เพื่อร่างแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
- นำเสนอ (ร่าง)แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
- วิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชน 5 แผนยุทธศาสตร์
- รับรองแผนการท่องเที่ยวโดยชุมชน
เกิดยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์หลัก ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างคุณภาพ ทักษะ และความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ในชุมชนให้มีศักยภาพในการจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชนแบบพึ่งพาตนเองบนฐานความพอเพียงและความรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมการเพิ่มคุณค่าและมูลค่าของต้นทุนทรัพยากรชุมชนสู่การเป็นสินค้าและบริการบนฐานอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่ต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้การพัฒนาและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนในระดับต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการบริหารจัดการการตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่มุ่งเน้นการสร้างสมดุลของความสุขอย่างเท่าเทียมระหว่างชุมชนและนักท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการ และการทำงานเชื่อมโยงเชิงเครือข่ายประชารัฐที่มีเอกภาพ มั่นคงและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขระหว่างชุมชนและนักท่องเที่ยวตลอดจนพัฒนาไปสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ในภูมิภาคอาเซียน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำและตัวแทนชุมชนท่องเที่ยวจาก 4 พื้นที่ คณะนักวิจัย และนักวิชาการจากสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
-
-
เพื่อจัดทำเล่มรายงานงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- รวมรวบข้อมูลจากขั้นตอนงานวิจัย
- วิเคราะห์ สรุปข้อมูล
- บันทึกลงแบบฟอร์มรายงาน
- จัดทำบัญชีการเงิน ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และตรวจเช็คความถูกต้อง
- จัดทำรูปเล่ม เพื่อนำส่ง สจรส.
ผลผลิต
- รูปเล่มงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนจ.กระบี่
ผลลัพธ์
- จังหวัดกระบี่นำแผนยุทธศาสตร์จากงานวิจัยไปขับเคลือนต่อ
- เกิดความเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีของชุมชนท่องเที่ยวจ.กระบี่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำนักวิจัย จำนวน 5 คน
-
-
-
เพื่อประชุมกลุ่ม Focus Group เป็นข้อมูลสนับสนุนความถูกต้องของงานวิจัย
- ประสานงานในการจัดเวทีจัดประชุมกลุ่ม Focus group
- เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม เป็นเครือข่ายหลากหลายของชุมชนท่องเที่ยวทั้ง 2 ชุมชน
- วิเคราะห์ข้อมูล
ผลผลิต
- ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อนำมาเติมเต็มข้อมูลงานวิจัย ให้ได้รับความเที่ยงตรงมากขึ้น
ผลลัพธ์
- ชุมชนมีความภาคภูมิใจในการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่สามารถช่วยด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วิถีวัฒนธรรม และเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
-
-
-
เพื่อเก็บข้อมูลชุมชนท่องเที่ยวแหลมสักและบ้านถ้ำเสือโดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก
- ประสานงานกลุ่มเป้าหมายผู้ให้สัมภาษณ์ใน 2 พื้นที่ แหลมสักและบ้านถ้ำเสือ
- สัมภาษณ์โดยการบันทึกเสียง
- ถอดเทปเสียงสัมภาษณ์
- วิเคราะห์ข้อมูล
ผลผลิต
- มีข้อมูลเชิงลึกที่เกี่ยวข้องกับความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ สังคม และเศรษฐกิจชุมชน
ผลลัพธ์
- ชุมชนเกิดความตื่นตัวในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมวิจัยและกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการสัมภาษณ์ ประกอบด้วยแกนนำ สมาชิก ผู้ประกอบด้านท่องเที่ยว
-
-
ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีวิธีการในการสนับสนุนเพื่อดำเนินการเก็บข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม ด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ประสานงานเครือข่ายกลุ่มเป้าหมายในชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองทะเล(ในชุมชน และนักท่องเที่ยว)
- นำตัวชี้วัดผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
- รวมรวบข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์
ผลผลิต
- ข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านหนองทะเลที่ครอบคลุมมากขึั้น จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
ผลลัพธ์
- ข้อมูลที่ได้รับส่งผลต่อการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ในการท่องเที่ยวโดยชุมชนของจังหวัดกระบี่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน อสม. เอกชน อปท สถาบันการศึกษา คณะวิจัย และนักท่องเที่ยว
-
-
-
เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม ด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ประสานงานเครือข่ายกลุ่มเป้าหมายในชุมชนท่องเที่ยวบ้านทุ่งหยีเพ็ง (ในชุมชน และนักท่องเที่ยว)
- นำตัวชี้วัดผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
- รวมรวบข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์
ผลผลิต
- ข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็งที่ครอบคลุมมากขึั้น จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
ผลลัพธ์
- ข้อมูลที่ได้รับส่งผลต่อการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ในการท่องเที่ยวโดยชุมชนของจังหวัดกระบี่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน อปท. เอกชน สถาบันการศึกษา ฯลฯ
-
-
-
เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม ด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- ประสานงานแกนนำชุมชนท่องเที่ยวบ้านทุ่งหยีเพ็ง สัมภาษณ์เชิงลึก
- วางแผนการเก็บข้อมูลนักท่องเที่ยว โดยประสานกับกลุ่มผู้ประกอบอาชีพในชุมชน คือ กลุ่มขับเรือ ขับรถรับจ้าง
ผลผลิต
- ข้อมูลเชิงลึกในพื้นที่เพื่อนำมาเป็นข้อมูลเสริม วิเคราะห์ เปรียบเทียบจากข้อมูลที่ได้มา ทั้งปฐมภูมิ และทุติยภูมิ
ผลลัพธ์
- ข้อมูลที่ได้รอบด้านและครอบคลุม
- แกนนำชุมชนมีแนวทางการพัฒนาตนเอง ภายใต้การเรียนรู้การทำงานของทีมคณะวิจัย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน นายนราธร หงษ์ทอง และเครือข่าย และนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
จำนวนและประเภทของนักท่องเที่ยวจะขึ้นกับช่วงฤดูกาลการท่องเที่ยว หากต้องการเก็บข้อมูลได้ครอบคลุม จะต้องเพิ่มระยะเวลาในการเก็บข้อมูล
เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม ด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- การประสานแกนนำชุมชน ประธานชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองทะเล
- เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก ประธานชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองทะเล คุณขวัญตา ผกามาศ
ผลผลิต
- ข้อมูลเชิงลึกในพื้นที่เพื่อนำมาเป็นข้อมูลเสริม วิเคราะห์ เปรียบเทียบจากข้อมูลที่ได้มา ทั้งปฐมภูมิ และทุติยภูมิ
ผลลัพธ์
- ข้อมูลที่ได้รอบด้านและครอบคลุม
- แกนนำชุมชนมีแนวทางการพัฒนาตนเอง ภายใต้การเรียนรู้การทำงานของทีมคณะวิจัย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำชุมชน และทีมวิจัย
-
-
เพื่อนำข้อมูลจากการศึกษา นำสู่กระบวนการการจัดทำเวทีกำหนดแผนยุทธศาสตร์
- รวบรวมข้อมูลจากการดำเนินงาน
- เสนอการดำเนินงานภายใต้แผนงาน
- กำหนดทิศทางการทำงาน เพื่อจัดเวที รับฟังทิศทางการดำเนินงานเวทีข้อเสนอเชิงนโยบายวันที่ 25 พฤษภาคม 60 ที่จังหวัดตรัง
ผลผลิต
- ได้ทิศทางการทำงาน เพื่อจัดเวทีข้อเสนอเชิงนโยบายในวันที่ 25 พฤษภาคม 60 ที่จังหวัดตรัง
ผลลัพธ์
- ทิศทางและแนวทางการและผลการวิจัยเป็นงานที่ผ่านกระบวนการสาธารณะ เป็นการมีส่วนร่วมที่จะสร้างความเชื่อถือในงานวิจัย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะอาจารย์ นักวิชาการ และเจ้าหน้าที่ จากสจรส. และทีมวิจัยจากจ.ตรังและจ.กระบี่
-
-
-
เพื่อจัดทำบัญชี สรุปค่าใช้จ่าย
- รวบรวมเอกสารการใช้จ่ายต่าง ๆ
- ตรวจสอบความถูกต้องในการใช้จ่ายและลายเซ็นการทำงานของคณะวิจัย รวมทั้งผู้เข้าร่วมโครงการในทุกกิจกรรม
ผลผลิต
- เอกสารด้านการเงินที่ถูกต้องตรงกับกิจกรรมการทำงานภายใต้โครงการ
ผลลัพธ์
- เกิดกระบวนการการทำงานที่เป็นระบบในทีมคณะทำงานวิจัย
- กระบวนการทำงานที่ตรวจสอบการทำงานได้ในทุกข้้นตอน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมคณะทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและมีหน้าที่ต่าง ๆ
-
-
-
เพื่อรายงานความก้าวหน้าโครงการให้กับคณะทีมพี่เลี้ยง ทีม สจรส.
- รวบรวมข้อมูลการทำงาน เอกสารข้อมูล
- รวบรวมข้อมูลการจัดทำบัญชีค่าใช้จ่ายในการจัดทำโครงการ
- การส่งงานเพื่อตรวจสอบการรายงานผ่านเวปไซด์
ผลผลิต
- เอกสาร เป็นรายงานการทำงานภายใต้โครงการ
- เอกสาร หลักฐานทางการใช้จ่ายในระหว่างการจัดทำโครงการ
ผลลัพธ์
- การดำเนินงานตามโครงการทั้งเอกสารรายงานและการเงินได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะ
- เป็นกระบวนการการทำงานที่โปร่งใส
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
- คณะวิจัย
- ฝ่ายการเงิน
- เจ้าหน้าที่ฝ่ายบันทึกรายงานลงเวปไซด์เจ้าหน้าที่อื่น ๆ
ไม่มีปัญหา
-
-
เพื่อจัดเวทีสนทนากลุ่ม เพื่อบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมโดยใช้ตัวชี้วัดที่ได้มาเก็บข้อมูล
- ประสานการทำงาน 4 พื้นที่ชุมชนท่องเที่ยว
- จัดเวทีชุมชน 4 พื้นที่
- นำตัวชี้วัดที่ได้มาเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
ผลผลิต
- ข้อมูลที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยการเปรียบเทียบจากฐานข้อมูลที่มีอยู่
ผลลัพธ์
- เวทีที่สร้างความเชื่อมั่นให้กับชุมชนท่องเที่ยวในการเป็นส่วนหนึ่งของฐานการอนุรักษ์ และการเพิ่มมูลค่าคุณค่า ให้เกิดเป็นเศรษฐกิจชุมชนที่เข้มแข็ง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ภาคีเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยว 4 ชุมชน และคณะทีมวิจัย
-
-
-
เพื่อพัฒนาตัวชี้วัด และจัดทำรายงานฉบับที่ 2
- ตรวจสอบความถูกต้องตัวชี้วัดผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในประเด็น สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจชุมชน
- แลกเปลี่ยนความคิดของนักวิจัย โดยใช้ข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ
ผลผลิต
- ได้ตัวชี้วัดที่ผ่านกระบวนการจากเวทีการกลั่นกรองข้อมูลและเวทีสาธารณะ
ผลลัพธ์
- เกิดความเชื่อมั่นในการนำตัวชี้วัดมาใช้ในการงานวิจัย
- ผลจากงานวิจัยโดยใช้ตัวชี้วัดนี้จะเป็นแนวทางในการทำงานงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในครั้งต่อไปได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมคณะทีมวิจัย
-
-
-
เพื่อสรุปงานและวางแผนการทำงานในครั้งต่อไป
- ทีมวิจัยนำเอกสารต่าง ๆ เพื่อจัดทำรายการการดำเนินงานตามโครงการ
- วางแผนและวิเคราะห์หาข้อบกพร่อง ในการทำงานเพื่อปรับปรุงแก้ไข
ผลผลิต
- ข้อสรุปจากการทำงาน จุดแข็ง จุดอ่อนจากการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผลลัพธ์
- เกิดการพัฒนาการทำงานของทีมนักวิจัย
- ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการทำงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน และแกนนำชุมชน
-
-
-
เพื่อสรุปผล และถอดบทเรียนจากเวทีนำเสนอต่อเวทีสาธารณะ scoping ผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- สรุปผลการนำเสนอต่อเวทีสาธารณะ ตามประเด็น ผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชนด้านสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจชุมชน
- ถอดข้อมูลจากเวทีการประชุมเป็นเอกสาร บันทึกเป็นรายการ
ผลผลิต
- ได้ข้อเสนอในการจัดทำตัวชี้วัดในประเด็น สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจชุมชนที่ครอบคลุมยิ่งขึ้น
ผลลัพธ์
- เกิดความเชื่อมั่นในการทำงานตามกระบวนการวิจัยทั้งทีมคณะวิจัย และชุมชน รวมทั้งภาคีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)
ประกอบด้วย
ทีมคณะทำงานวิจัย
-
-
-
เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากเวทีสาธารณะ นำสู่สร้างมือวิจัย ตัวชี้วัดในขั้นตอนสุดท้าย
- ประสานงานภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
- จัดเวทีสาธารณะ scoping
- ทีมอาจารย์ นักวิชาการจาก สจรส.ให้คำแนะนำ และเสริมข้อมูลเพื่อนำเสนอกระบวนการการวิจัย บนเวที scoping
- รวบรวมข้อมูลจากเวที scoping
ผลผลิต
- ข้อมูลเพื่อนำมากำหนดตัวชี้วัดเครื่องมือการวิจัยที่ชัดเจนขึ้น
- ได้รับข้อเสนอแนะบนเวทีที่หลากหลายและรอบด้าน
ผลลัพธ์
- ความเชื่อมั่นในตัวชี้วัดของงานวิจัย
- ได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายภาคีต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เครือข่ายภาคีที่เกี่ยวข้อง แกนนำชุมชนท่องเที่ยว ทั้ง 4 ชุมชนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน ประชาสังคม สื่อมวลชนและอาจารย์ นักวิชาการจากสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้เข้าร่วมประชุม มาจากต่างพื้นที่ มีอุปสรรคด้านการเดินทาง
การประชุมควรจะมีการแยกลงแต่ละพื้นที่
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเตรียมการจัดเวที scoping เวทีประชุมรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ
- ประสานกลุ่มเป้าหมาย
- นำส่งข้อมูลเบื้องต้น จากเวที screening ผลการกลั่นกรองข้อมูล ส่งให้แกนนำชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจในประเด็นเบื้องต้น
- วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดเวทีรับฟังสาธารณะ ผลกระทบจากการท่องเที่ยว scoping
ผลผลิต
- ได้ข้อมูลเพิ่มเติมที่รอบด้านมากยิ่งขึ้น
ผลลัพธ์
- ตัวชี้วัดผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่จะมีสมบูรณ์ และเที่ยงตรงขึ้น
- ทีมนักวิจัยและชุมชนเชื่อมั่นในกระบวนการวิจัย
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
คณะทำงานวิจัย แกนนำชุมชน เครือข่ายชุมชน ภาครัฐ อปท. เอกชน ประชาสังคม และภาคประชาสังคม สื่อมวลชน
-
-
-
เก็บข้อมูลจัดทำแผนที่ชุมชน
- เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับประธานชุมชน
- เก็บข้อมูลโดยการ Focus Group กลุ่มแกนนำชุมชนและเครือข่ายชุมชน
- รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับชุมชน
- จัดทำแผนที่ชุมชนเดินดิน (Mapping) ชุมชน
ผลผลิต
- เกิดแผนที่ชุมชน (Mapping
- มีรายงานผลข้อมูลการลงพื้นที่
ผลลัพธ์
- ชุมชนได้รู้ข้อมูลในพื้นที่ของตนเอง
- นักวิจัยได้รับรู้ข้อมูลโดยตรงจากทางชุมชน สามารถนำเป็นข้อมูลสนับสนุนในการวิจัยได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ประธานชุมชน แกนผู้นำชุมชนและเครือข่ายจชุมชน สื่อมวลชน ชาวบ้านในพื้นที่ และทีมคณะวิจัย
-
กลุ่มเป้าหมายควรครอบคลุม
-
เพื่อจัดทำแผนที่ชุมชน Mapping ชุมชนท่องเที่ยวแหลมสัก
- เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับประธานชุมชน
- เก็บข้อมูลโดยการ Focus Group กลุ่มแกนนำชุมชนและเครือข่ายชุมชน
- รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับชุมชน
- จัดทำแผนที่ชุมชนเดินดิน (Mapping) ชุมชน
ผลผลิต
- เกิดแผนที่ชุมชน (Mapping
- มีรายงานผลข้อมูลการลงพื้นที่
ผลลัพธ์
- ชุมชนได้รู้ข้อมูลในพื้นที่ของตนเอง
- นักวิจัยได้รับรู้ข้อมูลโดยตรงจากทางชุมชน สามารถนำเป็นข้อมูลสนับสนุนในการวิจัยได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ประธานชุมชน แกนผู้นำชุมชนและเครือข่ายจชุมชน สื่อมวลชน ชาวบ้านในพื้นที่ และทีมคณะวิจัย
-
ควรเพิ่มกลุ่มเป้าหมาย
-
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากการถอดบทเรียน
- นำข้อมูลที่รวบรวมไว้ทั้งหมดมาวิเคราะห์
- วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้กระบวนการกลุ่ม
ผลผลิต
-ข้อมูลสรุปจากกระบวนการการถอดบทเรียนจากกระบวนการการทำแผนที่ชุมชน และการจัดเวทีกลั่นกรองข้อมูล
ผลลัพธ์
- นักวิจัยได้รับข้อมูลเพื่อเป็นส่วนประกอบสำคัญในการสร้างตัวชี้วัดผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมคณะนักวิจัย
-
-
-
ประชุมคณะทำงาน และแกนนำชุมชน
- นำข้อมูลจากการจัดทำแผนที่ชุมชน Mapping ของชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองทะเล และชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง และจากเวทีกลั่นกรองข้อมูล screening มาวิเคราะห์อีกครั้ง
- ตรวจสอบการสร้างตัวชี้วัด โดยนำข้อมูลทั้งหมดมาประกอบการจัดทำตัวชี้วัด
ผลผลิต
- กรอบการทำตัวชี้วัดการประเมินผลกระทบชัดเจนขึ้น
ผลลัพธ์
- นักวิจัยได้รับข้อมูลที่ชัดเจนขึ้น ส่งผลต่อการสร้างตัวชี้วัด ที่เที่ยงตรง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงานทีมวิจัย
-
-
-
เพื่อกลั่นกรองข้อมูลการวิจัยโดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้ง 4 พื้นที่วิจัย
- ประสานเชิญแกนนำและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องชุมชนท่องเที่ยวทั้ง 4 พื้นที่ เข้าร่วมเวทีในวันที่ 22 ธันวาคม 2559
- จัดเวทีกลั่นกรองข้อมูล (Screening) โดยนักวิจัยและเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยวทั้ง 4 พื้นที่
ผลผลิต
- ได้ข้อมูลที่ได้รับการกลั่นกรอง และเป็นมติของทั้ง 4 ชุมชน
- เพิ่มเติมข้อมูล เป็นข้อมูลเที่ยวที่ใช้ในการกำหนดชี้วัดการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- เกิดร่างการออกแบบตัวชี้วัดการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ผลลัพธ์
- ชุมชนท่องเที่ยวทั้ง 4 ชุมชน เห็นคุณค่าของพื้นที่ของตนเองมากขึ้น
- เกิดความร่วมมือในการทำงานของชุมชนและทีมนักวิจัยมากขึ้น
- ตัวชี้วัดที่ได้จะสามารถเป็นเครื่องที่ที่มีความถูกต้องตามหลักวิชาการ เชื่อถือได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- คณะทำงาน
- แกนนำเครือข่ายการท่องเที่ยวทั้ง 4 พื้นที่
- เครือข่ายสื่อมวลชน
- ชาวบ้าน 4 พื้นที่ ได้แก่ ชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง ชุมชนบ้านหนองทะเล ชุมชนบ้านแหลมสัก ชุมชนบ้านถ้ำเสือ
กลุ่มเป้าหมายการเดินทางประชุมระยะทางไกล
การเชื่อมโยงเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
เพื่อเก็บข้อมูล จัดทำแผนที่ชุมชน
- เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับประธานชุมชน
- เก็บข้อมูลโดยการ Focus Group กลุ่มแกนนำชุมชนและเครือข่ายชุมชน
- รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับชุมชน
- จัดทำแผนที่ชุมชนเดินดิน (Mapping) ชุมชน
ผลผลิต
- เกิดแผนที่ชุมชน (Mapping
- มีรายงานผลข้อมูลการลงพื้นที่
ผลลัพธ์
- ชุมชนได้รู้ข้อมูลในพื้นที่ของตนเอง
- นักวิจัยได้รับรู้ข้อมูลโดยตรงจากทางชุมชน สามารถนำเป็นข้อมูลสนับสนุนในการวิจัยได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ประธานชุมชน แกนผู้นำชุมชนและเครือข่ายจชุมชน สื่อมวลชน ชาวบ้านในพื้นที่ และทีมคณะวิจัย
-
-
-
เพื่อสรุปร่างรายงานการทำงานฉบับที่ 1 และเพื่อวางแผนการทำงานการลงพื้นที่ Mapping ชุมชนท่องเที่ยวบ้านทุ่งหยีเพ็ง
- สรุปร่างรายงานการทำงานฉบับที่ 1
- วางแผนการทำงานการลงพื้นที่ Mapping ชุมชนท่องเที่ยวบ้านทุ่งหยีเพ็ง โดยการถอดบทเรียนจากการทำ Mapping พื้นที่ชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองทะเล
ผลผลิต
- ได้ร่างรายงานการทำงานฉบับที่ 1
- ได้แผนการทำงานเพื่อการลงพื้นที่การทำ Mapping ชุมชนในครั้งต่อไป
ผลลัพธ์
- ทีมนักวิจัย ได้ข้อมูลจากพื้นที่มากขึ้นทำให้เห็นช่องว่างของงานวิจัย และส่งผลต่อการวางแผนการทำงานครั้งต่อไป มีการเก็บข้อมูลที่ครอบคลุมและรัดกุมมากยิ่งขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน แกนนำวิจัย
-
-
-
เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ท่องเที่ยวหนองทะเล
- เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นที่หนองทะเล
- การเตรียมการเพื่อสรุปและร่างรายงานฉบับที่ 1
ผลผลิต
- รายงานการสังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านหนองทะเล
- โครงร่างรายงานการทำงานฉบับที่ 1
ผลลัพธ์
- นักวิจัยได้นำข้อมูล แผนที่ชุมชน ส่งคืนกลับพื้นที่
- แกนนำและผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่เกิดความประทับใจและเข้าใจการทำงานของทีมวิจัยที่เข้ามาเพื่อสนับสนุนส่งเสริมชุมชน โดยใช้แนวทางการทำงานทางวิชาการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมคณะนักวิจัย
-
-
-
Mapping ข้อมูลท่องเที่ยวชุมชนบ้านหนองทะเล
- เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับประธานชุมชน
- เก็บข้อมูลโดยการ Focus Group กลุ่มแกนนำชุมชนและเครือข่ายชุมชน
- รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับชุมชน
- จัดทำแผนที่ชุมชนเดินดิน (Mapping) ชุมชน
ผลผลิต
- เกิดแผนที่ชุมชน (Mapping
- มีรายงานผลข้อมูลการลงพื้นที่
ผลลัพธ์
- ชุมชนได้รู้ข้อมูลในพื้นที่ของตนเอง
- นักวิจัยได้รับรู้ข้อมูลโดยตรงจากทางชุมชน สามารถนำเป็นข้อมูลสนับสนุนในการวิจัยได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ประธานชุมชน แกนผู้นำชุมชนและเครือข่ายจชุมชน สื่อมวลชน ชาวบ้านในพื้นที่ และทีมคณะวิจัย
-
-
-เวลาในการนัดหมาย ผู้ให้ข้อมูลมาล่าช้า แนวทางแก้ไข คือกรประสานงานก่อนไปถึงสถานที่นัดหมาย
สรุปแผนการลงพื้นที่ mapping ประสานงาน
- วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เครื่องมือวิจัย เพื่อให้เกิดความเที่ยงตรงที่สุด
- ทดลองใช้แบบทดสอบ
- การประชุมหารือเพื่อวางแผนงานในการลงพื้นที่เพื่อสร้าง Mapping เป็นแผนที่ชุมชนการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้ง 4 พื้นที่
ผลผลิต
- ได้เครื่องมือการวิจัย เป็นแบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ
- เครื่องมือวิจัยได้รับการรับรอง
- รูปแบบการทำ Mapping ชุมชน
ผลลัพธ์
- นักวิจัยสามารถใช้เครื่องมือการวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
ทีมงานนักวิจัยและนักวิชาการในการข้อคำแนะนำ การจัดทำเครื่องมือวิจัย ให้ความร่วมมือและคำชี้แนะที่เป็นประโยชน์แก่ทีมนักวิจัย
-
-
-
เตรียมเอกสารวางแผนจัดทำ Mapping
- นักวิจัย นำเสนอข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- นักวิจัย นำเสนอข้อมูลผลจากการเก็บข้อมูลในพื้นที่
ผลผลิตที่ได้
- ข้อมูล ปฐมภูมิ และทุติยภูมิ จาก 4 พื้นที่การวิจัย
ผลลัพธ์ที่ได้
- เกิดการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเกิดเป็นเครื่องมือการวิจัย
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
มีทีมวิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมตามเป้าหมายที่วางไว้
-
-
-
เพื่อเก็บข้อมูลในพื้นที่
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเบื้องต้น
ผลผลิตจากกิจกรรมนี้
- จำนวนสมาชิกของการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้น
จำนวนหน่วยงานทั้งหน่วยงานรัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม ให้ความสนใจและเข้ามาประสานงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือ และสร้างความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนท่องเที่ยวเกิดการตื่นตัว ในด้านการมีส่วนร่วมชุมชนท่องเที่ยวเกิดการตื่นตัว ในด้านการมีส่วนร่วม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเบื้องต้น
-
-
-
เพื่อเก็บข้อมูลในพื้นที่
ทีมงานวิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น แกนนำในชุมชน อปท.ในพื้นที่ ดำเนินงานการประสานงานเพื่อการสำรวจพื้นที่เป็นในการเก็บข้อมูลพื้นฐาน เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อเป็นข้อมูลในการสนับสนุนงานวิจัย
ผลผลิตจากกิจกรรมนี้
- จำนวนสมาชิกของการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้น
- จำนวนหน่วยงานทั้งหน่วยงานรัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม ให้ความสนใจและเข้ามาประสานงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือ และสร้างความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ชุมชนท่องเที่ยวเกิดการตื่นตัว ในด้านการมีส่วนร่วม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักวิจัยและเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่
-
-
-
ศึกษาข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เตรียมความพร้อม
ศึกษาข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพิ่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน และประเด็นองค์ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โดยการค้นหาข้อมูล ด้วยข้อมูลทางทุติยภูมิ (secondary source) จากงานวิจัย จากหนังสือที่เกี่ยวข้อง หนังสือตำราด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน เอกสารจากหน่วยงาน เช่น สำนักงานจังหวัดกระบี่ สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา ฯลฯ
ทีมงานวิจัย ได้ผลผลิต เป็นการค้นพบงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถนำมาเป็นข้อมูลสนับสนุนทางการศึกษาที่สำคัญ
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นงานที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งในวารสารต่างประเทศและในประเทศ
งานที่เป็นเอกสารการสรุปการเชิงพื้นที่ ของชุมชนท่องเที่ยวในพื้นที่อื่น ๆ
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดการวิเคราะห์ สังเคราะห์จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนช่องว่างงานวิจัยได้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมวิจัย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี