียบในการเบิกจ่ายที่แตกต่างระหว่างหน่วยงาน จึงเกิดการล่าช้าในการดำเนินโครงการตามแผน / แก้ไขปรับเปลี่ยนโครงการ 3.ขาดการประชุมคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน / ปรับเปลี่ยนคณะอนุกรรมการและคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

เพื่อเตรียมงานต้อนรับคณะติดตามจากทาง สสส.และสถาบันนโยบายสาธารณะ ของการดำเนินการปีงบประมาณ2566 และรายงานความก้าวหน้าของโครงการในปีงบประมาณ 2567
1.สรุปผลโครงการที่ดำเนินการ ปีงบประมาณ 2566 2.สรปุแนวทางและการเสนอโครงการ ในการรับทุนปีงบประมาณ 2567 3.เสนอข้อปัญหาที่ผ่านมาเพื่อเตรียมรายงานผลต่อคณะติดตามความก้าวหน้าโครงการ
1.ได้ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2566 เพื่อเตรียมเข้ารายงานต่อที่ประชุม 2.ได้แผนงานปีงบประมาณ 2567 แบบคร่าวๆเพื่อเตรียมเสนอต่อที่ประชุม 3.สรปุข้อปัญหาจากปีงบประมาณ 2566 และเตรียมพร้อมโครงการปีงบประมาณ 2567
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
1.คณะอนุกรรมการฯ 2.คณะทำงาน
การดำเนินการเป็นช่วงวันหยุด ผู้เข้าร่วมจึงมีความจำกัด

เพื่อจัดทำแผนดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2567 และพัฒนาศักยภาพทีมทำงานเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการขับเคลื่อนโครงการเพิ่มมากขึ้น
1.ประชุมหารือประเด็นปัญหาของการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา ปีงบประมาณ 2566 2.วางแผนขั้นตอนการดำเนินงานและกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานในการขับเคลื่อนกองทุนในปีงบประมาณ 2566 3.ระดมความคิดในการจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2567
ได้ข้อสรุปในการจัดทำแผนการดำเนินงานกองทุน และแผนการดำเนินงานของกิจกรรมในโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด"ภูเก็ต : สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต"ประจำปีงบประมาณ 2567
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.คณะอนุกรรมการ 2.ทีมทำงาน 3.ทีมประเมิน
เพื่อประชุมทำความเข้าใจโครงการฯ การเขียนโครงการเพิ่มเติมจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายใหม่ ๆ และร่วมพัฒนากิจกรรมเพื่อนำเข้าร่วมโครงการฯประจำปีงบประมาณ 2567
-ชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดความเป็นมาของโครงการ -ภาคีเครือข่ายที่เข้ามาใหม่ เสนอแนวคิด วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่จะดำเนินการ -แบ่งกลุ่มเพื่อช่วยกันพัฒนากิจกรรม/โครงการ ตอบข้อซักถาม ประเด็นปัญหา ในการดำเนินกิจกรรม
ได้กิจกรรมเพื่อเข้าร่วมในโครงการจากภาคีเครือข่ายรายใหม่ที่เพิ่มขึ้น ดังนี้
1.กิจกรรม “ สองวัยใจเดียวกัน ใช้องคค์ วามรูด้ ูแลสงิ่ แวดล้อม ” มูลนิธิเพื่อสิ่งแวดล้อมภูเก็ต
2.กิจกรรม เทคนิคยุคใหม่ปลอดภัยจากบุหรี่ 100% ชมรมนักศึกษาวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทยวิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
3.กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพสุขภาวะครอบครัวจ.ภูเก็ต การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย สำหรับเด็กบ้านเรียน จังหวัดภูเก็ต เครือข่ายการศึกษาทางเลือกจังหวัดภูเก็ต
4.กิจกรรม ดนตรีพลังบวก “วงปล่อยแก่จังหวัดภูเก็ต” ชมรมครูอาวุโสจังหวัดภูเก็ต
5.กิจกรรมสุขภาวะผู้สูงวัย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน สมาคมโรงเรียนเอกชนนอกระบบภูเก็ต สโมสรโรตารี่ สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน เครือข่ายบ้านเรียน มูลนิธิไม้ขาวยั่งยืน ชมรมไลน์แดนซ์ สโมสรไลออนส์ ภูเก็ต เพิร์ล เครือข่ายการศึกษาทางเลือก วงดนตรีพลังบวก
ชมรมบ้านสบายไทย ชมรมสมุนไพร
บางหน่วยงาน หรือบางภาคีครือข่ายไม่สามารถเขียนโครงการให้ออกมาเป็นรูปแบบที่สมบูรณ์ได้ ต้องแก้ปัญหาโดยที่แบ่งกลุ่มเพือให้ทีมคณะอนุกรรมการและทีมทำงานเข้าไปเป็นพี่เลี้ยงโครงการต่างๆ เพื่อช่วยสรุปความคิด ความต้องการและเขียนออกมาเป็นโครงการ ตามรูปแบบที่ถูกต้อง

สรุปผลรายงานการดำเนินโครงการฯ ถอดบทเรียน ประเด็นปัญหาต่างๆจากการดำเนินโครงการฯ
1.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต รายงานผลการดำเนินงานโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนปีงบ 2566 จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
2.นำเสนอประเด็นปัญหาจากการดำเนินการที่ผ่านมา
3.สรุปรายละเอียดในการดำเนินการโครงการ/จัดทำรายงานโครงการที่รับเงินอุดหนุนเพื่อจัดส่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตและกองทุนเสมือนจริงต่อไป
รับทราบผลการการดำเนินการและร่วมกันถอกบทเรียนของโครงการ จำนวน 3โครงการ ในปีงบประมาณ 2566 โดยผ่านกระบวนการบริหารจัดการของกองทุนเสมือนจริงจังหวัดภูเก็ต ให้เกิดแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนภูเก็ต ซึ่งประกอบด้วย โครงการดังนี้
1.โครงการยกระดับมาตรฐานการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยและคุณภาพอากาศภายในอาคารของศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย
2.โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพการป้องกันควบคุมโรคลีเจียนแนร์และมาตรฐานโรงแรมที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel)
3.โครงการพัฒนาจังหวัดต้นแบบ "ครอบครัวมั่นคง สังคมสุขภาพดี " จังหวัดภูเก็ต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ ทีมทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อสม. ดูแลรับผิดชอบประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ
เนื่องจากเวลาในการจัดทำโครงการมีน้อย ส่งผลทำให้ผู้รับผิดชอบโครงการสรุปรายงานผลการดำเนินงานล่าช้า

เพื่อพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อม และคุณภาพอากาศที่เอื้อต่อการมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย เสริมสร้างพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้แก่เด็ก และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย
การเข้าร่วมสังเกตการณ์และติดตามประเมินผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ตามโครงการยกระดับมาตรฐานการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยและคุณภาพอากาศภายในอาคาร
ของศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัดภูเก็ต ระหว่างวันที่ 19 -20 กันยายน 2566
วันอังคารที่ 19 กันยายน 2566
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลอง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมบ้านบางโรง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลศรีสุนทร
วันพุธที่ 20 กันยายน 2566
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองป่าตอง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลสะปำ
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าฉัตรไชย
วันอังคารที่ 19 กันยายน 2566
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลอง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมบ้านบางโรง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลศรีสุนทร
รายละเอียดในการลงพื้นที่มีดังนี้
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลอง
- ตรวจวัดห้องแหลมพรมเทพ ลักษณะห้อง มีประตูเข้าออกทางเดียว มีหน้าต่าง 2 ด้าน
- ขณะตรวจวัดมีจำนวนนักเรียน 18 คน ครู 2 คน เปิดแอร์ก่อนตรวจวัด 30 นาที
- จากการสอบถามครูบอกว่ามีการทำตามแผนที่เขียนไว้คือ เปิดประตูระบายอากาศทุกวัน ทำความสะอาดห้อง หลังตู้หนังสือ ตู้เก็บของเด็กเล่น ถูพื้นทุกวัน มีการฉีดสเปรย์ดับกลิ่นปรับอากาศตอนเช้า
- ผลการตรวจวัดเกินเกณฑ์มาตรฐาน 3 ตัว ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์/pm 10 /ฟอร์มัลดีไฮด์
- ค่าที่เกินเป็นตัวเดียวกับที่เคยเกินมาตรฐานเหมือนรอบแรก
- ทางกรมอนามัยให้ข้อคิดเห็นว่า เนื่องจากห้องเป็นลักษณะปิด(ห้องซ้อนห้อง) เปิดระบายอากาศแล้วอาจจะไม่มีอากาศให้ถ่ายเท แนะนำให้ติดพัดลมดูอากาศ หากทำไม่ได้อาจจะต้องใช้พัดลมเป่าช่วยให้อากาศระบาย ลดฝุ่นกับคาร์บอนไดออกไซด์ งดการฉีดสเปรย์ดับกลิ่น เนื่องจากอาจเป็นสาเหตุของการเกิดฟอร์มัลดีไฮได้
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมบ้านบางโรง
- ตรวจวัดห้องอนุบาล 2/1 มีทางเข้าออกทางเดียว มีหน้าต่าง 1 ด้าน ขณะตรวจวัดมีนักเรียน 12 คน มีครู 1 เปิดแอร์ก่อนตรวจวัด 1 ชั่วโมง
- จากการสอบถามครูเปิดหน้าต่างทิ้งไว้ ในห้องและระเบียงทิ้งไว้ทั้งคืน ทำความสะอาด เลื่อนตู้ ปรับพื้นที่วางของชั้นโต๊ะ ตู้ และทำความสะอาดหลังตู้ ปรับการล้างฟิวเตอร์แอร์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ล้างพัดลม ทำความสะอาดของเล่น
- ผลการตรวจวัด คาร์บอนไดออกไซด์ ไม่ผ่านเกณฑ์
- ค่าที่เกินเป็นตัวเดียวกับที่เคยเกินรอบแรก
- ทางกรมอนามัยแนะนำให้เพิ่มการระบายอากาศออกจากห้องเรียน และทางกรมกังวลเรื่องเชื้อรากับจุลินทรีย์อาจจะเกินหรือมีค่าสูงอีก เนื่องจากมีห้องน้ำอยู่ในห้องเรียน และการระบายอากาศยังไม่ค่อยดี
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลศรีสุนทร
- ตรวจวัดห้องนกขุนทอง ลีกษณะห้องเข้าออกทางเดียว มีหน้าต่าง 2 ด้าน ด้านหลังติดกับสถานที่ก่อสร้าง เปิดแอร์ตอน 8.30 น. เปิดแอร์ทั้งวัน ขณะตรวจวัดมีนักเรียน 4 คน คุณครู 1 คน
- จากการสอบถามครู ช่วงเช้ามีการเปิดหน้าต่างระบายอากาศทุกวัน หลักจากการประชุมมา มีการล้างของเล่น เช็ดหลังตู้เก็บ จัดของเล่นเข้ากล่องเก็บของ ใส่ตระกร้า
- ผลการตรวจวัด ค่าฟอร์มัลดีไฮ เกินเกณฑ์มาตรฐาน รอบที่แล้วก็ไม่ผ่าน
- ทางกรมอนามัยมีความคิดเห็นว่า อาจเนื่องจากมาจากสภาพแวดล้อมภายนอกอยู่ระหว่างการก่อสร้าง
การระบายอากาศอาจทำได้น้อย เนื่องจากถ้าเปิดหน้าต่างไว้อาจจะมีฝุ่นจากการก่อสร้างเข้ามาในอาคาร แนะนำให้ติดพัดลมดูดอากาศ หรือไม่ก็เปิดประตูหน้าต่างทั้งหมดทั้งห้องโถงส่วนกลางด้วย ก่อนที่จะมีการก่อสร้างเพื่อระบายอากาศ ส่วนค่าคาบอนไดออกไซด์ไม่เกินมาตรฐานแต่ค่อนข้างสูง อาจเนื่องจากว่าเด็ก
มีจำนวนน้อย ถ้ามีเด็กมาเต็มห้องค่าอาจจะเกินได้ คิดว่าอาจมีคาร์บอนสะสมที่มีอยู่ในห้องนี้
4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองป่าตอง
- ตรวจวัดห้อง 4 ลักษณะห้องมีทางเข้าออก2ทางมีห้องน้ำในห้องน้ำ ขณะตรวจวัดมีคนในห้อง 4 คน นักเรียน 18 คน มีเจ้าหน้าที่ 8 คน เปิดแอร์ไว้ก่อนตรวจวัด
- ผลการตรวจวัด ค่าฝุ่น pm 10 เกินมานิดหน่อยใกล้เคียงกับรอบที่แล้ว คาร์บอนไดออกไซด์เกิน เนื่องจากกิจกรรมของครั้งแรกและครั้งนี้ไม่เหมือนกันและจำนวนคนเพิ่มขึ้น ถ้าดูจากปริมาณคนและกิจกรรมค่าที่ตรวจวัดได้ถือว่าไม่แตกต่างจากเดิม
5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลสะปำ
- ตรวจวัดห้องปลาดาวลักษณะห้องมีทางเข้าออก2ทางมีหน้าต่างด้านหลังตรงข้ามกับประตู เปิดแอร์ตอน 9 โมงเช้า ขณะตรวจวัดมีนักเรียน 7 คน มีครู 3 มีเจ้าหน้าที่ 6 คน
- จากการสอบถามครู หลังจากที่ได้รับคำแนะนำ มีการเปิดประตูกับหน้าต่างบ้าง แต่เนื่องจากห้องเรียนติดกับบริเวณก่อสร้างจึงไม่ได้เปิดบ่อย มีทำความสะอาดพื้นทุกวันเช้าเย็น ล้างฟิวเตอร์แอร์ ทำความสะอาดพัดลม เมื่อ 2 สัปดาห์ที่แล้วก่อนการตรวจวัด และมีแผนว่า
- ผลการตรวจวัดผ่านทุกตัว
6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าฉัตรไชย
- ตรวจวัดห้องปลาดาว มีประตูเข้าออกทางเดียว มีหน้าต่าง 2 ฝั่ง ขณะตรวจวัดมีเด็กนักเรียน 9 คน ครู 1 คน เปิดแอร์ตอน 9 โมงเช้า
- จากการสอบถามครู ได้ทำความสะอาดห้อง ตู้วางหนังสือ และมีการล้างแอร์หลังจากการตรวจวัดครั้งแรก 1ครั้ง มีการเปิดประตูระบายอากาศช่วงเช้าก่อนเด็กเข้าเรียน และใช้ผ้าคลุมของเล่นในห้องเรียน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 6 แห่ง
เจ้าหน้าที่กรมอนามัย เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต และเจ้าหน้าที่ อบจ.ภูเก็ต ให้คำแนะนำครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ตรวจวัดอากาศที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการพัฒนาจังหวัดต้นแบบ "ครอบครัวมั่นคง สังคมสุขภาพดี " จังหวัดภูเก็ต ประจำปีงบประมาณ 2566 และประเมินผลการดำเนินงานของโครงการฯ
1.ติดตามพูดคุยกับทีมผู้ดำเนินการในขั้นตอน วิธีการในการจัดอบรม 2.ตรวจสอบเครื่องมือที่ผู้ดำเนินโครงการเลือกใช้ในการจัดอบรม (แบบทดสอบ ก่อน-หลัง) 3.ประเมินการทำกิจกรรม มีการให้ความรู้ ,แบ่งกลุ่ม(Fogus Group) 4.ประเมินผลปัญหาในการดำเนินโครงการ 5.ถอดบทเรียน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.ผู้รับผิดชอบโครงการหลัก คือฝ่ายส่งเสริมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 5 คน 2.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย เทศบาลตำบลวิชิต เทศบาลตำบลเกาะแก้ว องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต องค์การบริหารส่วนตำบล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต สภากาชาด อสม. ฯลฯ จำนวน 40 คน 3.ครอบครัวกลุ่มเปราะบาง จำนวน 20 ครอบครัว

1.เพื่อติดตามผลโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพการป้องกันควบคุมโรคลีเจียนแนร์และมาตรฐานโรงแรมที่เป็นมิตรกับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (GREEN Health Hotel) 2.เพื่อประเมินผลกลุ่มเป้าหมาย ก่อนและหลังได้รับการอบรม 3.เพื่อประเมินผลผู้จัดกิจกรรมตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ของโครงก
1.ติดตามพูดคุยกับทีมผู้ดำเนินการในขั้นตอน วิธีการในการจัดอบรม 2.ตรวจสอบเครื่องมือที่ผู้ดำเนินโครงการเลือกใช้ในการจัดอบรม (แบบทดสอบ ก่อน-หลัง) 3.ประเมินการทำกิจกรรม มีการให้ความรู้ ,แบ่งกลุ่ม(Fogus Group) 4.ประเมินผลปัญหาในการดำเนินโครงการ 5.ถอดบทเรียน
ผู้เข้าร่วมรับการอบรมเป็นบุคลากรจากสถานประกอบการโรงแรม จังหวัดภูเก็ต ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคลีเจียนแนร์และมาตรฐานโรงแรม พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่,บุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานควบคุมโรค มีความเข้าใจการป้องกันควบคุมโรคลีเจียนแนร์และสามารถให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์และตรวจสถานประกอบการได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.เจ้าหน้าที่ของสถานประกอบการโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต 2.เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขของจังหวัดภูเก็ต
1.ควรแบ่งวันในการดำเนินกิจกรรม ระหว่างเจ้าหน้าที่ในสถานประกอบการโรงแรมและบุคลากรสาธารณสุขเจ้าหน้าที่ควบคุมโรคให้อยู่คนละช่วงเวลา เนื่องจากลงรายละเอียดลึกเกินไปสำหรับเจ้าหน้าที่สถานประกอบการ 2.ระยะเวลาในการดำเนินโครงการนานเกินไป

เพื่อพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อม และคุณภาพอากาศที่เอื้อต่อการมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย เสริมสร้างพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้แก่เด็ก และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย
ติดตามการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ตามโครงการยกระดับมาตรฐานการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และคุณภาพอากาศภายในอาคารศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัดภูเก็ต ในวันที่ 4 กันยายน 2566 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ห้องจามจุรี 2 โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน จังหวัดภูเก็ต โดยมีการติดตามประเมิน สอบถามรายละเอียดของการอบรมกับผู้จัดโครงการในขั้นตอน วิธีการจัดอบรม 2. ตรวจสอบเครื่องมือ แบบสอบถามก่อนการฝึกอบรม และหลังการอบรม (ไม่มีเอกสารการประเมิน) 3. ประเมินการทำการอบรม มีการให้ความรู้และแบ่งกลุ่ม 4. ประเมินผลปัญหาของการอบรมฯ 5. ถอดบทเรียน ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 09.00 - 10.00 น. - บรรยาย เรื่อง มาตรฐานและแนวทางการจัดการปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารของศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย โดย นางสาวปรียนิตย์ ใหม่เจริญศรี สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย เวลา 10.00 - 12.00 น. - บรรยาย เรื่อง เทคนิคและแนวทางการจัดการปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารของศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อคุ้มครองสุขภาพผู้ใช้อาคาร โดย ผศ.ดร.ประพัทธ์ พงษ์เกียรติกุล หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เวลา 13.00-16.00 น. - แบ่งกลุ่มเพื่อระดมความคิดเห็น ปัญหาและแนวทางการแก้ไข สถานการณ์การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และคุณภาพอากาศภายในอาคารของศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม เพื่อจัดทำแนวทางการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัดภูเก็ต กลุ่มที่ 1 การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางคณฑี - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านใสยวน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลรัษฎา 1 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลรัษฎา 2 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะตะ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกมลา กลุ่มที่ 2 การจัดการความปลอดภัย - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหาดสุรินทร์ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลศรีสุนทร - องค์การบริหารส่วนตำบลสาคู - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเทพกระษัตรี - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าครองชีพ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลไม้ขาว - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพารา - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าคลอก กลุ่มที่ 3 การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร (ระบบแอร์) - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองป่าตอง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมบ้านบางโรง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลวิชิต 1 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลอง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสะปำ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดสว่างอารมณ์ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพรุจำปา - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าฉัตรไชย ***หมายเหตุ เวลา 10.30 น./15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
-
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
จำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด 60 คน จากที่ตั้งไว้ จำนวน 60 คน ประกอบด้วย บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย, ผู้รับผิดชอบงานเด็กปฐมวัย งานอนามัยสิ่งแวดล้อม ของรพ.สต. และกองสาธารณสุข อบจ.ภูเก็ต และบุคลากรจากอปท.
-

*
*
()

เพื่อถอดบทเรียนและวางแผนการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดภูเก็ต
การถอดบทเรียนและวางแผนการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life”
ระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม – 1 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุม โรงแรม Blue Monkey Hub & Hotel
วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม 2566
08.40 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 น. กรอบการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อการจัดการสุขภาวะในระดับจังหวัด โดย นางสาวซูวารี มอซู
09.15 – 10.00 น. ผลการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อการจัดการสุขภาวะจังหวัดภูเก็ต โดย ดร.ขวัญณภัสสร ชาญทะเล
10.00 – 15.00 น. แบ่งกลุ่มเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน
15.00 – 15.30 น. สะท้อนผลการถอดบทเรียน (รายกลุ่ม)
วันศุกร์ที่ 1 กันยายน 2566
09.00 – 09.30 น. ทิศทางบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อการจัดการสุขภาวะในระดับจังหวัดภูเก็ต โดย นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว
09.30 – 12.00 น. แนวทางการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อการจัดการสุขภาวะ ในระดับจังหวัดภูเก็ต ระยะถัดไป โดย ดร.ขวัญณภัสสร ชาญทะเล เติมเต็มข้อมูล ให้ข้อเสนอแนะ โดย ผู้เข้าร่วมประชุม
** หมายเหตุ 10.30 น. / 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง 12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
*
()
ประกอบด้วย
ภาคีเครือข่ายประมาณ 25 คน
คณะอนุกรรมการ 13 คน
คณะทำงาน 5 คน

*
*
()

*
*
()

เพื่่อพิจารณากิจกรรมเพื่อดำเนินการในโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดภูเก็ต
1.คณะอนุกรรมการประชุมหารือ แนวทางการดำเนินการโครงการฯในปีงบประมาณ 2567 2.พิจารณากิจกรรม จำนวน 21 กิจกรรมที่กลุ่มภาคีเครือข่ายได้เสนอเข้ามาเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566 โดยใช้หลักการพิจารณากิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับประเด็นสุขภาวะทั้ง 8 ด้าน
ได้กิจกรรมจำนวน 14 กิจกรรมเพื่อนำไปพัฒนาโครงการฯในขั้นตอนต่อไป และเปิดรับกิจกรรมเพิ่มอีก6 กิจกรรมเพื่อร่วมดำเนินการในโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดภูเก็ตฯ ต่อไป
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ ทีมทำงาน ทีมประเมิน
-

เพื่อเสนอกิจกรรม/ร่างกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ ภูเก็ต : สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “ Phuket : Health for Future of Life ” ประจำปีงบประมาณ2567
- ชี้แจงรายละเอียดการเขียนเสนอกิจกรรมเพื่อร่วมดำเนินการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ ภูเก็ต : สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “ Phuket : Health for Future of Life ” ประจำปีงบประมาณ2567
- ให้หน่วยงานต่างๆที่จะจัดส่งกิจกรรม นำเสนอแนวคิด ความเป็นมา เนื้อหา รายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ 2567 (1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567)
- สรุปและรวบรวมกิจกรรมทั้งหมดที่ได้รับการเสนอจากภาคีเครือข่ายทั่วจังหวัดภูเก็ตเพื่อนำไปสู่ขั้นตอนการพิจารณาโครงการฯต่อไป
ได้กิจกรรมไม่น้อยกว่า 20 กิจกรรมจากหน่วยงานๆและกลุ่มภาคีเครือข่ายต่างๆ เพื่อดำเนินการในโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ ภูเก็ต : สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “ Phuket : Health for Future of Life ” ประจำปีงบประมาณ2567
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ภาคีเครือข่ายที่มีความประสงค์เสนอกิจกรรมในโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ ภูเก็ต : สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “ Phuket : Health for Future of Life ” ประจำปีงบประมาณ2567
*

ชี้แจง ทำความเข้าใจ การดำเนินงานโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “Phuket: Health for Future of Life” ปี2567 แนะนำโครงการฯ
1.แนะนำและชี้แจงความเป็นมาของโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “Phuket: Health for Future of Life”
2.อธิบายขั้นตอนและวิธีการในการดำเนินกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็น 8 ประเด็นได้แก่ บุหรี่-เหล้า ยาเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต โรคอุบัติใหม่ และมลพิษจากสิ่งแวดล้อม ของจังหวัดภูเก็ต
3.สร้างกลุ่มไลน์เพื่อให้ภาคีเครือข่ายได้รับทราบข่าวสารและติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลการเสนอกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนการสร้างสุขภาพฯ จังหวัดภูเก็ต
4.ตอบข้อซักถาม/ข้อสงสัยในการดำเนินการโครงการบูรณาการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต “Phuket: Health for Future of Life” ปีงบประมาณ 2567
- ภาคีเครือข่ายได้รับทราบแนวทางในการดำเนินกิจกรรมในโครงการฯ
- มีภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินกิจกรรมในโครงการฯเพื่อให้ครอบคลุม8 ประเด็นได้แก่ บุหรี่-เหล้า ยาเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต โรคอุบัติใหม่ และมลพิษจากสิ่งแวดล้อม ของจังหวัดภูเก็ต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ภาคีเครือข่ายได้แก่1.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ กองสาธารณสุข อบต.ไม้ขาว, เทศบาลตำบลศรีสุนทร, เทศบาลตำบลวิชิต, อบต.เทพกระษัตรี ,กองการแพทย์เทศบาลนครภูเก็ต, เทศบาลตำบลรัษฎา,เทศบาลตำบลฉลอง,เทศบาลตำบลป่าคลอก,เทศบาลเมืองกะทู้ 2.สถาบันการศึกษา ดังนี้ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบฯจังหวัดภูเก็ต, ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดภูเก็ต,โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว, โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติภูเก็ต, โรงเรียนดาวรุ่งวิทยา, โรงเรียนอบจ.สาธิตร่วมพัฒนา,โรงเรียนภูเก็ตไทยหัวอาเซียนวิทยา,โรงเรียนสตรีภูเก็ต,วิทยาลัยสารพัดช่างภูเก็ต,วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
3.ภาคเอกชน ดังนี้ โรงพยาบาลกรุงเทพ ภุเก็ต
4.สมาคม ดังนี้ สมาคมผู้พิการจังหวัดภูเก็ต ,สมาคมสภาคนพิการทุกประเภทจังหวัดภูเก็ต,สาขาสมาคมผู้สูงอายุจังหวัดภูเก็ต
5.ชมรม ดังนี้ ชมรมเยาวชนบางเทา,ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำจังหวัดภูเก็ต
6.ภาคประชาสังคม ดังนี้ เครือข่ายเยาวชนตำบลป่าคลอก,สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต
-
เพื่อให้ความรู้และทักษะการใช้สื่อออนไลน์แก่ประชาชนในจังหวัดภูเก็ตได้ถูกต้องและปลอดภัย โดยใช้การบูรณาการงบประมาณร่วมกับสมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต
-บรรยายให้ความรู้การใช้สื่อออนไลน์ การป้องกันการโดนหลอกจากมิจฉาชีพ -ฝึกปฏิบัติ ฝึกทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ปลอดภัยและเกิดประโยชน์
1.ประชาชนผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ตมีความรู้และทักษะ รู้เท่าทันมิจฉาชีพออนไลน์ 2.นำความรู้ด้านการใช้สื่อออนไลน์ปลอดภัยไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ประชาชนผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ต
-
เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมเชื่มโยงภาคีเครือข่าย
คณะอนุกรรมการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และสุขภาพในระดับจังหวัด "ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life" (ครั้งที่ ๗/๒๕๖๖) วันอาทิตย์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๖ เวลา ๑0.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุม ๑๖๖๙ ตึกหอผู้ป่วยสามัญหญิง โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม คณะอนุกรรมการเพื่อนันเคลื่อนการดำเนินงานโครงการความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และ สุขภาพในระดันจังหวัด ภูเก็ต.สุนภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนา ... P/uket. Hbesth for Eture of LUfe" เครั้งที่ 2kb๕ะเ๒ วันพฤหัสบดีที่.๑๔..พฤษกาคม ๒๕า๒. เวลา.๑๔.๓. น. เป็นต้นไปณ ห้องประชม ดแรส.ศึกหอผู้ป่วยสามัญหญิง โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตตำบลตลาดใหญ อำเกอเมือง จังหวัดภูเก็ต ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเสนอให้ที่ประชุมทราบ สรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อดำเนินกิจกรรมโครงการของโครงการความรวมมือเพื่อความมั่นคง ทางมนุษย์และสุขกาพในระดันจังหวัด "ภูเก็ต สุขกาวะเพื่อชีวิตแหงอนาคต Phuket Health.far Future of.Life"วันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤษกาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๔... น.เป็นต้นไปณ ห้องประชุม ๑๒๒๙ ตึกหอผู้ป่วย สามัญหญิง โรงพยาบาลองค์การบริหารสวนจังหวัดภูเก็ตตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเสนอให้ที่ประชุมพิจารณา มติที่ประชุมคณะอนุกรรมการโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดัน จังหวัด "ภูเก็ต สุขกาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต Ptuket: Heath. for Futtue at เe" ครั้งที่ 2./10๕๖2. เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๖. ได้กำหนดให้มีการประชุมร่วมกันภาคีเครือขาย ในวันที่ ๑๕.มิถุนายน ๒๕๖๖. เพื่อนี้แจง การคำเนินกิจกรรมโครงการและดำเนินกิจกรรมโครงการความรวมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ฯ จึงขอให้ที่ ประชุมพิจารณากำหนดรูปแบบและแนวทางการำเนินการตอไป ระเบียบวาระที่ ๖ เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)
ได้กำหนดวันที่จัดประชุม เพื่อเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายในวันที่ 15 มิถุนายน 2566 และกำหนดรายละเอียดในการดำเนินงานฯ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ ทีมทำงาน ทีมประเมินทีมสื่อ

เขียนโครงการเพื่อขอรับเงินอุดหนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ประจำปีงบประมาณ 2566
กำหนดการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการเพื่อขอรับเงินอุดหนุน
จากองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ประจำปีงบประมาณ 2566
ในวันอาทิตย์ที่ 21 พฤษภาคม 2566
เวลา 09.00 – 14.30 น.
ณ ห้องประชุม 1669 ชั้น 2 อาคารหอผู้ป่วยสามัญหญิง องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
............................................................................................................................................................................
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 น. บรรยาย/แนะนำโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด“ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต Phuket: Health for Future of Life” โดย นางปิยะพร โยธี ประธานคณะอนุกรรมการฯ
10.00 – 12.00 น. แบ่งกลุ่มเขียนร่างโครงการเพื่อขอรับเงินอุดหนุนองค์การบริหารจังหวัดภูเก็ต ประจำปีงบประมาณ 2566
กลุ่มที่ 1 การเขียนร่างโครงการคนสูงวัยภูเก็ตสุขภาพดีบนวิถีออนไลน์<br />
1. นางปิยะพร โยธี ประธานคณะอนุกรรมการฯ
2. นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว อนุกรรมการฯ
3. นางสาวภาณุมาส หาดแก้ว ทีมทำงาน
กลุ่มที่ 2 การเขียนร่างโครงการ พัฒนาจังหวัดต้นแบบ”ครอบครัวมั่นคง สังคมสุขภาพดี”จังหวัดภูเก็ต ปีงบประมาณ 2566 1. นายจตุรงค์ คงแก้ว อนุกรรมการฯ 3. นายจีรวุธ ทองทศ อนุกรรมการ/เลขานุการฯ 2. นางสาวขวัญณพัทสร ชาญทะเล ทีมประเมิน
กลุ่มที่ 3 การเขียนร่างโครงการครอบครัวสัมพันธ์ร่วมสร้างสุขภาวะจังหวัดภูเก็ต
1. ว่าที่ร้อยตรี เรืองฤทธิ์ ฤทธาภัย อนุกรรมการฯ
2. นางสาวดาวนภา เพ็ชรจันทร์ อนุกรรมการฯ
3. นางสาวจุฑามาศ จิมานัง ทีมทำงาน
4. นางสาวภัทราวดี ปานเพ็ง ทีมทำงาน<br />
-2-
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 น. สรุปโครงการ วางแผนแนวทางการดำเนินโครงการขอรับเงินอุดหนุนองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ประจำปีงบประมาณ 2566 และแนวทางการดำเนินงานโครงการฯ ในปีงบประมาณ 2567<br />
โดย นางปิยะพร โยธี ประธานคณะอนุกรรมการฯ
14.00 – 14.30น. ซักถาม/ตอบข้อประเด็นปัญหาในการดำเนินการโครงการฯ
สรุปโครงการที่จะขอรับเงินอุดหนุนโดยผ่านกลไลของกองทุนเสมือนจริงประจำปีงบประมาณ 2566 จำนวน 3โครงการ 1.โครงการคนสูงวัยภูเก็ตสุขภาพดีบนวิถีออนไลน์ รับผิดชอบโครงการโดย สมาคมสถาบันประชาคมภูเก็จ สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต 2.โครงการ พัฒนาจังหวัดต้นแบบ”ครอบครัวมั่นคง สังคมสุขภาพดี”จังหวัดภูเก็ต รับผิดชอบโครงการโดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต 3.โครงการครอบครัวสัมพันธ์ร่วมสร้างสุขภาวะจังหวัดภูเก็ต รับผิดชอบโครงการโดย สาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ ประจำจังหวัดภูเก็ต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ ทีมทำงาน ทีมประเมิน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการขอรับเงินอุดหนุน จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต สาขาสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ ประจำจังหวัดภูเก็ต สมาคมสถาบันประชาคมภูเก็จ สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต
เพื่่อประชุมหารือ การเขียนขอรับเงินอดหนุนปีงบประมาณ 2566 และการนำโครงการขอรับเงินอุดหนุนเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นประจำปีงบประมาณ 2567
ระเบียบวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด
“ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ครั้งที่ 6/2566
ในวันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 น.
ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 3 โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
คณะอนุกรรมการดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” เพื่อให้ภาคีเครือข่ายอื่นๆ มาขอรับเงินอุดหนุนโครงการ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
รายงานการประชุมครั้ง 5/2566 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม 2566
เอกสารหมายเลข 1
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
3.1 ...........................................................................................................................
3.2 ...........................................................................................................................
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา
4.1 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ
ในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life”
เอกสารหมายเลข 2
4.2 แผนการดำเนินโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life”
เอกสารหมายเลข 3
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ 5.1...................................................................................................................................... 5.2......................................................................................................................................
-กำหนดประชุมเชิงปฏิบัติการใน วัน อาทิตย์ ที่21 พฤษภาคม 2566 เพื่อพัฒนาโครงการที่จะขอรับเงินอุดหนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตประจำปีงบประมาณ 2566 -กำหนดส่งเอกสารโครงการขอรับเงินอุดหนุนเพื่อเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตประจำปีงบประมาณ 2567
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คระอนุกรรมการ 12 คน ทีมประเมิน 1 คน ทีมทำงาน 4 คน
-
เพื่อปรึกษาและหาข้อสรุปในการจัดทำโครงการเพื่อขอรับเงินอุดหนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ระเบียบวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด
“ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ครั้งที่ 5/2566
ในวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.30 น.
ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 3 โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 โครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” เสนอเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566 - พ.ศ. 2570) องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตเรียบร้อยแล้ว เอกสารหมายเลข 1 1.2 ระเบียบการขอรับเงินอุดหนุน เอกสารหมายเลข 2
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว รายงานการประชุมครั้ง 4/2566 เมื่อวันพุธที่ 15 มีนาคม 2566 เอกสารหมายเลข 3
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ทบทวนรายชื่อภาคีเครือข่ายในจังหวัดภูเก็ต เอกสารหมายเลข 4 3.2 ตัวอย่างโครงการที่ขอรับเงินอุดหนุน เอกสารหมายเลข 5 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ ในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” เอกสารหมายเลข 6 4.2 กำหนดแผนการดำเนิน โครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” เอกสารหมายเลข 7
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ 5.1...................................................................................................................................... 5.2......................................................................................................................................
ข้อสรุป
-องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตจะดำเนินการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด
“ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ในแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต เพื่อให้สอดคล้องกับโครงการที่จะเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นในปีงบประมาณ2567
-องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตจะอุดหนุนเงินโดยตรงให้แก่องค์กร/หน่วยงานที่จะเขียนข้อรับเงินอุดหนุน โดยที่ประชุมมีข้อสรุปว่าจะดำเนินการจัดทำได้3โครงการภายในปีงบประมาณ2566 เพื่อให้เกิดกระบวนการทำงานและบทเรียน รวบรวมปัญหา แก้ไขปัญหาต่อไป
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ,คณะทำงาน,ทีมประเมิน

เพื่อวางแผนงานและสรุปประเด็น/โครงการความร่วมมือเพื่่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดที่จะดำเนินการขับเคลื่อนในปีงบประมาณ 2566
ระเบียบวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการประชุมเพื่อวางแผนทำความเข้าใจ
โครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด
“ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ครั้งที่ 4/2566
ในวันพุธที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 15.00 – 16.30 น.
ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 3 โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
จากการเข้าร่วมประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนงาน
ในโครงการ ศวนส. ระหว่างวันที่ 4- 5 มีนาคม 2566 ณ ห้อง 1402 ชั้น 14 สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดทำกรอบการดำเนินงานร่วมกันระหว่างทีมขับเคลื่อน ทีมสื่อและทีมประเมิน โดยด้านความมั่นคงทางมนุษย์ (การบูรณาการกลไกกองทุนจังหวัด)
จังหวัดภูเก็ต ซึ่งประกอบด้วยทีมขับเคลื่อนดังนี้ 1) คณะกรรมการโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” 2) คณะทำงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” และ3) ทีมประเมินโครงการความร่วมมือ
เพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life”
เอกสารหมายเลข 1
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว รายงานการประชุมครั้ง 3/2566 เมื่อวันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เอกสารหมายเลข 2
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง -ไม่มี-
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 การพิจารณาร่างโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ ในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” เอกสารหมายเลข 3 4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ จากกิจกรรมกลุ่มเพื่อหาประเด็นในการขับเคลื่อน ของโครงการฯ จำนวน 2 กลุ่ม (ข้อมูลจากการประชุมเพื่อวางแผนทำความเข้าใจและประสานงานภาคีเครือข่ายการดำเนินงานโครงการฯ เมื่อวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566) เอกสารหมายเลข 4
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ 5.1...................................................................................................................................... 5.2......................................................................................................................................
-ผลการพิจารณาร่างโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” = ปรับปรุงเนื้อหาโครงการให้สอดคล้องเพื่อขอรับเงินอุดหนุนองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ค -ประเด็นที่จะดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดที่จะดำเนินการขับเคลื่อนในปีงบประมาณ 2566 คือ ประเด็นผู้สูงอายุโดยครอบคลุมปัจจัยด้านสุขภาพด้านต่างๆ ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ/ทีมประเมิน/คณะทำงาน

เพื่อพัฒนาพี่เลี้ยงโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะฯ
เวทีอบรมการพัฒนาพี่เลี้ยง โครงการบูรณาการคลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี วันที่ 8 - 9 มีนาคม 2566 เวลา 09.00 - 16.00น. ณ กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี(กสส ) ห้องสมุดเก่า ชั้น2 ตึกตัวยู มหาวิทยาลัยสงขลานครันทร์ วิทยาเขตสราษฎร์ธานี วันที่ 8 มีนาคม 2566 08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 09.30 น. พิธิ์เปิดการอบรม/ Check in ผู้เข้าร่วม โดย ดร.ปรเมษฐ์ จินา ประธานคณะกรรมการนไยบาย 09.30 - 10.30 น. มุมของ แนวคิด ทิศทาง และที่มาโครงการบูรณาการกลไก ความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี กองทุนเสริมสร้างสุขกาวะสุราษฎรธานี (คลส ) 10.30 - 10.45 น. พักรับประกานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น. กระบวนการ การดำเนินการ และการขับเคลื่อนโครงการฯ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. เทคนิคและ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการโครงการฯ 14.30 - 14.45 u. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 - 16.00 น. Workshop เกคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการโครงการฯ วันที่ 9 มีนาคม 2566 09.00-09.30น. check in ผู้เข้าร่วม 09.30-10-30น. Workshop เทคนิคและเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี กองทุนเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี (กสส.) 10.30-10.45น. พักรับประทานอาหาร 10.45-12.00น. Work shop การขับเคลื่อนติดตามและการประเมินผลโครงการ 12.00-13.00น. พักรับประทายอาหารกลางวัน 13.00-14.30น. Work shop ระบบการช่วยเหลือแนะนำ และการให้คำปรึกษาโครงการฯ 14.30-14.45น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45-15.00น. การสะท้อนผลลัพธ์ของโครงการและความยั่งยืนในโครงการฯ 15.00น. พิธีปิดการอบรม และมอบเกียรติบัตร
พี่เลี้ยงโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดำเนินงานโครงการ ฯ เกิดความพร้อมในการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะฯ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดภูเก็ต

เพื่อวางแผนท าความเข้าใจและประสานงานภาคี เครือข ่ายการด าเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ ในระดับจังหวัด“ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต-Phuket: Health for Future of Life”
ลงทะเบียน พิธีเปิดการประชุม โดย นายอนุภาพ เวชวนิชสนองรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ผู้กล่าวรายงาน โดย นางปิยะพร โยธี ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข อบจ.ภูเก็ต ปาฐกถาพิเศษ โดย รศ.ดร.พันธ์ ทองชุมนุม รองอธิการบดีฯ มอ. วิทยาเขตภูเก็ต
นำเสนอ เรื่องการกระจายอำนาจด้านการจัดบริการสุขภาพและการสาธารณสุขให้แก่
ท้องถิ่นในทศวรรษหน้า โดยนายแพทย์บัญชา ค้าของ ที่ปรึกษาพิเศษนายก อบจ.ภูเก็ตนำเสนอที่มาและความสำคัญของโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์
และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต -Phuket: Health for
Futureof Life” โดย นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)นำเสนอ เรื่องกรอบการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการความร่วมมือ
เพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด“ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต
- Phuket: Health for Future of Life”โดย นายวิโรจน์ ภู่ต้อง (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
แบ่งกลุ่มเพื่อหาประเด็นในการขับเคลื่อนของโครงการฯ จ านวน 4 กลุ่ม
โดย ดร.จตุรงค์ คงแก้ว อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
- กลุ่มที่ 1 โดย ดร.จตุรงค์ คงแก้ว อาจารย์ มอ. วิทยาเขตภูเก็ต
- กลุ่มที่ 2 โดย นายวิโรจน์ ภู่ต้อง (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
- กลุ่มที่ 3 โดย นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
- กลุ่มที่ 4 โดย นายจีรวุธ ทองทศ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสาธารณสุข อบจ.ภูเก็ต
ได้ภาคีเครือข่ายในการจัดทำโครงการเพื่อขับเคลื่อนโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์
และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต -Phuket: Health for
Futureof Life
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ภาคีเครือข่าย
มีกลุ้มเป้าหมายมาไม่ครบถ้วนขาดภาคีเครือข่ายภาคประชาชน

เพื่อเตรียมความพร้อมในการประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อดำเนินงานโครงการความร่วมมือความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัดภูเก็ตฯ ในซึ่งกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 21 ก.พ. 2566
ระเบียบวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการเพื่อวางแผนและขับเคลื่อนการด าเนินงานโครงการความร่วมมือ
เพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต
- Phuket: Health for Future of Life” ครั้งที่ 3/2566
ในวันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์2566 เวลา 13.00 – 16.30 น.
ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3 โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ การจัดประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคง ทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ในวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09.00 น. – 16.30 น. ณ ห้องประชุมคอซิมบี้ อาคาร 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต โดยจะมีการปรับแผนในการด าเนินงาน เพื่อให้มีความสอดคล้อง กับชื่อของโครงการฯ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว รายงานการประชุมครั้ง 2/2566 เมื่อวันเสาร์ที่ 21 มกราคม 2566 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 การเปิดบัญชี โดยดร.จตุรงค์ คงแก้ว, นายวิโรจน์ ภู่ต้อง และนายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว 3.2 กำหนดการการประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อการด าเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อ ความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ 4.1 การปรับแผนบูรณาการในการดำเนินงานจัดประชุมภาคีเครือข่ายฯ 4.2 การติดตามการเตรียมการประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อเพื่อการดำเนินงานโครงการ ความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” 4.2.1 การเชิญกลุ่มเป้าหมาย 4.2.2 หนังสือเชิญคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการโครงการฯ 4.2.3 สถานที่ 4.2.4 วัสดุ-อุปกรณ์ 4.2.5 อาหารและเครื่องดื่ม 4.2.6 พิธีการในพิธีเปิดการประชุม
-ได้ข้อสรุปในการเปิดบัญชีรับเงินจากสนส. จำนวน 400,000 .- บาท โดยเปิดบัญชีร่วมกันระหว่าง ดร.จตุรงค์ คงแก้ว, นายวิโรจน์ ภู่ต้อง และนายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว
-สรุปกำหนดการในกิจกรรมการประชุมวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566
ก าหนดการ
การประชุมเพื่อวางแผนท าความเข้าใจและประสานงานภาคีเครือข่ายการด าเนินงาน
โครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด
“ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต -Phuket: Health for Future of Life”
ในวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์2566
เวลา 08.30 – 16.30 น.
ณ ห้องประชุมคอซิมบี้ อาคาร 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ต าบลตลาดใหญ่ อ าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
..........................................................................................................................................
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 น. พิธีเปิดการประชุม โดย นายเรวัต อารีรอบ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ผู้กล่าวรายงาน โดย นางปิยะพร โยธี ผู้อ านวยการกองสาธารณสุข องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดภูเก็ต
09.15 – 09.25 น. ปาฐกถาพิเศษ โดย รศ.ดร.พันธ์ ทองชุมนุม รองอธิการบดีฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตภูเก็ต
09.25 – 09.35 น. น าเสนอ เรื่องการกระจายอ านาจด้านการจัดบริการสุขภาพและการสาธารณสุขให้แก่
ท้องถิ่นในทศวรรษหน้า โดยนายแพทย์บัญชา ค้าของ ที่ปรึกษาพิเศษนายก อบจ.ภูเก็ต
09.35 – 09.50 น. น าเสนอที่มาและความส าคัญของโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์
และสุขภาพในระดับจังหวัด“ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต -Phuket: Health for
Futureof Life” โดย นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
09.50 – 10.00 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
๑0.00– 11.45 น. น าเสนอ เรื่องกรอบการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการความร่วมมือ
เพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด“ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต
- Phuket: Health for Future ofLife”โดย นายวิโรจน์ ภู่ต้อง (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
๑1.45 – 12.00 น. แบ่งกลุ่มเพื่อหาประเด็นในการขับเคลื่อนของโครงการฯ จ านวน 4 กลุ่ม
โดย ดร.จตุรงค์ คงแก้ว อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
๑2.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น. กิจกรรมกลุ่มเพื่อหาประเด็นในการขับเคลื่อนของโครงการฯ จ านวน 4 กลุ่ม
- กลุ่มที่ 1 โดย ดร.จตุรงค์ คงแก้ว อาจารย์ มอ. วิทยาเขตภูเก็ต
- กลุ่มที่ 2 โดย นายวิโรจน์ ภู่ต้อง (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
- กลุ่มที่ 3 โดย นายเจริญ ถิ่นเกาะแก้ว (สมัชชาสุขภาพจังหวัดภูเก็ต)
- กลุ่มที่ 4 โดย นายจีรวุธ ทองทศ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสาธารณสุข อบจ.ภูเก็ต
14.30 – 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.45 – 16.00 น. แสดงเจตจ านงขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการความร่วมมือเพื่อความ
มั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด“ภูเก็ต:สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต-Phuket:
Health for Future of Life”โดย ดร.จตุรงค์ คงแก้ว
อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
16.00 – 16.30 น. สรุป ตอบข้อซักถาม และปิดการประชุม
-จัดทำแผนบูรณาการในการดำเนินงานจัดประชุมภาคีเครือข่ายฯ
-สรุปขั้นตอน/ออกแบบการดำเนินการจัดประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคง
ทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future
of Life” ในวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09.00 น. – 16.30 น. ณ ห้องประชุมคอซิมบี้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ทีมประเมินผล

ทำความเข้าใจโครงการฯ แจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเพื่อขับเคลื่อนโครงการ
ระเบียบวาระการประชุม
คณะกรรมการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ
ในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life”
ครั้งที่ 1/2566
ในวันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 14.00 – 16.30 น.
ณ ห้องประชุมคอซิมบี้ อาคาร 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
ต าบลตลาดใหญ่ อ าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ การจัดประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคง ทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ในวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09.00 น. – 16.30 น. ณ ห้องประชุมคอซิมบี้ อาคาร 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว -ไม่มี- ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง -ไม่มี- ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ 4.1 คำสั ่งแต ่งตั้งคณะกร รมก ารโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” 4.2 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา นำเสนอแผนการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคงทางมนุษย์และสุขภาพ ในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life”
-แจ้งคำสั่งแต่งตั้ง/รับทราบภาระหน้าที่ในการปฏิบัติงานฯ -แผนการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566 -สรุป/ออกแบบการจัดประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อการดำเนินงานโครงการความร่วมมือเพื่อความมั่นคง ทางมนุษย์และสุขภาพในระดับจังหวัด “ภูเก็ต: สุขภาวะเพื่อชีวิตแห่งอนาคต - Phuket: Health for Future of Life” ในวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09.00 น. – 16.30 น. ณ ห้องประชุมคอซิมบี้ อาคาร 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ทีมประเมิน
-

*
*
()
*
*
()
-
-
()

*
*
()

*
*
()

*
*
()

*
*
()

*
*
()
*
*
()

ประชุมวางแผนการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภูเก็ต
แผนงานการดำเนินงานบูรณาการกลไกความร่วมมือเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภูเก็ต
()
ประกอบด้วย
*
*
()

วางกรอบการดำเนินงาน
กำหนดเป้าหมาย กรอบแนวคิด และแผนการดำเนินงาน
ได้กรอบการดำเนินงาน
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
คณะทำงานหลักโครงการ
-
-
-