นโยบายสวนยางยั่งยืน
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการจัดทำสวนยางยั่งยืน
เพื่อให้มีฐานข้อมูลกลุ่มและพื้นที่เป้าหมาย ร่วมกันของภาคีความร่วมมือในระดับจังหวัด คณะทำงานจังหวัด ดำเนินการรวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่เป้าหมายในการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน และ แชร์ ใช้ข้อมูล ร่วมกัน ประสานความร่วมมือ (คน เงิน งาน ) หรือมีเวทีร่วม กับ สปก. ในระดับภาค
สมาคมประชาสังคมชุมพร ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เครือข่ายสวนยาง ขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืน ในสภาวการณ์ที่ผลผลิตยางพารา ปาล์มน้ำมันราคาตกต่ำ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย ลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ทำอย่างไรถึงจะขยับขยายเพิ่มขึ้น เป็นทางรอดของเกษตรกรรายย่อย เกิดรายได้เพื่อสร้างแรงจูงใจ แนวทางการขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืน(เกษตรกรรมยั่งยืน) ของในอนาคต ต้องวางแนวทาง และ วางแผน โดยต้องมี
1.โครงสร้างกลไกที่ขยับได้ดี ต้องเข้าใจในเรื่องดังกล่าว ใช้สถาบันเกษตรกร ที่ขึ้นทะเบียนกับ กยท. และไม่ขึ้นทะเบียนกับ กยท. เป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนที่นำไปสู่ความสำเร็จ
2. ศูนย์เรียนรู้ / แปลงต้นแบบ เป็นคีย์สำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องนี้ การขยายการเรียนรู้ ตัวอย่าง
3. คนรุ่นใหม่ ต้องผ่านตัวคนรุ่นใหม่ จะช่วยแก้ปัญหาในแรงงานภาคเกษตรได้ เป็นแนวทางในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชน(ตลอดห่วงโซ่อาหาร)
เป็น 3 เงื่อนไขสำคัญที่จะช่วยให้เกษตรกรรมยั่งยืน 5 รูปแบบ ขับเคลื่อนไปได้
สมัชชาสวนยางยั่งยืนภาคใต้ร่วมร่างยุทธศาสตร์ WWF ในอนาคตการส่งออก จะต้องมีมาตรฐานการจัดการสวนยางยั่งยืน FFC ที่ทำแล้วในภาคใต้มี จังหวัดสงขลา พัทลุง สุราษฎร์ธานี และการจัดทำคู่มือสวนยางยั่งยืน โดย ม.แม่โจ้ ชุมพร
แนวทางการขยายผลเกษตรกรรมยั่งยืน โดยการทำแผนที่ ประกอบไปด้วย พื้นที่แปลงต้นแบบ / ศูนย์เรียนรู้ สถาบันเกษตรกร และคนรุ่นใหม่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
กยท.ระนอง/เครือข่ายแกนนำเกษตรและองค์กรภาคีต่างๆ
-