สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมการออกแบบการจัดสมัชชาชุมชนสีเขียว 8 มิ.ย. 2565 8 มิ.ย. 2565

 

13.00 – 13.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุมทางออนไลน์ 13.30 – 14.00 น. เป้าหมายการขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวสู่การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสร้างสร้างเสริมสุขภาพ (ภายใต้โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ศวนส.) โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. 14.00 – 15.30 น. การจัดทำสมัชชาสุขภาพชุมชนสีเขียว โดย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และทีมเครือข่ายภาคใต้ การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการขับเคลื่อนชุมชนสีเขียว  โดย นายกำราบ พานทอง 15.30 น. สรุปการประชุมและนัดหมายครั้งถัดไป

 

สรุปกระบวนการในการจัดทำ “สมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร” และการดำเนินการในต่อไป 1) การแต่งตั้งคณะทำงานพหุภาคีสมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียว เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร มีองค์ประกอบ ได้แก่ ชุมชน ส่วนราชการ ภาคท้องถิ่น วิชาการ และสื่อ รับผิดชอบโดย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 2) การจัดคณะอนุกรรมการวิชาการองค์ประกอบ
3) ทำนิยามและคุณลักษณะของชุมชนสีเขียว ให้มีเกณฑ์ที่สามารถวัดได้ 4) Mapping และเลือกพื้นที่ตามนิยามและคุณลักษณะ : สวนยาง เกษตรอัตลักษณ์ ประมง ลุ่มน้ำสีเขียว ท่องเที่ยว 5) พัฒนายกระดับพื้นที่และถอดบทเรียนพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย และนำเข้าสู่เวทสมัชชาสุขภาพเชิงประเด็น

ไม่มี

ประชุมทีมวิชาการจัดทำนิยามชุมชนสีเขียว 1 ก.ค. 2565 1 ก.ค. 2565

 

ประชุมร่วมกันกำหนดนิยามคำว่าชุมชนสีเขียว เพื่อเป็นกรอบในการสร้างตัวชี้วัดและการคัดเลือกพื้นที่

 

ได้กำหนดนิยามในเบื้องต้น ดังนี้
- "ชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน" หมายถึง ชุมชนที่มีกระบวนการขับเคลื่อนสิ่งแวดล้อมกับชุมชนเพื่อความมั่นคงในการดำรงชีพอย่างมีความสุข ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - ชุมชนสีเขียว มีองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ กระจาย เติบโต เกื้อกูล/แบ่งปัน ยั่งยืน - ชุมชนสีเขียว คือ ชุมชนที่มีกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ที่ยึดหลัก กระจาย เติบโต เกื้อกูล ยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - ชุมชนสีเขียว คือ ชุมชนที่ใช้แนวปฏิบัติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมบนฐานของการมีส่วนร่วม การแบ่งปัน และการพัฒนาอย่างเกื้อกูล เพื่อเป้าหมายด้านสุขภาวะที่ดีของสมาชิกในชุมชนและสังคม รวมทั้งจิตวิญญาณ

ไม่มี

การประชุมคณะทำงานสมัชชาชุมชนสีเขียว 8 ก.ค. 2565 8 ก.ค. 2565

 

 

 

1. 2.

 

ประชุมหารือการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม ด้านความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นชุมชนสีเขียว 25 ก.ค. 2565 25 ก.ค. 2565

 

17.00 – 17.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม
โดย นายจารึก ไชยรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่ ที่มาของการจัดทำนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมด้านความความมั่นคงทางอาหาร ประเด็น ชุมชนสีเขียว โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 17.30 – 17.45 น. การดำเนินงานด้านความมั่นคงทางอาหารบนฐานคิดชุมชนสีเขียว เกษตรทฤษฎีใหม่และ เศรษฐกิจพอเพียง
โดย ดร.วิวัฒน์ ศัลยกำธร ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ 17.45 – 18.45 น. การหารือแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านความมั่นคงทางอาหาร ประเด็น ชุมชนสีเขียว โดย เครือข่ายผู้เข้าร่วมประชุม 4 ภาค • กลไกคณะทำงานในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ • การจัดทำสมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียว • รูปแบบการปฏิบัติการในพื้นที่ ดำเนินกระบวนการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ 18.30 – 19.00 น. สรุปแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านความมั่นคงทางอาหาร
ประเด็นชุมชนสีเขียว โดย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ       สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์       เครือข่ายผู้เข้าร่วมประชุม 4 ภาค

 

สรุปแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ การจัดทำสมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียว การขับเคลื่อนเรื่องชุมชนสีเขียวในระดับนโยบายใช้กลไกสมัชชาสุขภาพผลักดันผ่านนโยบายแห่งชาติเข้าสู่คณะรัฐมนตรี (ครม.) และเข้าสู่การขับเคลื่อนเชิงนโยบายในระดับต่อไป โดยมีแนวทาง 1) ทาง สช.ตั้งคณะกรรมการสมัชชาขึ้นมา 1 ชุด มี นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร (อ.ยักษ์) เป็นประธาน และมีฝ่าย สช.เป็นเลขานุการ กรรมการมีตัวแทนที่มาจากทุกภาค (สสส. สปสช.กระทรวงหน่วยงานภาครัฐ) และตั้งอนุกรรมการ 3 อนุ ซึ่งเป็นเรื่องหนึ่งที่จะทำนโยบายสาธารณะขับเคลื่อนทั้งประเทศ

จัดตั้งคณะกรรมการเชิงประเด็นชุมชนสีเขียว (คณกรรมการกลาง)

• ดร.วิวัฒน์ ศัลยกำธร ประธาน • ผู้แทน 6 ภาค ภาคละ 2 คน กรรมการ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรรมการ • คณะอนุวิชาการ กรรมการ • อนุจัดสมัชชาสุขภาพ กรรมการ • คณะอนุสื่อสาร กรรมการ • เลขาคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กรรมการ คณะอนุกรรมการมีผู้แทนภาคละ 3 คน • คณะอนุวิชาการ • คณะอนุจัดสมัชชาสุขภาพ • คณะอนุสื่อสาร 2) มีคณะทำงานด้านวิชาการเข้ามาช่วยปรับขอบเขตงานให้ชัดขึ้น 3) สรุปมุมมองชุมชนสีเขียวของทุกคนที่ให้ข้อมูลมาในเบื้องต้น และจัดทำภาพฝัน หรือภาพอนาคต เรื่องชุมชนสีเขียวที่ทำอยู่ในตอนนี้จะมีภาพฝันที่ต่างกัน แต่สิ่งหนึ่งที่ขับเคลื่อนร่วมกัน คือ สีเขียว และคำตอบอยู่ที่หมู่บ้าน เริ่มต้นจากหมู่บ้านเล็กๆก่อนขยายไปยังตำบล 4) อยากให้เห็นภาพการปฏิบัติโดยใช้ประสบการณ์ เช่น บ้านมาบเอื้อง หมู่บ้านที่เป็นเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชา ซึ่งจะได้ตัวแบบชุมชนสีเขียวที่มาบเอื้อง สิ่งที่จะขับเคลื่อนต่อไปเป็นข้อมูล เรื่องมิติต่าง ๆ และเก็บข้อมูลให้ครบชุดรวมไปถึงโคกหนองนาโมเดล เรื่องการลดเลิกสารเคมี อันนี้เป็นข้อมูลที่นำไปสู่เกษตรยั่งยืนให้ดู โคกหนองนาโมเดล เกษตรทฤษฎี และวนเกษตรธรรมชาติ และอยู่ภายใต้ BCG โมเดลให้บรรลุเป้าหมาย SDG
5) กระบวนการเรียนรู้ทำ 3 เรื่อง คือ 1) การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีภายใต้ฐานทรัพยากร ซึ่งได้ทำกระบวนการเรียนรู้ในระดับครอบครัวที่ผ่านมามีรูปธรรมเกิดขึ้นมากมาย โดยมีเป้าหมายหลัก คือ ความยั่งยืนในเรื่องความมั่นคงทางอาหารที่พยายามขับเคลื่อนการพัฒนาที่มีกระบวนการมากขึ้น ตอนนี้มีเครือข่าย 4 ภาค และมีเครือข่ายสมาพันธ์เกษตรเศรษฐกิจพอเพียงแห่งประเทศไทย และพยายามขับเคลื่อนไปเชื่อมโยงกับชุมชนสีเขียว 2) มองเครือข่ายให้เข้มแข็ง และ 3) มองเรื่องชุมชนสีเขียว และมีประเด็นที่ทำร่วมกันใน 3 เรื่อง คือ การใช้ดิจิตอลเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรผ่านสื่อในการพัฒนา การสร้างรูปธรรมของรูปแบบเกษตรต่าง ๆ และการประกอบการในวิถีเกษตรและกิจการที่เกี่ยวเนื่อง 6) ถ้ามองภาพเดียวกันได้คำตอบอยู่ที่หมู่บ้าน คือ การไม่ใช่สารเคมีอันนี้ตัวประเมินชุมชนสีเขียวของเกษตรยั่งยืน และเป็นชุมชนสีเขียว และโจทย์การผลิตมีที่ขายต้องมีตลาด มีการพึ่งพาและตัวชี้วัดสำคัญต้องลดสารเคมีลงไป

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานชุมชนสีเขียวในภาคใต้ คัดเลือกพื้นเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่นำร่องต้นแบบชุมชนสีเขียว 2 ก.ย. 2565 2 ก.ย. 2565

 

มีวาระการประชุม ดังนี้ • นำเสนอร่างนิยาม และลักษณะชุมชนสีเขียว • พื้นที่นำเสนอการทำงานที่สอดคล้องกับการเป็นชุมชนสีเขียว • สรุปการคัดเลือกพื้นที่ เพื่อพัฒนาให้เป็นพื้นที่นำร่องชุมชนสีเขียว 5 พื้นที่ ดังนี้ o ชุมชนสวนยางยั่งยืน o ชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืน o ชุมชนสวนยางยั่งยืน o ชุมชนประมง o ชุมชนลุ่มน้ำสีเขียว /ชุมชนท่องเที่ยว

 

  • ได้ร่างนิยาม และเกณฑ์คุณลักษณะตัวชี้วัดชุมชนสีเขียว ดังนี้
  • ชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน นิยามคือ “ชุมชนที่มีวิถีวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เป็นแหล่งสร้างความมั่นคงทางอาหาร ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีผลิตอาหารที่เพียงพอ ปลอดภัย พึ่งพาตนเองได้ การสืบทอดชนรุ่นหลัง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างสมดุลด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม”
  • ได้กำหนดคุณสมบัติประเภทของชุมชนชุมชนสีเขียวใน 5 ประเภท คือ ชุมชนสวนยางยั่งยืน ชุมชนเกษตรอัตลักษณ์ ชุมชนประมงยั่งยืน ชุมชนท่องเที่ยว และชุมชนลุ่มน้ำสีเขียว (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)

ไม่มี

ประชุมหารือติดตามการดำเนินงานชุมชนสีเขียว 8 พ.ย. 2565 8 พ.ย. 2565

 

*

 

*

 

ประชุมเพื่อการวางแผนงานสื่อสาร 28 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ผลิตงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อน Onair , Online , Onground 28 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมเตรียมคัดเลือพื้นที่ชุมชนสีเขียว 13 ธ.ค. 2565 13 ธ.ค. 2565

 

*

 

*

 

การประชุมทำแผนปฏิบัติการพัฒนาพื้นที่นำร่องให้เป็นModel ชุมชนาสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร 1 ก.พ. 2566 1 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมสมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียว 2 ก.พ. 2566 2 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้พืชอาหารสมุนไพร 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเพื่อออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนชุมชนประมงยั่งยืนบ้านปากน้ำท่าม่วง 5 เม.ย. 2566 5 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

กิจกรรมพื้นที่แลกเปลี่ยนและเก็บตัวอย่างพืชอาหารสมุนไพร 9 เม.ย. 2566 9 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

การประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาพื้นที่นำร่องเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่ต้นแบบชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กรณีสวนยางยั่งยืน 22 เม.ย. 2566 22 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน 25 เม.ย. 2566 25 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเกี่ยวข้องในการดำเนินงานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์สู่ความมั่นคงทางอาหาร 27 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลมานิ-ฮามิ 7 พ.ค. 2566 7 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมจัดทำชุดองค์ความรู้พื้ชพันธุ์ต่างๆในแปลงโดยสแกน QR Code และป้ายชุดข้อมูล 15 พ.ค. 2566 15 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมอบรมเชิงปฎิบัติการแปรรูปสัตว์น้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 15 พ.ค. 2566 15 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมจัดทำข้อมูลวิชาการและนิยามชุมชนสีเขียว 15 พ.ค. 2566 15 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร : เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พื้นที่สีเขียว) 16 พ.ค. 2566 16 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

การศึกษาจัดการชุมชนสิ่งแวดล้อม 17 พ.ค. 2566 17 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

กิจกรรมติดตามประเมินผลการขยายพันธุ์พืชอาหารสมุนไพร 27 พ.ค. 2566 27 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

กิจกรรมสรุปบทเรียนการขับเคลื่อนประมงยั่งยืน 30 พ.ค. 2566 30 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

สรุปบทเรียนการขับเคลื่อนประมงยั่งยืน ครั้งที่2 10 มิ.ย. 2566 10 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ถอดบทเรียนชุมชนสีเขียว 10 ก.ค. 2566 10 ก.ค. 2566

 

**

 

*

 

จัดกิจกรรมชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นชุมชนลุ่มน้ำเขียว 30 ก.ค. 2566 30 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

สรุปข้อมูล 31 ก.ค. 2566 31 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมนำเสนอแผนให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 ส.ค. 2566 4 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อนำเสนอและเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 "ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ" การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน : โอกาส และความท้าทาย 8 ส.ค. 2566 8 ส.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมการศึกษาการจัดการชุมชนและดูแลสิ่งแวดล้อม 16 ก.ย. 2566 16 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

เวทีปฏิบัติงานสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงต้นแบบพื้นที่สีเขียว กับศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่ครบวงจร 20 ต.ค. 2565 20 ต.ค. 2565

 

เป็นงานต่อเนื่องจากกาเวทีขยายเครือข่ายสื่อ ซึ่งในเวทีรายงานผลการดำเนินการปฎิบัติ ซึ่งทางหน่วยฝึกอบรมได้เสนอว่า ควรจะมีการผลิตสื่อต้นแบบ ที่เป็นภาพเคลื่อนไหว ในรูปแบบคลิป สั้น หรือวิธีการที่จะถ่ายทอดให้กลุ่มเครือข่ายได้รู้ว่าการดำเนินงานปฏิบัติด้านชุมชนสีเขียวกับความมั่นคงทางอาหาร ใครทำที่ไหนบ้าง ทำอย่างไร แล้วจะศึกษาเรียนรู้ร่วมกันอย่างไร หรือ จะมีพื้นที่ต้นแบบที่ไหนบ้าง   คณะทำงานจึงได้ประสานงานกับ กองทักภาค 4 ค่ายวชิราวุธ ร.15 ที่มีศูนย์ทฤษฎีใหม่ครบงวจร ที่ดำเนินงานด้านเกษตรปลอดภัย ต้นแบบการทำเกษตรสีเขียวที่รวมถึงเกษตรในทุกมิติ โดยให้ทหารประจำการเป็นผู้ปฏิบัติงาน จะได้ผลหลังจากที่ปลดประจำการสามารถไปดำเนินงานต่อที่ชุมชน บ้านเกิด และจะเป็นการสนับสนุนให้ทำเกษตรแบบยั่งยืน และในส่วนของศูนย์ฯเองก็จะได้เป็นศูนย์เรียนรู้ที่เครือข่าย หรือกลุ่มคนที่สนใจสามารถมาศึกษาดุงานเพื่อเป็นต้นแบบได้   รูปแบบวิธีการทำสื่อ ใช้วิธีการผลิตเป็นรายการ มีการสำรวจข้อมูล ลงพื้นที่ถ่ายทำ และ สื่อสาร ในทุก Platform ที่ทางเครือข่ายสื่อมีอยู่

 

  1. คลิปวีดีโอ : รายการเกษตรสัญจรแดนด้ามขวาน

- ผ่านช่องทาง : Facebook page สื่อสร้างสุขภาคใต้ และ Youtube ลิกอร์ มีเดีย - Link : https://youtu.be/1W6OA2ld4Lc 2. สื่อสิ่งพิมพ์
- ผ่านช่องทาง : Facebook page สื่อสร้างสุขภาคใต้

ปัญหา : ความเข้าใจของหน่วยสนับสนุนกับการขับเคลื่อนงานสื่อสาร แนวทางแก้ไข : ต้องหารือประชุมกับการขับเคลื่อนงานสื่อสารให้มีความถี่มากขึ้น

เวทีถอดบทเรียนและผลิตงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร (ชุมชนสีเขียว) 2 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปเวทีถอดบทเรียนและผลิตงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร (ชุมชนสีเขียว) 23 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร (รายการเกษตรสัญจร แดนด้ามขวานเพื่อผลิตข่าว ตอน ธนาคารปูม้า) 23 ก.ค. 2566