สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ เกษตรกรรมยั่งยืน ”



หัวหน้าโครงการ
นายทวีวัตร เครือสาย, นางพัลลา ระสุโส๊ะ, รศ.ดร.โอภาส พิมพา

ชื่อโครงการ เกษตรกรรมยั่งยืน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-00336 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"เกษตรกรรมยั่งยืน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เกษตรกรรมยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " เกษตรกรรมยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
  2. พื้นที่ทุ่งใสไซ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  3. ตำบลหารโพธ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
  4. ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
  5. ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน (5รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด
  6. ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวนเกษตร เกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืน ในพื้นที่ภาคใต้
  7. ประชุมหารือการสร้างความร่วมมือการทำแผน/โครงการ ขับเคลื่อนนโยบายสวนยางยั่งยืนสู่ความมั่นคงทางอาหาร
  8. สังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ "การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน"
  9. จัดทำแผนเกษตรกรรมยั่งยืนตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
  10. ประชุมคณะทำงาน
  11. ทบทวนการจัดทำยุทธศาสตร์ภายใต้แผนปฎิบัติการ พื้นที่นำร่องเกษตรกรรมยั่งยืนพื้นที่จังหวัดพัทลุง
  12. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
  13. โครงการการจัดการฟาร์มแพะของเกษตรกรรอบพื้นที่ทุ่งใสไช
  14. ทบทวนข้อมูลทุนศักยภาพพื้นที่ตำำบลบ้านควน
  15. ประชุมเตรียมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่
  16. เพื่อสร้างทางเลือกทางนโยบายและให้มีแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่
  17. ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน (5รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด
  18. ปรึกษาหารือจัดทำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่
  19. ประชุมขับเคลื่อนงานเกษตรกรรมยั่งยืน(การพัฒนาคุณภาพสินค้าปลอดภัย)
  20. ประชุมสัมมนาครบเครื่องเรื่องวิสาหกิจชุมชน อ.ไชยา
  21. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA" หลักสูตร สัตวบาล (สมทบ) ครั้งที่ 1
  22. ประชุมปรึกษาหารือการจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน
  23. ประชุมปรึกษาหารือและพัฒนากลไกความร่วมมือระดับจังหวัดและภาคใต้
  24. กิจกรรมและดูงานเยี่ยมชมกลุ่มวิสาหกิจพื้นที่ใกล้เคียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  25. ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่ โมเดล BCG ระดับพื้นที่การเชื่อมงานบูรณาการพื้นที่ตำบลบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร
  26. เวทีขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน บ้านควน อยู่ดี มีสุข
  27. ประชุมเชิงปฎิบัติการวิเคราะห์ทุน ศักยภาพ สุขภาวะเกษตรตลิดห่วงโซ่อุปทานที่หานโพธิ์
  28. โครงการอบรมเสริมสร้างเศรษฐกิจภายในครอบครัว (การเพาะเห็ด)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำแผนเกษตรกรรมยั่งยืนตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานชุมชน/อบต  /ดูพื้นที่ขับเคลื่อนงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้ดเข้าร่วมจากทุกภาคส่วน มีการแลกเปลี่ยนพูดคุยโดยเสนอให้ใช้พื้นที่โรงเรียนชลธารวิทยาเป็นพื้นที่ต้นแบบและแบ่งสัดส่วนการทำเกาตรในรูปแบบต่างๆและแบ่งการรับผิดชอบ เช่น พื้นที่ข้าวไร่ กลุ่มเครือข่ายข้าวไร่จังหวัดชุมพรรับผิดชอบ  พื้นที่มะพร้าวน้ำหอม กลุ่มสมาพันธ์เกษตรรับผิดชอบ ฯลฯ และจะมีทาง อบต.จะเข้ามาร่วมสนับสนุนโดยเน้นรวมถึงครัวเรือนให้ปลูกผักง่าย เช่น ผักสวนครัว

  • photo
  • photo
  • photo

 

55 55

2. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 10 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานภาคีที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการรับรู้และแบ่งบทบาทการขับเคลื่อนงานร่วมทั้งแลกเปลี่ยนแนวทางการทำเกษตรกรรมยั่งยืนที่เหมาะสมกับพื้นที่

 

10 10

3. ทบทวนการจัดทำยุทธศาสตร์ภายใต้แผนปฎิบัติการ พื้นที่นำร่องเกษตรกรรมยั่งยืนพื้นที่จังหวัดพัทลุง

วันที่ 15 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานรวบรวมข้อมูล/สังเคราะห์ข้อมูลและกำหนดวันประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพื้นที่นำร่องเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นจะต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการจะได้มาซึ่งแผนยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพต้องประกอบด้วยฐานข้อมูลจริงจากพื้นที่  คณะทำงานปฏิบัติการพื้นที่นำร่องเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดเวทีทบทวนข้อมูลทุนและศักยภาพพื้นที่ ขึ้นเมื่อวันที่ 15-16 ตุลาคม 25565 ณ  ทรัพย์นาคารีสอร์ท  อ.ป่าพะยอม  จ.พัทลุง  โดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 42 คน การดำเนินการเป็นการแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามภูมินิเวศของจังหวัดพัทลุง คือ เขา ป่า นา เล ซึ่งลักษณะภูมินิเวศน์นี้จะ เป็นทั้งลักษณะทางภูมิศาสตร์ วิถีความเป็นอยู่และวิถีการผลิต ตลอดจนภูมิวัฒนธรรมอันเกี่ยวเนื่องมาจากภูมินิเวศน์นั้น ๆ ดังต่อไปนี้
ภูมินิเวศน์ เขา-ป่า คือบริเวณตอนในของจังหวัดพัทลุงซึ่งอยู่ริมเทือกเขาบรรทัด ได้แก่
- อำเภอกงหรา
- อำเภอตะโหมด
- อำเภอศรีนครินทร์
ภูมินิเวศน์ นา- เล คือบริเวณที่ราบระหว่างทะเลสาบและเทือกเขาบรรทัด ได้แก่
- อำเภอเมือง
- อำเภอควนขนุน
- อำเภอบางแก้ว
- อำเภอเขาชัยสน
- อำเภอปากพะยูน
- อำเภอป่าบอน

1. อ.กงหรา ตะโหมด ศรีนครินทร์<br />

1.1 ด้านสังคม
ปัญหา - ไม่มีเอกสารสิทธิ์ทำกิน
- บ้านไม่มั่นคง ด้อยโอกาส ไม่มีที่อยู่อาศัย (อยู่ในกงสี - บ้านเจ้านาย) ไม่มีทรัพย์สิน
- คนในครอบครัวไม่มีเวลาให้เพื่อนบ้านไม่สัมพันธ์/ไม่รู้จักกัน
ความต้องการ - ให้สำรวจปัญหาผู้เดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัย (แต่งงานไปแล้ว ยังอยู่บ้านเดิม ไม่ได้ออกไปสร้างบ้านใหม่)
- ต้องการให้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ให้คนอยู่กับป่าได้ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องที่ดินทำกิน
1.2  ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหา
- ราคายางตกต่ำ
- ไม่มีเอกสารสิทธ์ ในส่วนของผู้ปลูกยางพารา พบว่า มีผู้ปลูกยางพาราที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ประมาณ 10,000 ครัวเรือน หรือประมาณ 40,000 คน และพื้นที่รวมกันกว่า 120,000 ไร่ - เรื่องสวัสดิการคนกรีดยาง กรณีตายระหว่างกรีดยางระหว่างเที่ยงคืน ถึงเที่ยงวัน ได้รายละ 250,000 บาท
- เรื่องราคาข้าวและพืชอื่น
- เรื่องการรับรองมาตรฐานกันเอง
- ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ทำกิน - ปัจจุบันมีปัญหาเรื่องคนรุกป่า
ความต้องการ - ให้มีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรดั้งเดิม เช่น ยางพารา
- อยากให้องค์กรชุมชนสามารถรับรองสิทธิ์ได้
1.3  ด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหา -  เรื่องโครงสร้างพื้นฐานทำลายลาธารธรรมชาติ -  ขาดน้ำทำการเกษตรในฤดูแล้ง
ความต้องการ - ต้องทำชลประทานต้นน้ำ - ต้องปรับปรุงดิน - น้ำ
- ส่งเสริมจิตสำนึกในการดูแลป่าต้นน้ำ
- ขอให้องค์กรชุมชนผลักดันเรื่องเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ ปลอดสารเคมี
- ต้องมีการบูรณาการหน่วยงานภาครัฐที่เข้ามาดูแลเกษตรกร เช่น มหาดไทย อุทยาน ฯลฯ เพื่อ รับรองสิทธิ์ในการเป็นเกษตรกร 1.4  ทุนในพื้นที่ -  มีพื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์ - มีภูมิปัญญาเกี่ยวกับการจัดการน้ำ - มีเครือข่ายภาคประชาชนหลายองค์กร เช่น สมาคมคนรักษ์ลุ่มน้ำพัทลุง  กลุ่มทำนาปลอดภัย ต.ตะโหมด  เครือข่ายสภาองค์กรชุมชน  เครือข่ายสินธุ์แพรทอง  กลุ่มคนกล้าคืนถิ่น - มีพื้นที่ต้นแบบในการทำเกษตรยั่งยืน เช่น เครือข่ายสวนยางแปลงใหญ่ที่อำเภอตะโหมด  พื้นที่นาปลอดภัยที่ตะโหมด 2. อำเภอศรีบรรพต และอำเภอป่าพะยอม
2.1 ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหา - การปลูกยางพาราเกินความต้องการของตลาด
- ขาดการส่งเสริมการใช้ยางพาราในประเทศอย่างจริงจัง - มาตรฐานคุณภาพที่ทำให้ส่งออกยาก
- นโยบายของภาครัฐไม่ตรงกับความต้องการของประชาชน
- การเปลี่ยนแปลงสภาพสวนยางพารา ไม่สอดคล้องกับสภาพวิถีชีวิต
- ส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ โค่นยางไม่ได้
ความต้องการ
-การแปลงสวนยางเป็นป่ายาง ต้องเพิ่มมูลค่าในการใช้พื้นที่
- ถ้าโค่นได้ ก็จะลดจำนวนต้นยางลงได้ และให้ปลูกไม้ยืนต้นทดแทน
- ลดต้นยางตามความเหมาะสมของพื้นที่ ไม่ควรเอานามาปลูกยางพารา
- รวมกลุ่มเพื่อยกระดับการผลิต
- ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าให้ครบวงจร
- ทบทวนนโยบายของรัฐให้เหมาะสมกับสภาพวิถีชีวิต
- ลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมการผลิตในวิถีอินทรีย์
- ส่งเสริมการผลิตพืชที่หลากหลาย ไม่ส่งเสริมการผลิตพืชเชิงเดี่ยว 2.2 ด้านสังคม
ปัญหา -สังคมเปลี่ยนจากสังคมเกษตรเป็นสังคมเมืองทำให้ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนเริ่มห่างเหินกัน -การแพร่ระบาดของยาเสพติด จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็นเมืองหลวงพืชกระท่อมของภาคใต้ -ปัญหาการใช้ความรุนแรงและอาชญากรรม ความต้องการ - ต้องมุ่งเน้นที่การสร้างครอบครัวให้เข้มแข็ง
- ส่งเสริมการดูแลพัฒนาเด็กในทุกช่วงวัย
- ดูแลผู้สูงอายุให้เหมาะสม


2.3 ด้านสิ่งแวดล้อม
ปัญหา - มีพื้นที่พิพาทระหว่างรัฐกับชาวบ้าน พื้นที่โฉนด ร้อยละ 80 เป็นของคน 10 นามสกุล
- มีการบุกรุกป่า จากนโยบายภาครัฐและเอกชน มีการใช้กฎหมายในการบริหารจัดการป่า แต่พื้นที่ป่าลดลง ความต้องการ - ยกเลิกการใช้สารเคมี ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์
- หมอดินต้องทำงานเชิงรุก
- ยกเลิกนโยบายส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว
- รัฐต้องหนุนเสริมกองทุนที่ดินในระดับตำบล ชพค. มีเงิน 6,000 ล้านบาท แต่ใช้ทำงานไม่ได้ เพราะขาดกลไกในระดับตำบล
- ควรส่งเสริมการปลูกป่าในพื้นที่ของรัฐและเอกชน
- ต้องมีการทบทวนกฎหมายและนโยบาย ที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง เรื่องของการกระจายอำนาจรัฐต้องให้ท้องถิ่นบริหารจัดการพื้นที่ให้ได้ ชุมชนต้อง ออกกฎในการบริหารจัดการพื้นที่ป่า คนในชุมชนต้องช่วยกันดูแลป่า
- บังคับใช้กฎหมายกับผู้ทำน้ำเสียอย่างจริงจัง
- การบริหารจัดการน้ำต้องไม่ใช่แค่การ ขุดลอกคูคลอง แต่ต้องอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย
- ส่งเสริมการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน 2.4  ทุนในพื้นที่ -  มีมหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่เรียนรู้ของชุมชน
- มีต้นทุนผลิตภัณฑ์เกษตรที่หลากหลาย
- เป็นพื้นที่ป่าต้นน้ำ - มีแหล่งเรียนรู้ตลาดต้นไม้ชายคลอง - มีเครือข่ายภาคประชาชนหลายองค์กร เช่น กลุ่มคนต้นน้ำตะแพน  เครือข่ายสภาองค์กรชุมชน  กลุ่มคนกล้าคืนถิ่น  เครือข่ายนวัตกรชุมชนของมหาวิทยาลัยทักษิณ
3. อำเภอเมือง
3.1 ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหา - พึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภายนอก
- การตลาด มีปัญหาการปลูกตามคนอื่น ปลูกแข่งกันเอง หาตลาดไม่เป็น
- ขาดความรู้ในการจัดการข้อมูล
- ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ
- ภาระหนี้สินมาก
ความต้องการ - ทำแผนเชิงระบบกันใหม่ ตั้งแต่การปลูก การดูแล การตลาด
- การจัดการข้อมูล ให้คนปลูกอยู่ได้ คนกินอยู่สบาย
- กลุ่มเกษตรต้องร่วมมือกันเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาเป็นกลไกจังหวัด และหวังว่าคน บริโภคก็จะจับมือกันเพื่อเลือกบริโภคอาหารปลอดภัย ซึ่งจะเชื่อมโยงกับเรื่องเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุง
- พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผลผลิตและอุตสาหกรรมต่อเนื่องจาก การเกษตรที่มีศักยภาพให้เกิดมูลค่าเพิ่มและการพัฒนาพลังงานทางเลือกเพื่อการพึ่งพาตนเอง รวมกลุ่มผู้ผลิต เพื่อต่อรองและเป็นเพื่อนกับผู้บริโภค 3.2 ด้านสิ่งแวดล้อม
ปัญหา - วัชพืชในแหล่งน้ำ มีผักกระฉูด (คล้ายผักกระเฉด) รื้อจากลำคลองมาทิ้งไว้ริมคลองก็จะงอกมาอีก
- หมา แมว จรจัด ภาครัฐเคยทำเรื่องขึ้นทะเบียน แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่คาดหวัง ความต้องการ
-    สารเคมีทางการเกษตร แม้จะใช้น้อยแต่ก็มีผลกระทบต่อภาพรวม -ต้องแปรรูปเป็นปุ๋ยอินทรีย์เท่านั้น
-ต้องจดทะเบียนพร้อมทำหมัน เพื่อลดการเกิดและควบคุมประชากร หมา แมว
-การคัดแยกขยะ ร้อยละ 90 เป็นขยะอินทรีย์ที่ควรจะถูกนำไปแปรรูปเป็นปุ๋ยหมัก ส่วนขยะอื่น โดยเฉพาะสารเคมีที่จัดการยากควรให้หน่วยงานราชการจัดจุดทิ้งที่เหมาะสม ต้องพัฒนาจิตสำนึก ต้องใช้เทศบัญญัติ กฎท้องถิ่นควบคุมควบคู่ไปกับการให้ความรู้แก่ประชาชน
3.3 ด้านสังคม
ปัญหา -  สภาพปัญหาสังคม เช่น เด็กอ้วน เด็กติดเกมส์ เด็กติดยา ติดพืชกระท่อม -  มีค่านิยมให้นักเรียนมาเรียนในตัวเมือง ทำให้รถติดและโรงเรียนรอบนอกไม่มีคนเรียน เสี่ยงต่อการถูกยุบ -  ปัญหาเรื่อง เบาหวาน ความดัน หัวใจ เป็นโรคยอดฮิตตามกระแสสังคม มาจากการกินของเค็ม ของมัน ของหวาน ซึ่งมีสาเหตุมาจาก การบริโภคสมัยใหม่ ขาดความรู้ทางโภชนาการ ทานอาหารเพิ่มสารปรุงแต่ง

ความต้องการ -บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง
-ให้ความรู้ ส่งเสริมอาหารคลีน ปรับปรุงพฤติกรรมการกิน ส่งเสริมการปลูกสมุนไพร กิน อาหารให้เป็นยา
4. อำเภอควนขนุน
4.1 ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหา - จังหวัดพัทลุงสามารถผลิตข้าวได้เพียงพอต่อการบริโภคในจังหวัด เป็นอันดับ 2 รองจากนครศรีธรรมราช แต่ขณะนี้มีพื้นที่ผลิตข้าวลดลง และคนเมืองพัทลุงไม่กินข้าวที่ปลูกในพัทลุง ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการซื้อข้าวมากถึง 1,800 ล้านบาทต่อปี
- .ในพื้นที่เป็นพื้นที่ผลิตข้าวสำคัญแต่ไม่สามารถตั้งโรงสีข้าวได้ หากต้องการสร้างโรงสีข้าว หากเกิน 5 แรงม้า ต้องดำเนินการในเขตผังเมืองสีม่วงคือที่อำเภอป่าบอน - การประมง มีทะเลสาบ มีลำคลอง แต่ปริมาณสัตว์น้ำสำหรับบริโภคไม่เพียงพอ อาหารทะเลที่กิน ในตลาดพัทลุงนำมาจากภาคกลาง ไข่ปลาทะเลน้อยเอามาจากปลาไน  ภาคกลาง ความต้องการ - คนเมืองพัทลุงควรจะกินข้าวที่ปลูกในเมืองพัทลุง เพื่อลดเงินรั่วไหลออกนอกจังหวัด ให้พึ่งตัวเองได้ และควรเป็นข้าวอินทรีย์ที่ปลอดภัย
- ต้องเพิ่มพื้นที่นาอินทรีย์ โดยมีมาตรการสร้างแรงจูงใจของรัฐให้คนที่ทำนาเคมีหันมาปลูกข้าวอินทรีย์มาก
- ทีมงานคนตัดยางทำเรื่องสวัสดิการคนตัดยางทำถือว่าดีแล้ว แต่หากทำได้ถึงขนาด คนพัทลุงเลิกพึ่งยางพารา ปาล์มน้ำมัน (พืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว) ด้วยการทำป่ายาง ป่าปาล์ม เพื่อให้เกิดการมีแหล่งอาหารเพิ่มขึ้น
- ผลักเป็นนโยบายของจังหวัดเรื่องปลาน้ำจืดให้พอกับคนพัทลุงกินพอ 4.2 ด้านสิ่งแวดล้อม
ปัญหา - ไม่มีการจัดการลุ่มน้ำ
- การพัฒนาทะเลน้อย ไม่จริงจัง ไม่ประสบความสำเร็จและประชาชนรอบ ๆ ทะเลน้อย ไม่ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลรักษาทะเลน้อย -  การจัดการน้ำถูกควบคุมโดยภาครัฐ ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก การควบคุมการปล่อยน้ำไม่สอดคล้องกับวิถีการทำการเกษตรในพื้นที่ - การขุดลอกแบบล้างผลาญ ท าลายแหล่งเก็บกับน้ำ เช่น การขุดลอกที่ทำลายพืชริมตลิ่ง โดยเฉพาะต้นจาก ต้นสาคู และการขุดลอกที่ทำลายแหล่งอนุบาลพันธุ์สัตว์น้ำไปเสียทั้งหมด
- การทำนาท้องตม ที่ยังไม่มีความแน่นอนว่าจะทำได้ดีเพียงใด นอกจากนี้ยังมีเรื่องปุ๋ย และ ยาปราบศัตรูพืชที่ใช้ในการทำนา ที่ทำให้คนที่ตั้งใจทำนาอินทรีย์ไม่สามารถขึ้นทะเบียนเป็นพันธุ์ข้าวปลอดภัยได้อย่างจริงจังด้วย ความต้องการ -ควรจะต้องมีการออกแบบแผนงาน เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาศักยภาพทะเลน้อยเป็นการพัฒนาพื้นที่พิเศษเฉพาะ 5. อำเภอเขาชัยสน อำเภอบางแก้ว และปากพะยูน 5.1 ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหา - ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ โดยเฉพาะยางพารา ข้าว ตกต่ำมาก
- ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น
- ไม่มีตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ชุมชน เปิดตลาดนัด - ขาดการหนุนเสริมด้านเศรษฐกิจของชุมชน รัฐมักมาส่งเสริมสิ่งที่ประชาชนไม่จำเป็นและ ไม่ต้องการ และถ้าปฏิเสธรัฐก็จะเสียโอกาส
- ขาดกลุ่มวัยแรงงานภาคผลิต
- ขาดการวางแผนอย่างเป็นระบบ ทำให้การกำหนดแผนทางการเกษตรมีปัญหา - รายได้จากผลิตผลทางเกษตรตกต่ำ กับการขาดอำนาจต่อรองกับผู้ค้า เพราะต่างคนต่างทำ วิสาหกิจชุมชนมีมากแต่ไม่รวมตัวเป็นกลุ่ม เพื่อต่อรองราคาซื้อวัตถุดิบ เช่น ตอนนี้มีผู้ประกอบการในชุมชนที่เลี้ยงปลาอยู่เป็นจำนวนมาก ประมาณได้ว่าต้องซื้ออาหารมาเลี้ยงปลาวันละกว่า 200,000 บาท หากสามารถรวมตัวกัน เป็นกลุ่มเดียว แล้วเสนอราคาซื้อในนามกลุ่มก็จะได้ราคาที่ถูกกว่านี้แน่นอน ความต้องการ - ควรส่งเสริมการนำผลผลิตทางเกษตรมาแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่า เพิ่มช่องทางขายสินค้าชุมชนทางออนไลน์ รวมกลุ่มเพื่อสร้างอำนาจในการต่อรอง เพื่อความหลากหลายในการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ใช้หลัก 4P มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สหกรณ์พัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
- ส่งเสริมการใช้ เชื้อเพลิงทดแทน ไบโอดีเซล
-  ทำห้างสรรพสินค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน
- ส่งเสริมให้ทำบัญชีครัวเรือนทั้งตำบล
-  ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ ไม้ไผ่
- การพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ต้องมีการส่งเสริมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ต้องรวมกลุ่มเป็นเกษตรแปลงใหญ่ แปรรูปผลผลิต ผลักดันให้เป็นวาระแห่งชาติ ส่งเสริมการแปร รูปโดยมีตลาดแลกเปลี่ยนซื้อขายผลผลิตทางเกษตร แล้วเอาของ OTOP  ไปส่งเสริมเรื่องการท่องเที่ยว โดยชุมชน โดยรัฐส่งเสริมและเปิดพื้นที่ด้วย
5.2 ด้านสังคม
ปัญหา - ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และการพนัน
- ปัญหาครอบครัวหย่าร้าง - ปัญหาผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ขาดคนดูแล ต้องฝึกฝนทักษะให้ผู้ดูแล และสนับสนุนให้เบี้ยยังชีพ ความต้องการ -  ควรติดกล้องวงจรปิดทุกหมู่บ้าน จัดให้มีการ ตั้งด่าน
-  ส่งเสริมอาชีพ/คุณธรรมให้คนที่ติดยาเสพติด
- อบรม พอช. ต้องสนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา
5.3 ด้านสิ่งแวดล้อม
ปัญหา - ไม่มีการจัดการขยะอย่างถูกต้อง - การเลี้ยงสัตว์บนถนน ก่อให้เกิดปัญหาการจราจร - การใช้เครื่องมือช็อตปลา - แหล่งน้ำ สัตว์น้ำลดน้อยลง ความต้องการ - ควรสนับสนุนการใช้ปุ๋ยของชุมชน
- ต้องใช้มาตรการทางกฎหมาย กติกาทางศีล
- ส่งเสริมให้มีศูนย์อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในหมู่บ้าน

  • photo สรุปผลการจัดเวทีทบทวนข้อมูลทุนและศักยภา.docxสรุปผลการจัดเวทีทบทวนข้อมูลทุนและศักยภา.docx
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 40

4. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ.ไชยา

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2565    เดินทางไปปฏิบัติงานที่ ที่ทำการศาลากลางอำเภอเมือง,
                                        เกษตรจังหวัด, เทศบาล วันที่ 8-9 พฤศจิกายน 2565    เดินทางไปปฏิบัติงานที่ ที่ทำการสำนักงานเกษตรอำเภอไชยา,
                                        ที่ทำการอำเภอไชยา วันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2565  เดินทางไปปฏิบัติงานที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไชยา วันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2565  เดินทางไปปฏิบัติงานที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไชยา วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2565  เดินทางไปปฏิบัติงานที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไชยา วันที่ 7-8 ธันวาคม 2565          เดินทางไปปฏิบัติงานที่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไชยา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทราบถึงข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทั้งด้านอาหาร ผลผลิต สินค้า และบริการ

  • photo รายงานข้อมูลโครงการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน.pdfรายงานข้อมูลโครงการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

106 106

5. โครงการการจัดการฟาร์มแพะของเกษตรกรรอบพื้นที่ทุ่งใสไช

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดให้มีการประชุมหารือระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการ 2.วางแผน กำหนดวัน เวลา และสถานที่จัดกิจกรรม 3.ดำเนินการตามรอบกิจกรรมที่กำหนด ดังนี้
- เปิดพืธีโครงการ และเตรียมอุปกรณ์ - การบรรยายและปฏิบัติในหัวข้อ "การจัดการฟาร์มแพะของเกษตรกรรอบพื้นที่ทุ่งใสไช" - ออกสำรวจพื้นที่ฟาร์มเกษตรกรในพื้นที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะมีองค์ความรู้ด้านการผลิตและการตลาดมากขึ้น
  2. เกิดความเชื่อมโยงเกื้อหนุนระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชนเพิ่มขึ้น
  • photo รายงานการอบรมโครงการการจัดการฟาร์มแพะของเกษตรกรรอบพืนที่ทุ่งใสไช.pdfรายงานการอบรมโครงการการจัดการฟาร์มแพะของเกษตรกรรอบพืนที่ทุ่งใสไช.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 36

6. ทบทวนข้อมูลทุนศักยภาพพื้นที่ตำบลบ้านควน

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานพื้นที่ทบทวนข้อมูลทุนและศักยภาพ(คน-องค์กร-กิจกรรม)  ที่คลอบคลุมมิติทางเศรษฐกิจ  สังคม และทรัพยากรฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานทำความเข้าใจและการบริหารจัดการ การขับเคลื่อนให้เกิดความยั่งยืนในพื้นที่ตำบลบ้านควน เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์/ผลลัพธ์โครงการ นำไปสู่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน
2.คณะทำงานร่วมกันทบทวนข้อมูลพื้นฐาน ทุนและศักยภาพของพื้นที่ ที่คลอบคลุมมิติด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  และปัจจัยอื่นๆ ที่ช่วยในการหนุนเสริม ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ เพื่อพัฒนาตามบริบทของพื้นที่ ต่อยอดบนฐานทรัพยากร เกิดการร่วมมือของชุมชนนำไปสู่การบริหารขับเคลื่อนร่วมกันให้เกิดความยั่งยืนในพื้นที่
3.ร่วมกันวิเคราะห์ SWOT ของพื้นที่ตำบลบ้านควน  ในประเด็น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค และแนวทาง/วิธีการแก้ไข 4.ร่วมกันประเมินศักยภาพเพื่อจัดทำการผลิต/แผนธุรกิจระดับครัวเรือน-องค์กรประกอบการที่มีอยู่ในพื้นที่
5.จัดทำแผนการผลิต/แผนธุรกิจระดับครัวเรือน-องค์กรประกอบการ (CBMC)  ตาราง 9 ข้อ  ของเครือข่ายกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ  เครือข่ายกลุ่มผู้เลี้ยงผึ้ง เพื่อพัฒนาและขยายผู้ประกอบการชุมชนที่มีอยู่ในพื้นที่ให้เพิ่มขึ้น

  • photo
  • photo
  • photo สรุปรายงานกิจกรรม  ทบทวนข้อมูลทุนและศักยภ.docxสรุปรายงานกิจกรรม ทบทวนข้อมูลทุนและศักยภ.docx

 

40 40

7. ประชุมเตรียมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่

วันที่ 28 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิด

 

12 0

8. เพื่อสร้างทางเลือกทางนโยบายและให้มีแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิด

 

57 57

9. ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน (5รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด

วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

10. ปรึกษาหารือจัดทำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมทบทวนข้อมูลทุน/จัดเวทีประชุมเพื่อวิเคราะห์ BCG ระดับพื่นที่เพื่อให้เห็นกระบวนการขับเคลื่อน/ทุนเดิม/คน/ทรัพยากร/ช่องทางการตลาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดประชุมกับกลุ่มองค์กรในระดับพื้นที่คณะทำงานร่วมกันทบทวนข้อมูลพื้นฐาน ทุนและศักยภาพของพื้นที่ ที่คลอบคลุมมิติด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  และปัจจัยอื่นๆ ที่ช่วยในการหนุนเสริม ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ เพื่อพัฒนาตามบริบทของพื้นที่ ต่อยอดบนฐานทรัพยากร เกิดการร่วมมือของชุมชนนำไปสู่การบริหารขับเคลื่อนร่วมกันให้เกิดความยั่งยืนในพื้นที่และจัดทำแผนการผลิต/แผนธุรกิจระดับครัวเรือน-องค์กรประกอบการ (CBMC)  ตาราง 9 ข้อ  ของเครือข่ายกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ  เครือข่ายกลุ่มผู้เลี้ยงผึ้ง เพื่อพัฒนาและขยายผู้ประกอบการชุมชนที่มีอยู่ในพื้นที่ให้เพิ่มขึ้น

  • photo ระดับการผลิต.docxระดับการผลิต.docx
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

40 42

11. ประชุมขับเคลื่อนงานเกษตรกรรมยั่งยืน(การพัฒนาคุณภาพสินค้าปลอดภัย)

วันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิด

 

51 51

12. ประชุมสัมมนาครบเครื่องเรื่องวิสาหกิจชุมชน อ.ไชยา

วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. อภิปรายรายละเอียดและวัตถุประสงค์ของกิจกรรม
  2. พูดคุยปัญหากิจกรรมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ต่างๆของ อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
  3. สรุปปัญหาในแต่ละประเด็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทราบถึงปัญหาในการทำกิจกรรมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
  2. แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
  • photo รายงานการประชุมสัมมนาครบเครื่องเรื่องวิสาหกิจชุมชน อำเภอไชยา.pdfรายงานการประชุมสัมมนาครบเครื่องเรื่องวิสาหกิจชุมชน อำเภอไชยา.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

38 30

13. ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน (5รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด

วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

14. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA" หลักสูตร สัตวบาล (สมทบ) ครั้งที่ 1

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 28 มกราคม 2566
1. พูดคุยถึงความต้องการด้านวิชาการและการปฏิบัติ 2. อภิปรายความรู้ด้านวิชาการเรื่อง การบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA
3. บรรยายเรื่องการบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA

วันที่ 29 มกราคม 2566
1. เยี่ยมชม ศูนย์นวัตกรรมการเกษตร ประมง และอาหารเพื่อสังคม 2. ศึกษาและลงมือปฏิบัติการบริหารจัดการฟาร์ม เช่น การแปรรูปวัตถุดิบที่มีในพื้นที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ จ.ตรัง จ.นครศรีฯ จ.สตูล ได้รับความรู้ด้านวิชาการเรื่องการบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA
  2. สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ จ.ตรัง จ.นครศรีฯ จ.สตูล ได้ลงมือปฎิบัติจริงในการบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA
  • photo รายงานการประชุมโครงการบริหารจัดการฟาร์เพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA.pdfรายงานการประชุมโครงการบริหารจัดการฟาร์เพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

16 28

15. ประชุมปรึกษาหารือการจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมข้อมูล ประสานกลุ่มแกนนำภาคีและสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำเข้าเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG  ระดับพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

2.วิเคราะห์ / ประเมินทุนศักยภาพและความเป็นไปได้ในการที่จะบรรลุเป้าหมายสุขภาวะเกษตรกรและกลุ่มเป้าหมายตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยสร้างทางเลือกเชิงนโยบาย / มีแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน ที่เชื่อมโยงกลุ่มองค์กร / กิจกรรมในระดับตำบลของพื้นที่  ปัจจุบันกลุ่มองค์กรที่มีการขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่ โดยได้รับการสนับสนุน/หนุนเสริมจากองค์กรท้องถิ่น พัฒนาชุมชน เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ฯลฯ ในเบื้องต้นแล้วนั้น ได้แก่
2.1กลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงผึ้ง มีสมาชิกจากหมู่ที่ 1 , 5, 17, 18 จำนวน 15 คน ได้เลี้ยงผึ้งโพรง โดยวิธีทำรังขึ้นมา แล้วนำไปวางตามรอยต่อระหว่างสวนกับป่าอนุรักษ์เขารุม ป่าช่องสะท้อน และเขาเกรียบ ผลผลิตที่ได้นำไปจำหน่าย แต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด จึงต้องทำการขยับขยายให้มีการเลี้ยงผึ้งมากขึ้น ที่สำคัญผึ้งเป็นตัวบ่งชี้แสดงให้เห็นถึงความมั่นคงทางอาหารที่มีความปลอดภัย ความอุดมสมบูรณ์ของผลผลิตพืช ผัก ผลไม้  โดยพื้นที่ต้องการพัฒนายกระดับการเลี้ยงผึ้งและผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งให้มีผลผลิตมากขึ้น มูลค่าเพิ่มขึ้น  โดยจะมีการวางรังผึ้ง 3 จุด บริเวณรอยต่อป่าอนุรักษ์เขารุม ป่าช่องสะท้อน และเขากำแพง วัดอิฐ  และจัดให้มีผู้ดูแลรับผิดชอบในการประสานสมาชิกกลุ่ม ได้แก่  นายมนูญ สุกิจกุลานันท์  นายภิญโญ ทองหัตถา  และมีพี่เลี้ยงกลุ่ม นายเล็ก นาพญา คอยให้คำปรึกษา 2,2 กลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงไส้เดือน  มีสมาชิกจากหมู่ที่ 1, 9, 18 จำนวน 15 คน  ได้เลี้ยงไส้เดือนในครัวเรือน นำเอามูลไส้เดือนที่ได้มาใส่พืช ผัก ที่ปลูกเอง  เน้นเลี้ยงเองใช้เอง และต้องการนำมูลไส้เดือนที่ได้นอกจากใช้เอง บอกต่อคนในชุมชน ให้หันมาใช้มูลไส้เดือนแทนการใส่ปุ๋ยเคมี ให้มีผลผลิตที่ปลอดภัย แล้วอยากขยายเพื่อสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง  ต้องการที่พัฒนาการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อนำไปสู่การสร้างรายได้ และขยายสมาชิกให้มีเพิ่มมากขึ้น และให้มีผู้ดูแลรับผิดชอบในการประสานสมาชิกกลุ่มได้แก่  นายไพศาล มีสมบัติ  และมีพี่เลี้ยงกลุ่ม นายฐากูร สันตวรนาถ คอยให้คำปรึกษา 2.3  กลุ่มเครือข่ายผลิตสารชีวภัณฑ์  มีสมาชิกกลุ่มจากหมู่ที่ 1, 5, 8, 9 จำนวน 20 คน  โดยนำความรู้ที่มีมาทำสารชีวภัณฑ์ไตโครเดอร์มา ไว้ใช้เอง และต้องการที่ขยายผู้ใช้สารชีวภัณฑ์ในการทำเกษตรให้มากขึ้น เพื่อให้เป็นการทำการเกษตรปลอดภัยทั้งต่อตัวผู้ผลิตและผู้บริโภค  และขยายทำชนิดสารชีวภัณฑ์บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม  ให้มีผู้ดูแลรับผิดชอบในการประสานสมาชิกลุ่มได้แก่ นายคนึง จันดา  นายไพบูลย์ นุ้ยพิน  และพี่เลี้ยงกลุ่ม นายอดิศักดิ์ ยมสุขขี คอยให้คำปรึกษา   จาการสำรวจวิเคราะห์ทำให้ได้กลุ่มที่จะพัฒนาได้จำนวน 3 กลุ่มดังกล่าวข้างต้น  เพื่อที่จะนำไปสู่แผนในขั้นตอนต่อไป คือการพัฒนากลุ่มเพื่อยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ให้มีคุณภาพ มีมูลค่าเพิ่มขึ้น  โดยขับเคลื่อนจากการผลิต (ต้นน้ำ)  การแปรรูป (กลางน้ำ)  และการตลาด (ปลายน้ำ) เพื่อมุ่งไปสู่ความยั่งยืนของพื้นที่ชุมชน 3.แผนกิจกรรมใน 3 กลุ่ม คือกลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงผึ้ง กลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงไส้เดือน และกลุ่มเครือข่ายสารชีวภัณฑ์
-กลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงผึ้ง มีความต้องการอบรมการเลี้ยงผึ้ง การพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น และรังผึ้งเพื่อขยายการผลิต จำนวน 50 รัง โดยคาดว่าจะมีกิจกรรมนี้ประมาณช่วงเดือนเมษายน – เดือนมิถุนายน 2566 -กลุ่มเครือข่ายผู้เลี้ยงไส้เดือน  มีความต้องการอบรมการเลี้ยงไส้เดือน การพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ นำไปสู่มูลค่าเพิ่มมากขึ้น โดยคาดว่าจะมีกิจกรรมนี้ประมาณช่วงเดือนเมษายน – เดือนมิถุนายน 2566 กลุ่มเครือข่ายสารชีวภัณฑ์ มีความต้องการอบรมการทำสารชีวภัณฑ์นำไปใช้ในการทำเกษตร และสามารถนำความรู้นี้ไปขยายต่อในพื้นที่ได้ เพื่อนำไปสู่ลดการใช้สารเคมีในพื้นที่ และต้องการที่จะสร้างรายได้จากสารชีวภัณฑ์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo รายงานกิจกรรม_2 บ้านควน.docxรายงานกิจกรรม_2 บ้านควน.docx

 

26 26

16. ประชุมปรึกษาหารือและพัฒนากลไกความร่วมมือระดับจังหวัดและภาคใต้

วันที่ 27 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

17. กิจกรรมและดูงานเยี่ยมชมกลุ่มวิสาหกิจพื้นที่ใกล้เคียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.30 - 09.45 น. ลงทะเบียนและออกเดินทาง       09.45 - 11.45 น. ทำความเข้าใจข้อปฏิบัติภายในฟาร์ม       11.45 - 13.00 น. ร่วมรับประทานอาหาร       13.00 - 16.30 น. ศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เข้าใจกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ
  2. สามารถนำความรู้ของเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้จริง
  3. สามารถถ่ายทอดความรู้แก่สมาชิกภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้
  • photo รายงานกิจกรรมและดูงานเยี่ยมชมกลุ่มวิสาหกิจพื้นที่ใกล้เคียง.pdfรายงานกิจกรรมและดูงานเยี่ยมชมกลุ่มวิสาหกิจพื้นที่ใกล้เคียง.pdf
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

9 9

18. ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่ โมเดล BCG ระดับพื้นที่การเชื่อมงานบูรณาการพื้นที่ตำบลบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

วันที่ 7 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานฝ่ายบริหารและแกนนำเกษตรตำบลบ้านควนและทบทวนแผน อบต.บ้านควนเพื่อขับเคลื่อนงานแบบบรูณาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ฝ่ายบริหารและแกนนำเข้าร่วม จำนวน 20 คน
ปัญหาพื้นที่ตำบลบ้านควนปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเชิงเกษตรหันมาปลูกทุเรียนจึงทำให้เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำใช้เนื่องจากต้องใช้น้ำในการเกษตรเพิ่มขึ้นจึงเกิดภาวะขาดแคลนซึ่งจะแก้ไขปัญหาในทันทีไม่ได้ แต่มีบางหมู่ที่ขาดแคลนมาก คือ หมู่  3, 4 ,16, 17  ซึ่งทาง อบต.กำลังหาทางแก้ปัญหาจึงต้องมีการประสานแผนในการขับเคลื่อนงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
    การพิจารณาเพิ่มเติมแผนองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
ขอก่อสร้างฝายน้ำล้นและสะพาน หมู่ที่ 11  จะนำเสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอก่อสร้างสะพาน    หมู่ที่ 8    ปรับปรุงซ่อมแซม   การจัดทำเวทีสัญจรของ อบต.เพื่อติดตามชุมชนและรวมถึงรับรู้รับฟังปัญหาของทุกหมู่บ้านโดยมีการเวียนไปทุกหมู่บ้านจากครั้งที่ผ่านมาทาง อบต.จะสนับสนุนงบให้หมู่บ้านละ 5,000 บาทแต่ด้วยค่าครองชีพขึ้นสูงจึงขอปรับเพิ่มเป็น 8,400 บาทและจะมีการนำแผนที่พูดคุยไปขอความคิดเห็นเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการใช้รูปแบบโมเดล BCG สู่การขับเคลื่อน     การจัดการน้ำจะมีการจัดการใน 4 รูปแบบ  แหล่งต้นน้ำ  น้ำอุปโภคบริโภค  น้ำเพื่อการเกษตร  น้ำเสีย ตามกรอบแผนพัฒนาของจังหวัดชุมพร  ปัญหาในปัจจุบันคือการปลูกพืชเชิงธุรกิจในทุกพื้นที่     แผนบ้านควน  ด้านที่ 6 เศรษฐกิจ คือการขับเคลื่อนด้านการสร้างรายได้จากผลผลิตและทำให้เกิดรายได้สู่ชุมชน  เศรษฐกิจ รายได้  จำนวนข้อมูล  แหล่งน้ำที่มีกี่ที่ ปาล์ม  16,822  การขับเคลื่อนงานด้านเศรษฐกิจจึงต้องสอดคล้องกับบริบทพื้นที่
หลักสูตรการขับเคลื่อนแผนตำบลบ้านควน ควรจะมีการขยับให้เป็นระบบ และการสร้างการมีส่วนร่วมกันของทุกฝ่ายโดยการจัดเวทีในวันที่ 17 มิ.ย 66  จะออกแบบโดยการนำข้อมูลพื้นที่และแบ่งกลุ่มโดยใช้เครื่องมือโรดแมปเป็นตัวขับเคลื่อนในการสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 20

19. ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวนเกษตร เกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืน ในพื้นที่ภาคใต้

วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

20. ประชุมหารือการสร้างความร่วมมือการทำแผน/โครงการ ขับเคลื่อนนโยบายสวนยางยั่งยืนสู่ความมั่นคงทางอาหาร

วันที่ 6 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมหารือการสร้างความร่วมมือการทำแผน/โครงการ ขับเคลื่อนนโยบายสวนยางยั่งยืนสู่ความมั่นคงทางอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

  • photo สรุปรายงานการประชุม.docสรุปรายงานการประชุม.doc
  • photo การประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนรูปแบบ.pptxการประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนรูปแบบ.pptx
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

0 0

21. เวทีขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน บ้านควน อยู่ดี มีสุข

วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานหน่วยงาน/แกนนำและประชุมออกแบบกระบวนการตามความสนใจของคนในชุมชนผ่านฐานเรียนรรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 151 คน เกิดการขับเคลื่อนดดยการกำหนดยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการจัดการสุขภาพและคุณภาพชีวิต เป้าหมาย : 1.พัฒนาการเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชน         2.พัฒนาส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้รับผิดชอบ : 1. นางสมจิตร /พี่ติ๋ม (อสม. ม. 8)  2. นางสุจินต์ (อสม. ม.4)  3. หมอชุ นวก.สาธารณสุข  4. น้องป๊อบ (เลขา) ผช.นวก.สาธารณสุข กิจกรรม :  1.ฟื้นฟูชมรมผู้สูงอายุให้มีคุณภาพ  2.ฟื้นฟูกองทุนสวัสดิการชุมชน    3.ตลาดนัดผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาการศึกษา ภูมิปัญญา วิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น เป้าหมาย : 1.พัฒนาการส่งเสริมการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย         2.พัฒนาการส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ประเพณี และอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น         3.พัฒนาการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเชิงวัฒนธรรม         4.พัฒนาการส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ ผู้รับผิดชอบ : 1.นายประจักษ์ ม.3  2.นายวินัย ม.11  3.นางฉะอ้อน ม.3  4.น.ส.อรกัญญา ม.1  5.น้องแอร์ (เลขา) ผู้ช่วยนักพัฒนาสังคมฯ กิจกรรม :  1.การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี         2.การฟื้นฟูประเพณี เรือยาว
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย :  1.พัฒนาการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ ป่าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติ         2.พัฒนาการบริหารจัดการด้านขยะมูลฝอย สิงปฏิกูล และมลภาวะ ผู้รับผิดชอบ :  1.อบต.ช้าง ม.17  2.นายนิพนธ์ ม.16  3.น้องโบว์ (เลขา) นักวิเคราะห์ฯ  4.น้องแอน  ผช.นักวิเคราะห์ฯ กิจกรรม : 1.ธนาคารต้นไม้และแปลงเพาะ (สวัสดิการชุมชนเดินต่อ)       2.พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร (บ่อบาดาล)       3.ตั้งคณะทำงานผู้ตรวจประเมินมูลค่าต้นไม้       4.ท่องเที่ยวเชิงเกษตรครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 6  การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เป้าหมาย :  1.พัฒนาการปรับปรุงการผลิตสินค้าเกษตร และเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร         2.พัฒนาการส่งเสริมการประกอบอาชีพ และการเพิ่มรายได้         3.พัฒนาการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ ผู้รับผิดชอบ : 1.นายภิญโญ ม.1  2.นายนพพล ม.9  3.นายพิสิทธิ์ ม.6    4.น้องฝน (เลขา) ผช.นักทรัพยากรบุคคล กิจกรรม : 1.นักจัดการตลาดชุมชน 2.พัฒนาปัจจัยการผลิต  ปุ๋ย  น้ำผึ้ง       3.ขายคาร์บอนเครดิต

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo ข้อมูลตำบลบ้านควน.docxข้อมูลตำบลบ้านควน.docx
  • photo กำหนดการ บ้านควน.docxกำหนดการ บ้านควน.docx

 

150 151

22. ประชุมเชิงปฎิบัติการวิเคราะห์ทุน ศักยภาพ สุขภาวะเกษตรตลิดห่วงโซ่อุปทานที่หานโพธิ์

วันที่ 29 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่เพื่อสร้างทางเลือกทางนโยบายและให้มีแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และวิเคราะห์ทุนของแต่ละกลุ่มองค์กรที่สามารถขับเคลื่อนตามบริบทพื้นที่ คือ ทะเลสาบสงขลาตอนกลางเป็นพื้นที่หนึ่งของทะเลสาบสงขลา อยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดพัทลุง มีพื้นที่โดยรวม 1,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดพัทลุง 4 อำเภอได้แก่ อำเภอปากพะยุน อำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสนและอำเภอเมืองพัทลุง โดยมีประชากรที่ใช้ฐานทรัพยากรในทะเลสาบสงขลาเป็นอาชีพและรายได้หลักจากการทำประมงในพื้นที่ดังกล่าวจำนวน 2,800- 3,000 ครัวเรือน มีเรือที่ใช้ในการทำประมง จำนวน 2,310 ลำ ชาวประมงจับสัตว์น้ำมีรายได้เฉลี่ยวันละ 300- 500 บาท (ฐานข้อมูลชาวประมงที่พื้นที่ทะเลสาบสงขลา, สมาคมรักษ์ทะเลไทย สิงหาคม 2562) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า จากจำนวนประชากรที่ใช้ทะเลสาบเป็นแหล่งรายได้หลักในการประกอบอาชีพ ส่งผลให้มีการใช้ทรัพยากรที่ขาดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ มีการใช้เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมาย เช่นไซหนอน โพงพาง อวนล้อม การวางยาเบื่อ ตลอดถึงการใช้อวนตาถี่จับสัตว์น้ำต่ำกว่า 2.5 เซนติเมตร ฯลฯ อีกทั้งสาเหตุที่มาจากระบบนิเวศที่ทีมีความเปลี่ยนแปลง เกิดมลพิษน้ำเสีย นอกจากนั้นมาตรการในการบังคับใช้กฎหมายที่ขาดความเข้มข้นไม่จริงจังรวมถึงการบูรณาการจากภาคีความร่วมมือจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องไม่เป็นระบบขาดความต่อเนื่องในเชิงยุทธศาตร์ของหน่วยงานที่รับผิดชอบและระดับนโยบายของจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำในทะเลสาบสงขลาลดจำนวนลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามในช่วงปี 2558 – 2564 ได้มีการรวมตัวของชุมชนประมงได้ร่วมคิดหารูปแบบสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเกี่ยวข้องในการฟื้นความอุดมสมบูรณ์ของทะเลสาบในพื้นที่เขตอำเภอปากพะยูน เช่น ชุมชนบ้านช่องฟืน ชุมชนบ้านบางขวน ชุมชนบ้านแหลมไก่ผู้ ฯลฯ ในอำเภอบางแก้วในรูปแบบการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนที่ร่วมออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับพื้นที่ ทั้งการทำเขตอนุรักษ์ การสร้างบ้านปลา การร่วมกำหนดระเบียบกติกาข้อตกลง การมีอาสาสมัครในการออกตรวจตราดูแลเขต การจัดทำข้อมูลองค์ความรู้ตลอดถึงการรวมกลุ่มจัดการผลผลิตสัตว์น้ำแปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสร้างรายได้กับสมาชิกในชุมชน ภายใต้มาตรฐานอาหารทะเลปลอดภัย ‘บลูแบลนด์” ซึ่งเป็นชุมนประมงต้นแบบที่มีการขับเคลื่อนกิจกรรมในการฟื้นฟูทะเลให้มีความอุดมสมบูรณ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นทั้งชนิดและปริมาณ รวมถึงรายได้จากการทำประมง เฉลี่ยวันละ 800 -1,500 บาท จนเป็นพื้นที่รูปธรรมและเป็นต้นแบบที่ชุมชนประมงในพื้นที่เครือข่ายยอมรับและมีความต้องการนำมาปรับใช้ในการขับเคลื่อนของชุมชนตัวเองเพื่อฟื้นความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำตลอดถึงการเกิดหลักประกันความมั่นคงทางด้านอาหารทะเลที่ปลอดภัย อาชีพประมงที่ยั่งยืนและชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนบ้านสะทัง หมู่ที่ 12 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เป็นชุมชนที่อู่ติดชายฝั่งในพื้นที่ทะเลสาบตอนกลาง มีพื้นที่ 3,672 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อของหมูบ้านดังนี้ -ทิศเหนือติดต่อกับคลองสะทังหมู่ที่ 7 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง -ทิศใต้ติดต่อกับคลองปากเพนียดหมู่ที่ 2 บ้านโคกขาม ตำบลเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง -ทิศตะวันตกติดต่อกับหมู่ที่ 4 บ้านพลู ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง -ทิศตะวันออกติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ชุมชนบ้านสะทัง มีครัวเรือน 203 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 561 คน อาชีพหลักคือ การทำสวนมีผู้ทำประมง 44 ครัวเรือน มีเรือที่ใช้ทำการประมง 66 ลำ มีรายได้เฉลี่ยจากการทำประมงแต่ละวัน 300 – 500 บาท สัตว์น้ำที่จับได้โดยส่วนใหญ่ ปลาชะโด ปลาหัวโหม้ง ปลาตะเพียน ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาบุตรี กุ้งนาฯลฯ ซึ่งเป็นการทำประมงตามฤดูลกาลเท่านั้น ในขณะเดียวกันชุมชนยังมีปัญหาการทำประมงที่ใช้เครี่องมือผิดกฎหมายในการจับสัตว์น้ำ เช่น อวนตาถี่ต่ำกว่า 2.5 เซนติเมตร การใช้ใซหนอน การวางยาเบื่อ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ชนิดสัตว์น้ำลดลง
เนื่องจากปัจจุบันชาวประมงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคโควิด 2019 ทำให้ชาวบ้านไม่มีงานทำ จึงหันมาทำประมงเพิ่มขึ้น มีเรือและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกันสัตว์น้ำมีปริมาณลดลง สังเกตได้จากปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้ในปัจจุบัน มีขนาดเล็กลง และขายได้ราคาต่ำ จากปัญหาดังกล่าว ทางชุมชนได้ร่วมคิดหาทางออกแก้ปัญหาโดยใช้เวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านเพื่อหารือในการฟื้นฟูชายฝั่งเลหน้าบ้านโดยร่วมกันกำหนดเขตอนุรักษ์ขึ้นในอ่าวสะทัง เนื้อที่ 5 ไร่ เนื่องจากมีระบบนิเวศอุดมสมบูรณ์ มีพืชพรรณต่างๆ เช่นต้นลำพู ต้นราโพ สายบัว สาหร่ายหางกระรอก ซึ่งเป็นพืชที่ช่วยกำบังลม เหมาะแก่เพาะฟักเจริญเติบโตของสัตว์น้ำวัยอ่อน และชุมชนได้มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำร่วมกับท้องถิ่นและสำงานประมงจังหวัดมาบ้างแล้ว แต่ยังไม่ได้มีการตกลงกำหนดเป็นพื้นที่ในการทำธนาคารสัตว์น้ำของชุมน จากการประชุมได้มีมติราวมกันที่จะกำหนดพื้นที่อ่าวสะทังเป็นพื้นที่เขตอนรักษ์สัตว์น้ำชุมชน มีการจัดตั้งคณะทำงานและมีทีมรับผิดชอบที่ชัดเจนเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนหาทางออกในการฟื้นฟูทะเลสาบให้สมบูรณ์และยั่งยืนตลอดไป โดยการจัดทำกิจกรรมการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ ใช้กระบวนการต่าง (รายละเอียดในแผนกิจกรรม) แต่ละกิจกรรมต้องร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ท้องถิ่น ท้องที่ตลอดถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันฟื้นฟูทะเลสาบให้เกิดความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาชีพ แหล่งรายได้ และแหล่งอาหารทะเลที่มีคุณภาพและปลอดภัยภายใต้ความร่วมมือก่อให้เกิดพลังเครือข่ายที่เข้มแข็ง คาดว่าผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการจะทำให้ทะเลหน้าบ้านเกิดความอุดมสมบูรณ์มีพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับ เป้าหมาย ทิศทาง ยุทศาตร์การดำเนินงาน 10 ปีของ สสส. ที่ให้เกิดการกระจายโอกาสการทำงานร่วมของชุมชนและภาคีต่างๆ อันจะนำไปสู่ความเข้มแข็งและเกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะและเป็นประเด็นคานงัดนำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาตร์ของจังหวัดพัทลุง ว่าด้วย “พัทลุงสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” (Phatthalung Green City) ซึ่งเป็นเป้าหมายภาพรวมของจังหวัด   2)รายชื่อคณะทำงานพื้นที่และพี่เลี้ยง นาย พิสิทธ์ รักเล่ง    ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 5 บ้านทุ่งแซะ ตำบลจองถนน  คณะทำงาน นาย สุธรรม หมื่นพล    ผู้ใหญ่ หมู่ 12 บ้านสะทัง ตำบลหานโพธิ์ คณะทำงาน นาย ดิเรก หัสนันท์    ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 6 บ้านแหลมดิน ตำบลหานโพธิ์ คณะทำงาน นาย สมนึก ชุมประยูร  ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 8 บ้านคลองขุด ตำบลหานโพธิ์ คณะทำงาน นายไพฑูรย์ ทองสม ผู้จัดการ node flagship    พี่เลี้ยง นายเสณี  จ่าวิสูตร นายกสมาคมสร้างสุขชุมชนคนเมืองลุง พี่เลี้ยง นางสาวเบญจวรรณ  เพ็งหนู  สมาคมรักษ์ทะเลไทย    พี่เลี้ยง นายอรุณ  ศรีสุวรรณ สมาคมสร้างสุขชุมชนคนเมืองลุง    พี่เลี้ยง

  • photo
  • photo
  • photo

 

66 66

23. สังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ "การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน"

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

24. โครงการอบรมเสริมสร้างเศรษฐกิจภายในครอบครัว (การเพาะเห็ด)

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร (2) พื้นที่ทุ่งใสไซ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี (3) ตำบลหารโพธ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง (4) ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส (5) ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน (5รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด (6) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวนเกษตร เกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืน ในพื้นที่ภาคใต้ (7) ประชุมหารือการสร้างความร่วมมือการทำแผน/โครงการ ขับเคลื่อนนโยบายสวนยางยั่งยืนสู่ความมั่นคงทางอาหาร (8) สังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ "การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ เพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน" (9) จัดทำแผนเกษตรกรรมยั่งยืนตำบลบ้านควน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร (10) ประชุมคณะทำงาน (11) ทบทวนการจัดทำยุทธศาสตร์ภายใต้แผนปฎิบัติการ พื้นที่นำร่องเกษตรกรรมยั่งยืนพื้นที่จังหวัดพัทลุง (12) ศึกษาและรวบรวมข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจชุมชน (13) โครงการการจัดการฟาร์มแพะของเกษตรกรรอบพื้นที่ทุ่งใสไช (14) ทบทวนข้อมูลทุนศักยภาพพื้นที่ตำำบลบ้านควน (15) ประชุมเตรียมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่ (16) เพื่อสร้างทางเลือกทางนโยบายและให้มีแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่โมเดล BCG  ระดับพื้นที่ (17) ประชุมปรึกษาหารือจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืน (5รูปแบบ) : สวนยางยั่งยืนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด (18) ปรึกษาหารือจัดทำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนที่ผลลัพธ์ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนสู่โมเดล BCG ระดับพื้นที่ (19) ประชุมขับเคลื่อนงานเกษตรกรรมยั่งยืน(การพัฒนาคุณภาพสินค้าปลอดภัย) (20) ประชุมสัมมนาครบเครื่องเรื่องวิสาหกิจชุมชน อ.ไชยา (21) โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การบริหารจัดการฟาร์มเพื่อรองรับการเข้าสู่ FTA" หลักสูตร สัตวบาล (สมทบ) ครั้งที่ 1 (22) ประชุมปรึกษาหารือการจัดทำแผนความร่วมมือขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน (23) ประชุมปรึกษาหารือและพัฒนากลไกความร่วมมือระดับจังหวัดและภาคใต้ (24) กิจกรรมและดูงานเยี่ยมชมกลุ่มวิสาหกิจพื้นที่ใกล้เคียง  อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี (25) ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน สู่ โมเดล BCG ระดับพื้นที่การเชื่อมงานบูรณาการพื้นที่ตำบลบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร (26) เวทีขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน บ้านควน อยู่ดี มีสุข (27) ประชุมเชิงปฎิบัติการวิเคราะห์ทุน ศักยภาพ สุขภาวะเกษตรตลิดห่วงโซ่อุปทานที่หานโพธิ์ (28) โครงการอบรมเสริมสร้างเศรษฐกิจภายในครอบครัว (การเพาะเห็ด)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ เกษตรกรรมยั่งยืน

รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

เกษตรกรรมยั่งยืน จังหวัด

รหัสโครงการ 65-00336

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทวีวัตร เครือสาย, นางพัลลา ระสุโส๊ะ, รศ.ดร.โอภาส พิมพา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด