สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ อำเภอเมือง พัทลุง ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธมล มงคลศิลป์,นายสมนึก นุ่นด้วง

ชื่อโครงการ อำเภอเมือง พัทลุง

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00336 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"อำเภอเมือง พัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อำเภอเมือง พัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " อำเภอเมือง พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 22

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ก.1 ประชุมกลไก พชอ. เมืองพัทลุง
  2. ก.2/1 การจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เมืองพัทลุง
  3. ก.2/2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผน รายประเด็น (บุหรี่ สุรา ยาเสพติด)
  4. ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าโครงการ
  5. สนับสนุนการประชุมกลไก พชอ. ร่วมกับกองทุนตำบล และภาคี MoU
  6. ก.4 การพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ในระดับกองทุน /พชอ.
  7. พัฒนาศักยภาพกองทุน
  8. ก.5 การประชุม กลไก พชอ. เพื่อติดตามความก้าวหน้า
  9. ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ
  10. ก.6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปผล ถอดบทเรียนและขอ้เสนอเชิงนโยบาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ก.1 ประชุมกลไก พชอ. เมืองพัทลุง

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าประชุมลงทะเบียน
ประธานเปิดประชุม
เลขา พชอ.รายงานผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา
คณะทำงานทั้ง 3 ฝ่ายแนะนำตัว
คณะทำงานสร้างควรามเขเ้าใจรายละเอียดโครงการ เห็นชอบแผนการดำเนินงาน
พักกลางวัน
คณะทำงานเสนอที่ประชุมกำหนดประเด็นขับเคลื่อนปี 2566 ที่ประชุมมีมติ
1).ประเด็นอาหารปลอดภัย
2).ประเด็นปัญหาสุขภาพจากขยะและสิ่งแวดล้อม
3).ประเด็นประชากรกบุ่มเปราะบาง โดยให้อาหาปลอดภัยเป้นประเด็นเด่นขับเคลื่อนทุกพื้นที่
คณะทำงานแจ้งการขอรับทุนสนับสนุนการขับเคลื่อนส฿่ผลลัพธ์ จากโครงการร่วมทุน อบจ.พัทลุง ที่มี 4 ประเด็น 3 ระดับ งบประมาณโครงการละ 50,000-150,000 บาท
เวลา 15.00 ประธานปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 ได้กลไกร่วมขับเคลื่อน 3 ฝ่าย (กลไกด้านปฏิบัติการ 4 คน /กลไกด้านสื่อ 3 คน /กลไกด้านวิชาการ 3 คน)
2. ได้สร้างความเข้าใจโครงการกับ คณะทำงาน พชอ.11 คน พชต. 17 คน สื่อ 2 คน วิชการ 2 คน และกลุ่มอื่นๆ 4 คน รวม 38 คน
2. ได้พื้นที่กองทุนเป้าหมายจำนวน 10 กองทุน ทต.นาท่อม, ทม.เมืองพัทลุง,ทต.โคกชะงาย,ทต.นาโหนด,ทต.ท่ามิหรำ,ทต.ท่าแค,ทต.ตำนาน,ทต.ปรางหมู่ล,ทต.ควนมะพร้าว,อบต.ลำปำ
3. ได้บันไดผลลัพธ์โครงการ (กิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /ผลลัพธ์ /ตัวชี้วัดผลลัพธ์) ที่ประชุมรับรอง ตามภาพ
4. ได้กลไก ที่ร่วมขับเคลื่อน/ติดตาม ประเมิน จากคณะทำงาน พชอ. จำนวน 10 คน (1).สาธารณสุขอำเภอ 2).ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์ 3). พัฒนาการอำเภอ 4). เกษตรอำเภอ 5). นายเอิบ ชูสงค์ ผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ 6). นายเริ่ม เพชรศรี ผู้แทนภาคประชาชน(คลังสมองจังหวัดพัทลุง) 7). นางอารสา เหล่าเจริญสุข นักวิชาสาธารณสุข สสจ.พัทลุง 8). นางศจีรัตน์ หลีวิจิตร เภสัชกร จาก รพ พัทลุง 9).ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดโพธาวาส 10). ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าสำเภาเหนือ)
5. ได้ประเด็นขับเคลื่อนเป็นนโยบาย พชอ. 1).ประเด็นอาหารปลอดภัย 2).ปัญหาสุขภาพจากขยะและสิ่งแวดล้อม 3).ประเด็นประชากรกลุ่มเปราะบาง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo ก.1 รายงานผลการประชุม พชอ.docxก.1 รายงานผลการประชุม พชอ.docx

 

31 38

2. ก.2/1 การจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เมืองพัทลุง

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงานไพลิน ทิพย์สังข์
08.30-10.30 ชี้แจงรายละเอียดโครงการ แนวทางการพัฒนาศักยภาพกองทุน แผนการดำเนินงาน การนิยามเระเด็น/ตัวชี้วัดในแผนงาน/แหล่งข้อมูลมือสอง สมนึก นุ่นด้วง
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงานไพลิน ทิพย์สังข์
10.45-12.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผน แบ่งเป้น 10กลุ่มๆกลุ่มละ 6คน วิทยากรหลัก ธมล มงคลศิลป์ วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม(ไพลิน ทิพย์สังข์,สมนึก นุ่นด้วง อมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม และเชษฐา ศรีนวลขาว)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน ไพลิน ทิพย์สังข์
13.00-14.30 (ต่อ) กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผน วิทยากรหลัก สมนึก นุ่นด้วง วิทยากรผู้ช่วย (ไพลิน ทิพย์สังข์,ธมล มงคลศิลป์ อมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม และเชษฐา ศรีนวลขาว)
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง ไพลิน ทิพย์สังข์
14.45-15.30 (ต่อ) กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผน โดยมีวิทยากรหลัก สมนึก นุ่นด้วง วิทยากรผู้ช่วย (ไพลิน ทิพย์สังข์,ธมล มงคลศิลป์ อมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม และเชษฐา ศรีนวลขาว)
15.30-16.00  AAR ของคณะทำงาน และทีมวิชาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้แผนงานอาหารและโภชนาการที่ประกอบด้วย สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ และโครงการที่ควรทำ ทั้ง 10 กองทุน
  2. ได้รายชื่อนักสื่อสารชุมชน ทั้ง 10 กองทุน รวม 20 คน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

55 52

3. ก.2/2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผน รายประเด็น (บุหรี่ สุรา ยาเสพติด)

วันที่ 19 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00-08.30 ลงทะเบียน 08.30-10.00 ชี้แจงการนิยามตัวชี้วัดรายประเด็น /ข้อควรระวังในสถานการณ์ และเป้าหมาย / และแนวทางการได้มาซึ่งข้อมูล
10.30-12.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย เจ้าหน้าที่กองทุนและทีมลงข้อมูลสถานการณ์ /เป้าหมาย/โครงการที่ควรทำ และงบประมาณ  โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วย คอยให้ความช่วยเหลือ  และติดตามความก้าวหน้าจากหน้าเว็บฯ
ทำเสร็จ 1 ประเด็น จะมีการสุ่มนำเสนอเพื่อการเรียนรู้  1 กลุ่ม 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย  (ด้วยกระบวนการเดียวกัน) 14.45-16.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย  (ด้วยกระบวนการเดียวกัน) คณะทำงาน AAR. กลุ่มเป้าหมายกองทุนละ 3 คน คณะกรรมการกองทุน 10 คน
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน 10 คน (นำโน้ตบุคมาด้วย) ภาคีสุขภาพที่เกี่ยวข้อง  8 คน คณะทำงาน/วิทยากร 1. นางสาวธมล  มงคลศิลป์ 2. นางสาวไพลิน  ทิพย์สังข์ 3. นายสมนึก  นุ่นด้วง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้แผนที่ครบองค์ประกอบ(บุหรี่/สุรา/ย่เสพติด)
  2. ได้ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนเป้นคณะทำงานกลไกขับเคลื่อนร่วมกับ พชอ. 10 คน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

34 30

4. ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าโครงการ จ.พัทลุง

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 13.00 น มีผู้ลงทะเบียนเข้าประชุม 22 คน ที่ประชุมมีมติให้นายเอิบ ชูสง เป็นประธานการประชุม ดำเนินการประชุมตามวาระต่อไปนี้
วาระที่ 1 รายงานความก้าวหน้าของ พชอ. (ไม่มี)
วาระที่ 2 รายงานความก้าวหน้าโครงการฯโดยคณะทำงาน
ทีมปฏิบัติการ
จากการประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองพัทลุง
1 ได้กลไกร่วมขับเคลื่อน 3 ฝ่าย (กลไกด้านปฏิบัติการ 4 คน /กลไกด้านสื่อ 3 คน /กลไกด้านวิชาการ 3 คน)
2. ได้สร้างความเข้าใจโครงการกับ คณะทำงาน พชอ.11 คน พชต. 17 คน สื่อ 3 คน วิชการ 3 คน และกลุ่มอื่นๆ 4 คน รวม 38 คน
3. ได้พื้นที่กองทุนเป้าหมายจำนวน 10 กองทุน
4. ได้บันไดผลลัพธ์โครงการ (กิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /ผลลัพธ์ /ตัวชี้วัดผลลัพธ์) ที่ประชุมรับรอง ตามภาพ
5. ได้กลไก ที่ร่วมขับเคลื่อน/ติดตาม ประเมิน จากคณะทำงาน พชอ. จำนวน 10 คน (1).สาธารณสุขอำเภอ 2).ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์ 3). พัฒนาการอำเภอ 4). เกษตรอำเภอ 5). นายเอิบ ชูสงค์ ผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ 6). นายเริ่ม เพชรศรี ผู้แทนภาคประชาชน(คลังสมองจังหวัดพัทลุง) 7). นางอารสา เหล่าเจริญสุข นักวิชาสาธารณสุข สสจ.พัทลุง 8). นางศจีรัตน์ หลีวิจิตร เภสัชกร จาก รพ พัทลุง 9).ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดโพธาวาส 10). ผู้อำนวยการโรงเรียนท่าสำเภาเหนือ)
6. ได้ประเด็นขับเคลื่อนเป็นนโยบาย พชอ. 1).ประเด็นอาหารปลอดภัย 2).ปัญหาสุขภาพจากขยะและสิ่งแวดล้อม 3).ประเด็นประชากรกลุ่มเปราะบาง

ทีมสื่อสาร
ทีมสื่อได้เสนอแนวทางการดำเนินงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อน ด้วยการผลิตงานสื่อสารเชิงลึก ด้วยการติดตามการขับเคลื่อนงานพื้นที่รูปธรรมของกองทุนแบบก้าวหน้ากองทุนตำบลนาท่อม เปรียบเทียบกับกองทุนช่วงเรีบยรู้ (กองทุนตำบลนาโหนด) และหาแนวทางก่รสานพลังโดยกลไก พชอ และจะอบรมสื่อท้องถิ่นให้มากกว่าที่เขาทำได้ และที่ทำเป็นอยู่แล้วเพื่อช่วยสานพลังอีกช่องทางหนึ่ง

ทีมวิชาการ
ให้ความเห็นถึงความล่าช้าของโครงการ อันจะมีผลต่องบประมาณกองทุนที่จะถูกจ่ายออกไปให้กับโครงการที่ขอมาก่อนแล้ว เสนอให้เร่งดำเนินการทำแผนและพัฒนาโครงการ เพื่อจะได้มโครงการสนองยุทธศาสตร์ร่วมระดับ พชอ. ซึ่งอาจทำเป้นโครงการต้นแบบในประเด็นร่วม แล้วนำไปปรับใช้กับทุกพื้นที่
วาระที่ 3 การสร้างและพัฒนาแผนอำเภอผ่านเว็บ
เว็บกองทุนยังไม่พร้อมใช้งานในการสร้างแผนอำเภอ (ได้ประสานงานกับ สนส. แล้วแต่ไม่สำเร็จ) ผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง xls. (รายละเอียดตามภาพแนบแล้ว) จากสถานการ/เป้าหมาย และประกอบกับโครงการที่มีความถี่สูงสุด 8/10 กองทุน ที่ประชุมจึงเห็นชอบให้ทำโครงการลดหวาน /ลดอ้วน ในทุกพื้นที่
วาระที่ 4. พิจารณากำหนด/โครงการ/ประเด็นนำด้านอาหารปลอดภัย
ที่ประชุมจึงเห็นชอบให้ทำโครงการลดหวาน /ลดอ้วน ในทุกพื้นที่
วาระที่ 5 เสนอแผนการดำเนินงานในระยะต่อไป
เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ต้นเดือนพัฒนาแผน(ต่ออีก 2 แผนงาน) กลางเดือนลงนามความร่วมมือ พชอ.กับกองทุน MoU
ปลายเดือน พัฒนาโครงการ วาระอื่นๆ .. AAR
ปัญหาผู้แทน พชอ. เข้าร่วมในอัตราที่ต่ำ 40% ทั้งที่ส่งหนังสือเชิญครบ ทั้งยังมีการติดตามแจ้งเตือนในกลุ่มไลน์ แนวทางแก้ไขให้ขอหนังสือเชิญจากนายอำเภอ
ปิดประชุม เวลา 15.00 น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้โครงการลดหวาน/ลดอ้วน ที่ต้องขับเคลื่อนทุกพื้นที่
  2. ได้พื้นที่ปฏิิบัติการเข้มข้นเปรียบเทียบกับพื้นที่กองทุนต้นแบบ(นาโหนด  กับนาท่อม)
  3. ได้แนวทางแก้ปัญหาความล่าช้าโดยการทำโครงการต้นแบบ ใช้กับทุกพื้นที่
  4. ได้การขับเคลื่อนกิจกรรมอาหารปลอดภัยจาก Function ของหน่วยงานใน พชอ.(พช. และ สสจ)
  • photo
  • photo โครงการที่มีความถี่มากโครงการที่มีความถี่มาก
  • photo สถานการณ์-เป้าหมาย 1 ปีสถานการณ์-เป้าหมาย 1 ปี
  • photo ข้อเสนอทางวิชาการข้อเสนอทางวิชาการ
  • photo ขอ้เสนอของทีมสื่อขอ้เสนอของทีมสื่อ
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 22

5. สนับสนุนการประชุมกลไก พชอ. ร่วมกับกองทุนตำบล และภาคี MoU

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงทะเบียน
2.พิธีกร ดำเนินการายการ
3.นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นกิจกรรมทางกาย กองทุนต้นแบบ การบูรณาการกลไก พชอ.กับกองทุนฯ ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
4.การนำเสนอสื่อกิจกรรมทางกาย ปั่นจักรยานสร้างสุข
5.รายงานที่มา และความก้าวหน้าโครงการ ต่อประธานที่ประชุม (นายบุญชู คงเรือง นักวิชาการสาธารณะสุขชำนาญการพิเศษ รอง.นพ.สสจ.พัทลุง)
6.ทิศทางและความเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล (พชจ-พชอ-พชต)
7.พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
8. นายสิทธิชาติ บุญปล้อง นากย อบต.ลำปำ เป็นผู้แทนผู้บริหารท้องถิ่นอ่านบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
9.นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นการจัดการอาหารปลอดภัย Videos of ชุมชนน่าอยู่บ้านหูยาน
10. เสวนาหาการสื่อสารเพื่อสุขภาพ “สื่อให้ปัง ต้องให้โดน” กับ 5 ตัวจี๊ด ประเด็น การสื่อสารกับการพัฒนากลไกระดับตำบล ระดับอำเภอ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
ผู้ร่วมเวที
1. นายสงคราม พุฒดี ปลัดอำเภอ ผู้แทนนายอำเภอ
2. ดร.กุลทัต หงส์ชะยางกูร รักษาการ ผอ.สถาบันนโยบายสาธารณะ มอ.
3. นางกชกานต์ คงชู ปลัดเทศบาลนาท่อม (กองทุนต้นแบบ)
4. นายสมนึก นุ่นด้วง ผู้ประสานงานโครงการ
5. นายสุรัตน์ ชูอักษร นายกเทศบาลตำบลนาโหนด (ทองทุนขับเคลื่อนคู่ขนานเปรียบเทียบกับกองทุนต้นแบบ)
6. นางสุพัฒน์ ทองเกต ผอ.โรงเรียนบ้านท่าสำเภาใต้ ตัวแทนกลุ่มโรงเรียนโซนเหนือ
7. นายอานนท์ มีศรี ผู้ดำเนินรายการ
11. สรุปอภิปราย/ขอบคุณ/และปิดการประชุม/

หมายเหตุ ##สนส. เป็นผู้จัดการค่าใช้จ่ายในกิจกรรม ทั้งหมด##

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ร่วมกำหนดประเด็นร่วม กำหนดประเด็นขับเคลื่อนโดย พชอ. ซึ่งเมื่อได้วิเคราะห์สถานการณ์จากแผนงานพบว่าคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำมากกว่า 5 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 39.99 คนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม ร้อยละ 39.63 คนอายุ 18 ปีขึ้นไปมีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ที่ร้อยละ 24.07
  2. หนดโครงการที่ควรดำเนินการ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลได้มีโครงการลดการกินหวาน 8โครงการ ส่งเสริมการกินผักผลไม้  7โครงการ  และโครงการลดอ้วน 7 โครงการ
  3. ภาคีร่วม โครงการหวานน้อยของเครื่องดื่มแบรนด์เนม ในร้าน Modern Trad ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้ดำเนินการมาแล้ว 30 ร้านครอบคลุมทั่วทั้งจังหวัด
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo การบูรณาการกลไก พชอ.กับกองทุนตำบลขับเคลื่.pdfการบูรณาการกลไก พชอ.กับกองทุนตำบลขับเคลื่.pdf

 

80 80

6. ก.4 การพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ในระดับกองทุน /พชอ.

วันที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-10.30 น ทบทวนความก้าวหน้าการดำเนินงานตามโครงการ และพัฒนาโครงการเน้นผลัพธ์ 1 (หลักการ/วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กิจกรรม/งบประมาณและการประเมินผล) โดยวิทยากรกระบวนการ
10.30-10.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 น พัฒนาโครงการเน้นผลัพธ์ 2 (แบ่งกลุ่ม ออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์) วิทยากรกระบวนการ/วิทยากรกลุ่ม
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 น นำเสนอกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ วิทยากรกระบวนการ
14.30-14.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 น บันทึกกิจกรรม/ ผลผลิต ผลลัพธ์/ งบประมาณ วิทยากรกระบวนการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน(เจ้าหน้าที่กองทุน 7 คน /ผู้รับทุน 16 คน/ผู้แทนกองทุน 1 คน/ทีมวิชาการ 2 คน)
ได้โครงการตามยุทธศาสตร์อำเภอ(ลดอ้วน ลดหวาน) 8 โครงการ/กองทุน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

36 30

7. พัฒนาศักยภาพกองทุน

วันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 24 เมษายน
08.00-08.30 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
08.30-10.00 ติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ /และการอนุมัติงบประมาณ 10.30-12.00 ทบทวนแผนรายประเด็น และกระบวนการจัดท าแผนรายประเด็นโดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ /เป้าหมาย/โครงการที่ควรท า และงบประมาณ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กองทุนและผู้แทนกรรมการกองทุน เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บ โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย
14.45-16.00 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กองทุนและผู้แทนกรรมการกองทุน เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บ โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย

วันที่ 25 เมษายน
09.00-12.00 กระบวนการปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ ภาคีสุขภาพ ผู้ขอรับทุน(อสม./ครู รร. /ผู้น าชุมชน /ครู สพด./สพค./กพส./รพสต./ ฯลฯ) เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บกองทุน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.30 กระบวนการปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีสุขภาพ ผู้ขอรับทุน(อสม./ครู รร. /ผู้น าชุมชน /ครู สพด./สพค./กพส./รพสต./ ฯลฯ) เพื่อการเขียนโครงการผ่านเว็บกองทุน โดยมีวิทยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย 15.30-16.30 AAR  โดยคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เจ้าหน้าที่กองทุนมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาแผนงาน และโครงการ
  2. เจ้าหน้าที่กองทุน 2 คน(นางสาวเพ็ญนภา หนูฤทธิ์ กองทุน ทม.เมือง และนายมนตรี จันทร์น้อย กองทุน อบต.ควนมะพร้าว) สามารถสอนการพัฒนาแผนงาน และโครงการได้
  3. ผู้แทนกรรมการกองทุน 1 คน (นางสาววัชรกร โพธิ์พฤกษ์ กองทุน ทม.เมือง) สามารถสอนการพัฒนาแผนงาน และโครงการได้
  4. ทุกกองทุนมีแผนงาน และโครงการในเว็บไซต์
  5. ทุกกองทุนมีโครงการที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ พชอ.
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 45

8. ก.5 การประชุม กลไก พชอ. เพื่อติดตามความก้าวหน้า

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วาระที่ 1 สรรหาประธานในที่ประชุม นายเริ่ม เพชรศรี เป็นประะานการประชุม
วาระที่ 2 รายงานการขับเคลื่อนงาน พชอ.เมืองพัทลุง โดยเลขา พชอ.เมือง (ไม่มี)
วาระที่ 3 รับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน โดยนายสมนึก นุ่นด้ว  ที่ประชุมปรับแก้ชื่อผู้เข้าประชุม 2 ราย
วาระที่ 4 ติดตามมติที่ประชุมครั้งก่อน ที่ประชุมติดตามแผนอำเภอ ซึ่งคณะทำงานได้สร้างแผนอำเภอผ่านเว็บกองทุนประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย ส่วนการกำหนดเป้าหมายจะได้เสนอที่ประชุม พชอ. เป้นผู้กำหนดต่อไป
วาระที่ 5 รายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการ โดยคณะทำงานโครงการ
  -คณะทำงานปฏิบัติการ รายงานผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ 5 ขั้น ดังนี้
  1. คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่กแองทุนมีศักยภาพในการบริหารงานกองทุน
  2. ผู้รับทุน คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุน มีความรู้ เข้าใจ ตระหนักในเรื่องสุขภาพและแนวทางในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะ
  3. ขับเคลื่อนงานด้วยแผนสุขภาพกองทุน
  4. มีโครงการที่เชื่อมโยงกับแผนงาน และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ
  5. มีนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ
จากการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานโครงการ ขณะนี้เกิดความสำเร็จที่บันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 4
  -คณะทำงานสื่อ งานการพัฒนานักสื่อวสารชุมชนตามโครงการ จะเร่งดำเนินการในเร็วๆนี้
  -คณะทำงานวิชาการ การดำเนินงานเป็นไปตามแผน
-การสอบถามจากที่ประชุม
วารที่ 6 รายงานแผนการทำงานช่วงต่อไป และการพิจารณาสร้างการมีส่วนร่วม โดยคณะทำงานโครงการ
  - การพัฒนาการติดตามและประเมินคุณค่าโครงการ จัดในกลางเดือนกรกฎาคม 2566
  - การยกร่างนโยบายสาธารณะ จัดในปลายเดือนกรกฎาคม 2566
วาระที่ 7 เรื่องอื่นๆ จากผู้เข้าประชุม
  - ค่าตอบแทนการเข้าประชุมของคณะทำงานสื่อให้เบิกจากผู้จัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าประชุมครบองค์ประชุม
  2. การดำเนินงานเป้นไปตามแผน
  3. ปัจจัยความสำเร้จ
      3.1 บทบาทการนำของเลขากองทุน (การได้มาซึ่งข้อมุลทำแผนโดยใช้แหล่งข้อมูล HDC. /  การจับมือทำโครงการ /การสอนการเขียนโครงการรายคน/ สร้างคนรุ่นใหม่เข้ามาขับเคลื่อนงานกองทุน)
      3.2 การคืนข้อมูลของภาคีสุขภาพเพื่อเป็นข้อมุลต้นทุนการทำแผนสุขภาพกองทุน
      3.3 การสร้างกลไกช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ เช่นคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคตำบล..
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 20

9. ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-10.30 น. ทบทวนการใช้เวบกองทุน (การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ)โดยสมนึก นุ่นด้วง
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ (การลงรายงานกิจกรรม/รายงานการเงิน/การลงภาพประกอบ/การแนบไฟล์เอกสาร)โดยไพลิน ทิพย์สังข์ (เสงี่ยม/สมนึก เป้นวิทยุกรกลุ่ม) 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. การประเมินคุณค่าโครงการ โดยเสงี่ยม ศรีทวี
14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน วิทยากรทั้ง 3 คนร่วมคอมเม้นท์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนเข้าร่วม 7 กองทุน นำเสนอการลงรายงานการติดตาม 8 โครงการ
1.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำลูกประคบโดยเด็กพิเศษ กองทุน ควนมะพร้าว
2.โครงการโภชนการสำหรับเด็ก กองทุน ควนมะพร้าว
3.โครงการเพิ่้มการเรียนแบบ Active Learning กองทุนนาโหนด
4.โครงการการจัดการขยะเปียกด้วยถังรักษ์โลก กองทุนปรางหมุ่
5. โครงการอาหารปลอดภัย กองทุนนาท่อม
6. โครงการลดการใช้สารเคมี กองทุนโคกชะงาน
7. โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้าง กองทุนท่ามิหรำ
8. โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายนผู้ก่อการดี กองทุนท่าแค

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 30

10. ก.6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปผล ถอดบทเรียนและขอ้เสนอเชิงนโยบาย

วันที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-09.30 น. รายงานความก้าวหน้าโครงการ และนำเสนอแผนอำเภอเมืองพัทลุง (พชอ.) โดย ผู้ประสานงานโครงการ 09.30-10.00 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. แบ่งกลุ่มสรุปผลและถอดบทเรียน คณะวิทยากร 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.00 น. นำเสนอผลลัพธ์ ปัจจัยความสำเร็จ/อุปสรรค คณะวิทยากร 14.00-16.00 น ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย คณะวิทยากร/วิชาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทั้ง 10 กองทุน มีแผนงาน ประเด็นอาหารและโภชนาการ รองรับนโยบาย พชอ. เมือง 8 กองทุน
  2. มีโครงการตามแผนงานอาหารปลอดภัย(แผนอำเภอ) จำนวน .22..โครงการ จากจำนวน..8....กองทุน งบประมาณ.....580,779 ....บาท
  3. รพสต. เป้นกลไกสำคัญที่ร่วมขับเคลื่อนสู่เป้าหมาย มีโครงการ 8 โครงการ ตามด้วย อสม. จำนวน 5 โคงการ โรงเรียน 3 โครงการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 โครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2โครงการ และ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 1 โครงการ
  4. มีข้อเสนอเชิงนโยบาย..รายละเอียดตามเอกสาร (แนบไฟล์)
  • photo ถอดบทเรียนโครงการ พชอ.เมืองพัทลุง.pdfถอดบทเรียนโครงการ พชอ.เมืองพัทลุง.pdf
  • photo บัญชีรับ-จ่ายเงิน.pdfบัญชีรับ-จ่ายเงิน.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 30

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 22
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 22

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ก.1 ประชุมกลไก พชอ. เมืองพัทลุง (2) ก.2/1 การจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เมืองพัทลุง (3) ก.2/2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผน รายประเด็น (บุหรี่ สุรา ยาเสพติด) (4) ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าโครงการ (5) สนับสนุนการประชุมกลไก พชอ. ร่วมกับกองทุนตำบล และภาคี MoU (6) ก.4 การพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ในระดับกองทุน /พชอ. (7) พัฒนาศักยภาพกองทุน (8) ก.5 การประชุม กลไก พชอ. เพื่อติดตามความก้าวหน้า (9) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ (10) ก.6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุปผล ถอดบทเรียนและขอ้เสนอเชิงนโยบาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ อำเภอเมือง พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

อำเภอเมือง พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00336

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธมล มงคลศิลป์,นายสมนึก นุ่นด้วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด