สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนากลไกนักสื่อสารสร้างสุขจังหวัดชุมพร (2) 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารท้องถิ่นให้มีความสามารถในการสื่อสารสาธารณะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานสื่อ (2) อบรมเชิงปฎิบัติการนักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ รุ่นที่ 1 (3) จัดทำสื่อเผยแพร่ Facebooklive (4) นโยบายสวนยางยั่งยืน (5) ชุมชนสีเขียว (6) เกษตรกรรมยั่งยืน (7) อบรมนักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ ชุมพร-ระนอง-สุราษฎร์ธานี รุ่นที่ 2 (8) ประชุมการประชาสัมพันธ์ทุน  Road to creators สื่อสร้างสรรค์โอกาศสำหรับทุกคน (กองทุนสื่อ) (9) ลงพื้นที่เพื่อจัดทำคลิปวีดีโอ ความมั่นคงทางด้านอาหาร (ข้าวไร่) (10) ลงพื้นที่เพื่อถ่ายทำคลิปวีดีโอเรื่อง พืชร่วมยาง-สวนยางยั่งยืน (พื้นที่ต้นแบบ) (11) ลงพื้นที่เพื่อจัดทำคลิปวีดีโอเรื่อง สวนยางยั่งยืนกับพืชร่วมยาง (12) เวทีปฎิบัติงานสื่อสาร (รายการเกษตรสัญจร แดนด้ามขวานเพื่อผลิตข่าว ตอน ธนาคารปูม้า) (13) ประชุมคณะทำงานชุมชนสีเขียว (14) ประชุมคณะทำงานสื่อ ครั้งที่ 1 (15) ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ (16) จัดทำคลิปวีดีโอเรื่องข้าวหลามกาบแดงในสวนยางยั่งยืน (17) ลงพื้นที่จัดทำวีดีโอสวนยางยั่งยืนในวิถีพันธุกรรมพืชท้องถิ่น (18) ลงพื้นที่ถ่ายทอดสดเฟสบุ๊คไลฟ์ผ่านช่องทางเพจสมาคมประชาสังคมชุมพร (19) คลิปวีดีโอสวนยางยั่งยืนสวนนายหัวบ้านส้อง (20) ประชุมคณะทำงานสื่อ (21) จัดทำคลิปวีดีโอสวนยางยั่งยืน ผักเหลียงร่วมยาง (22) ลงพื้นที่ถ่ายทอดสดเฟสบุ๊คไลฟ์เรื่องความมั่นคงทางด้านอาหาร (ข้าวไร่) (23) ประชุมเชิงปฎิบัติการการจัดทำแผนความร่วมมือการส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืนภาคใต้ (ถ่ายทอดสด) (24) ประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายสวนยางยั่งยืนและเครือข่ายข้าวไร่ชุมพร (จัดทำเฟสบุ๊คไลฟ์) (25) อบรมเชิงปฎิบัติการผู้ตรวจและประเมินมูลค่าและคุณค่าต้นไม้ (ถ่ายทอดสดคาร์บอนเครดิต) (26) เวทีถอดบทเรียนและผลิตสื่อสาร เพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร (ชุมชนสีเขียว) (27) ประชุมสรุปเวทีถอดบทเรียนและผลิตสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร (ชุมชนสีเขียว) (28) การผลิตสื่อตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ