สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ กระบี่ (ตำบลศาลาด่าน)

การประชุมเชิงปฏิบัติการคืนข้อมูลความมั่นคงด้านอาหารพื้นที่บ้านหลังสอด25 มกราคม 2566
25
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Thitichaya
  • SWOT บ้านหลังสอด.pdf
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อส่งคืนข้อมูลให้แก่ชุมชน และร่วมหารือนำเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กระบวนการปฏิบัติงานอย่างมีส่วนร่วม ระยะเวลา 1 เดือนในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อค้นหาฐานผลิตทางการเกษตรของบ้านหลังสอด โดยใช้หลัก SWOT มาวิเคราะห์ และส่งคืนข้อมูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนเห็นศักยภาพของพื้นที่ตนเอง มีแนวคิดจะจัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจเพื่อเป็นกลุ่มเกษตรกร เป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรที่ตนเองมี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 35 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

นักวิชาการ นักศึกษาฝึ่กปฏิบัติงาน (ผู้ช่วยเก็บข้อมูล) ประชาชนในชุมชนบ้านหลังสอด ตัวแทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เป็นปัญหาทางกายภาพ ได้แก่ พันธ์พืชยังไม่ได้รับการพัฒนา สภาพดินที่ต้องมีการปรับปรุง และความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ ที่ส่งผลต่อฤดูกาลการเพาะปลูก  แนวทางการแก้ไข คือ การหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาให้คำแนะนำ เพื่อการปรับตัวในการทำการเกษตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่