สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ กระบี่ (ตำบลศาลาด่าน)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การลงพื้นที่และการประชุมเพื่อวางแผนการทำงานและการสร้างความเข้าใจ 15 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพอบรมการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA ณ สนส.ม.อ.หาดใหญ่ 18 ก.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดเวทีสาธารณะครั้งที่ 1 26 ก.ค. 2565

 

 

 

 

 

จัดเวทีสาธารณะ การนำเสนอข้อมูล และรับฟังแนวทางการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม ศาลาด่านโมเดล เวทีสาธารณะครั้งที่ 1 27 ก.ค. 2565

 

 

 

 

 

การประชุมเตรียมการเพื่อเตรียมการจัดการอบรมการจัดทำแผนผังทรัพยากรธรรมชาติชุมชน 8 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการ นโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 26 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนผังภูมินิเวศและการจัดการภัยพิบัติ 17 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

การเชื่อมโยงการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติกับความมั่นคงทางอาหาร จากตำบลศาลาด่าน สู่ตำบลเกาะลันตาน้อย 1 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การวางแผนงานเพื่อจัดทำเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น หรือธรรมนูญท้องถิ่น ด้านการท่องเที่ยวปลอดภัย และการอนุรักษ์ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ศาลาด่านโมเดล 22 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

การศึกษาพื้นที่ความมั่นคงด้านอาหารบ้านหลังสอด ต.เกาะลันตาน้อย(พื้นที่เชื่อมโยง) 30 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

เก็บข้อมูลพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย 1 ก.พ. 2566 20 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมจัดนิทรรศการและเสวนาศาลาด่านโมเดลในงาน Mangrove Love ทุ่งหยีเพ็ง 13 ก.พ. 2566 13 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

กิจกรรม Mangrove Love Festival 2023 14 ก.พ. 2566 14 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

สรุปข้อมูลจากการเก็บข้อมูลของพื้นที่ตำบลเกาะลันตาน้อย 28 ก.พ. 2566 28 ก.พ. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมจัดนิทรรศการศาลาด่าน โมเดล พาสปอร์ตลันตตา ในงานลานตา 2 มี.ค. 2566 2 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

กิจกรรมนิทรรศการลานตา ลันตา 3 มี.ค. 2566 3 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

จัดจ้างพิมพ์หนังสือเดินทางคนรักษ์ลันตาและโบรชัวร์ประชาสัมพันธ์ 22 มี.ค. 2566 22 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

เก็บข้อมูลฐานทรัพยากรในท้องถิ่น ณ อำเภอเกาะลันตา 24 มี.ค. 2566 24 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมกลุ่มย่อยวางแผนการดำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมด้านความมั่นคงในพื้นที่ 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมงานปฎิญญาอ่าวลันตา การขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน Blue&Green Island 9 เม.ย. 2566 9 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมลงนามปฎิญญาอ่าวลันตา การขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน Blue&Green Island 24 เม.ย. 2566 24 เม.ย. 2566

 

*

 

*

 

เวทีนำเสนอแผนปฎิบัติการผู้บริหารเทศบาลตำบลศาลาด่าน 22 พ.ค. 2566 22 พ.ค. 2566

 

*

 

*

 

ลงพื้นที่สำรวจเส้นทางเพื่อออกแบบโซนศาลาด่าน 1 มิ.ย. 2566 1 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฎิบัติการออกแบบการพัฒนาจากฐานทรัพยากรธรรมชาติสู่ความมั่นคงทางอาหาร 8 มิ.ย. 2566 8 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมงานร่วมจัดนิทรรศการ นำเสนอพื้นที่ต้นแบบศาลาด่านโมเดล ในงานสร้าสุขภาคใต้ครั้งที่13 14 มิ.ย. 2566 14 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฎิบัติการวางแผนงานศาลาด่านโมเดล 15 มิ.ย. 2566 15 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมวางแผนการประเมินประเด็นทรัพยากรฯ (ศาลาด่าน) เพื่อตอบโจทย์ตามตัวชี้วัดโครงการ 18 มิ.ย. 2566 18 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ลงพื้นที่สัมภาษณ์เก็บข้อมูลและทำสื่อวิดีทัศน์ เทศบาลตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 21 มิ.ย. 2566 21 มิ.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมงานเวทีศาลาด่านโมเดล การท่องเที่ยวปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เกาะลันตา 18 ก.ค. 2566 18 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเวทีสาธารณะ ศาลาด่านโมเดล สู่ปฎิญญาอ่าวลันตา เส้นทางท่องเที่ยวชาติพันธุ์เชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม 19 ก.ค. 2566 19 ก.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมย่อยเพื่อจัดทำแผนการขับเคลื่อนงาน "ศาลาด่านโมเดล" ในระยะที่2 (Phase2) 24 ก.ย. 2566 24 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

นำเสนอแผนปฎิบัติงานศาลาด่านโมเดล ให้กับสภาเทศบาลตำบลศาลาด่าน 25 ก.ย. 2566 25 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

สรุปผลการดำเนินงานศาลาด่านโมเดล และประชุมเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนาอำเภอเกาะลันตา 26 ก.ย. 2566 26 ก.ย. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมทบทวนก่อนปฏิบัติงาน Before Action Review (BAR) 9 ต.ค. 2566 9 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ (กลุ่มย่อย) 10 ต.ค. 2566 10 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ (กลุ่มย่อย) 11 ต.ค. 2566 11 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมทบทวนก่อนปฏิบัติการ Before Action Review (BAR) 18 ต.ค. 2566 18 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอเกาะลันตา (เวทีสาธารณะ) 19 ต.ค. 2566 19 ต.ค. 2566

 

*

 

*

 

ประชุมย่อยเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการให้นายอำเภอ ผู้นำท้องถิ่น และแกนนำชุมชนท่องเที่ยว 15 มิ.ย. 2565 15 มิ.ย. 2565

 

  1. การประสานงาน เพื่อนัดหมายบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบวัตถุประสงค์ของการจัดทำโครงการในครั้งนี้
  2. เป็นการประชุมแบบไม่เป็นทางการ โดยแยกเป็นการประชุมย่อย 3 ครั้งคือ (1) ทีมผู้บริหารเทศบาลตำบลศาลาด่าน (2) ทีมการท่องเที่ยวโดยชุมชน และภาคเอกชน ประชาชน และ (3) นายอำเภอ ผู้กำหนดนโยบาย
  3. นักวิชาการนำเสนอข้อมูลผ่านเอกสาร และข้อมูลโครงการ โดยอธิบายรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเห็นความสำคัยของโครงการนี้

*นักวิชาการเลือกลงพื้นที่ในช่วงระหว่างที่พื้นที่ดำเนินกิจกรรมการซ้อมแผนป้องกันภัยพิบัติ โดยได้ร่วมสังเกตการณ์กระบวนการการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อนำเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งในการดำเนินโครงการ

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เป็นไปตามที่วางไว้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งในส่วนของนโยบาย ท้องถิ่น ชุมชน ภาคเอกชนให้ความสำคัญ และเห็นว่าเป็นโครงการที่เป็นประโยชน์แก่คนในท้องถิ่น และพร้อมจะมีส่วนร่วมในขับเคลื่อนโครงการในครั้งนี้

 

ผู้รับผิดชอบโครงการประชุมวางแผนเตรียมการทำงาน 9 ก.ค. 2565 9 ก.ค. 2565

 

ประเด็นในการวางแผน คือ
(1) การกำหนดแผนการจัดประชุม และจัดอบรม และปฏิบัติการเก็บข้อมูลในพื้นที่ (2) วางแผนช่วงเวลาการทำงานให้เหมาะสมใน 2 พื้นที่ เพื่อการทำงานที่สามารถแลกเปลี่ยนและเสนอแนะข้อมูลต่อกันได้ (3) วางแผนทางการทำงาน เพื่อลดข้อจำกัดในการทำงาน ไม่ว่าจะการเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถในพื้นที่ได้เข้ามาร่วมเป็นคณะทำงาน การสร้างช่องทางการสื่อสาร โดยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อการประสานงานที่ต่อเนื่อง (4) วางแผนและแนวทางการสื่อสาร เป็นคู่ขนานไปกับการดำเนินกิจกรรมของโครงการใน 2 พื้นที่

 

เกิดผลลัพธ์ตามที่กำหนดไว้ (1) มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน (การจัดประชุม และจัดอบรม และปฏิบัติการเก็บข้อมูลในพื้นที่) (2) เกิดการวางแผนช่วงเวลาการทำงานให้เหมาะสมใน 2 พื้นที่ เพื่อการทำงานที่สามารถแลกเปลี่ยนและเสนอแนะข้อมูลต่อกันได้ (3) มีช่องทางการสื่อสาร โดยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อการประสานงานที่ต่อเนื่อง มีสื่อกลางคือ เพจสื่อสร้างสุขภาคใต้ (4) เกิดการวางแผนและแนวทางการสื่อสาร เป็นคู่ขนานไปกับการดำเนินกิจกรรมของโครงการใน 2 พื้นที่

 

ประชุมหารือรายงานข้อมูลฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 14 ก.ค. 2565 14 ก.ค. 2565

 

ประชุมหารือเรื่องฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นการประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจและการเตรียมการด้านข้อมูลฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดย นายฉัตร ชลารัตน์ จากสำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 ร่วมกับ ผู้รับผิดชอบ คือ ดร.ฐิติชญาน์ บุญโสม และแกนนำด้านการสื่อสารคือ นายธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง เป็นการวางแผนการรวบรวมข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลเป็นข้อมูลนำเข้าสู่เวทีสาธารณะ เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้เกิดการรับรู้ และสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการในพื้นที่ตำบลศาลาด่าน โดยกำหนดการจัดเวทีในวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลศาลาด่าน

 

เจ้าหน้าที่จะสำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 ได้รวบรวมฐานข้อมูลด้านทรัพยากรชายฝั่งในพื้นที่ตำบลศาลาด่าน อ.เกาะลันตา เพื่อจะนำเสนอให้กับพื้นที่ในการจัดเวทีสาธารณะในวันที่ 27 ก.ค.65

 

เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพอบรมการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA 18 ก.ค. 2565 18 ก.ค. 2565

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน และเครือข่ายในพื้นที่เข้ารับการอบรมหลักสูตร การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ HIA ณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อนำองค์ความรู้ หลักการดำเนินงานตามแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ในปรับใช้ในการดำเนินโครงการในพื้นที่ ผู้เข้าร่วมอบรม ประกอบด้วย 1. ดร.ฐิติชญาน์ บุญโสม 2. นายประวิช ขุนนิคม 3. นายมนูญ เอ็มเอ็ม โดยผลของการอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมได้นำมาปรับใช้ในการดำเนินโครงการในพื้นที่ตำบลศาลาด่าน

 

1) ความรู้ หลักสูตร HIA สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานที่รับผิดชอบได้ 2) เกิดเครือข่ายการทำงานที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น

 

ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดเวทีสาธารณะครั้งที่ 1 ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 26 ก.ค. 2565 26 ก.ค. 2565

 

เป็นการประชุมเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดเวทีสาธารณะครั้งที่ 1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กำหนดการจัดเวทีคือวันที่ 27 กรกฎาคม 2565 การประชุมเตรียมความพร้อม มีหัวข้อการประชุมคือ 1. การกำหนดหน้าที่ของผู้รับผิดชอบ 2. การใช้งบประมาณ 3. การทำงานร่วมกับทีมสื่อสาร
4. อื่น ๆ
ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย 1. ผู้รับผิดชอบโครงการ 2. คณะทำงาน 3. ตัวแทนสื่อมวลชน

 

ผู้มีส่วนร่วมเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน ผลการจัดเวทีในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

 

เวทีการนำเสนอข้อมูล และรับฟังแนวทางการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม ศาลาด่านโมเดลการท่องเที่ยวปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม 27 ก.ค. 2565 27 ก.ค. 2565

 

การจัดเวทีสาธารณะ เป็นการให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในประเด็นด้านฐานทรัพยากรและภัยพิบัติ และท้องถิ่น คือ เทศบาลตำบลศาลาด่าน ได้นำเสนอข้อมูล และให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นให้นำสู่ การดำเนินการปฏิบัติ เพื่อเป้าหมายการกำหนดข้อบัญญัติท้องถิ่น หรือข้อตกลง ความร่วมมือที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา ภายใต้กรอบการจัดการภัยพิบัติ และการอนุรักษ์ฐานทรัพยากรธรรมชาติ โดยการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีผู้เข้าร่วมจากหลายภาคส่วน ภาครัฐ โดยนายอำเภอเกาะลันตา ท้องถิ่น นายกเทศมนตรีตำบลศาลาด่าน และคณะผู้บริหาร ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม ภาคชุมชน แกนนำท้องที่ จากทั้ง 5 หมู่บ้าน ภาควิชาการ
ภาคสื่อมวลชน

 

1) จำนวนและกลุ่มผู้เข้าร่วมตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2) เกิดการมีส่วนร่วมจากหลากภาคส่วน 3) มีการกำหนดเป้าหมายและแนวทางการทำงานร่วมกัน 4) เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย ขยายผลเชิงนโยบาย (ปฏิญญาอ่าวลันตา)

 

ประชุมคณะทำงานสรุปงานและจัดทำรายงานงวดที่ 1 4 ส.ค. 2565 4 ส.ค. 2565

 

เป็นการจัดทำรายงานขึ้นเพื่อรวบรวมผลการดำเนินงานใน งวดที่ 1 ของโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ดำเนินการชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง ตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โดยภายในเล่ม ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 กระบวนการดำเนินงาน และผลการดำเนินงานใน งวดที่ 1 และส่วนที่ 3 คณะทำงานขับเคลื่อนการส่งเสริมกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาบูรณาการการ

 

ไฟล์รายการการดำเนินงานงวดที่ 1

 

ประชุมเตรียมความพร้อมจัดอบรมการจัดทำแผนผังทรัพยากรในวันที่ 17-18 ตุลาคม 2565 8 ก.ย. 2565 8 ก.ย. 2565

 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน พร้อมด้วยแกนนำสื่อ เข้าร่วมประชุมร่วมกับคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลศาลาด่าน พร้อมด้วยตัวแทนจาก 5 หมู่บ้าน ท่องเที่ยวชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง ภาคเอกชน และชุมชน จำนวนรวม 20 คน เข้าร่วมประชุมเพื่อหารือและวางแผนการอบรมการจัดแผนผังทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน โดยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดการประชุม และวางแผนแนวทางการดำเนินงานก่อนการประชุม ได้แก่ 1. การประกาศรายชื่อคณะกรรมการอำนวยการและคณะทำงานอย่างเป็นทางการ 2. การสื่อสารสร้างความเข้าใจให้แก่ตัวแทนทั้ง 5 หมู่บ้านให้เข้าใจการทำงาน และให้เข้ามาร่วมส่วนร่วมเพื่อเป้าหมาย ศาลาด่านโมเดล ท่องเที่ยวปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมดี
3. กำหนดการจัดอบรมวันที่ 17 ตุลาคม 2565 เป้าหมาย 50 คน

 

เกิดความเข้าใจในโครงการเพิ่มมากขึ้น และเกิดการมีส่วนร่วมในการเตรียมจัดอบรมวันที่ 17-18 ตุลาคม 2565

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการ นโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 26 ก.ย. 2565 26 ก.ย. 2565

 

เข้าร่วมประชุมรับความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิ และฝึกปฏิบัติการเขียนแผนงานนโยบาย และเข้าร่วมดูงานนอกสถานที่

 

1.สามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้และเผยแพร่ต่อได้ 2.สามารถเขียนแผนนโยบายได้

 

การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนผังภูมินิเวศและการจัดการภัยพิบัติ 17 ต.ค. 2565 17 ต.ค. 2565

 

1.การประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยการจัดกระบวนการกลุ่ม 2.การระดมความคิด เพื่อให้ได้แผนผังภูมินิเวศ และแผนการจัดการภัยพิบัติ 3.การระดัมความคิด เพื่อจัดทำโครงการฟื้นฟู อนุรักษ์ พัฒนา ให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่

 

จำนวนกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรมเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และได้ผลลัพธ์น่าพึงพอใจ ได้แผนผังภูมินิเวศในแต่ละหมู่บ้าน และแผนการจัดการภัยพิบัติ

 

ประชุมสรุปข้อมูลจากเวที 17-18 ตุลาคม 65 และวางแผนเพื่อดำเนินงานเก็บข้อมูลฐานทรัพยากร 3 พ.ย. 2565 3 พ.ย. 2565

 

1.สรุปผลการอบรมจากเวที 17-18 ตุลาคม 65 เป็นเอกสารข้อมูล 2. นำจัดทำเป็นแผน Matric 3. ร่างกำหนดการประชุมคืนข้อมูล (2 ธันวาคม 65) 4. วางแผนการเก็บข้อมูลฐานทรัพยากรในพื้นที่

 

ได้ผลิต และผลลัพธ์ ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

 

ประชุมการติดตามงานในพื้นที่และวางแผนงานการบูรณาการประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ และความมั่นคงทางอาหาร 18 พ.ย. 2565 18 พ.ย. 2565

 

เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการกับหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ โดยการประสานกับนายอำเภอเกาะลันตา ในการให้คำแนะนำนักวิจัย ในการเชื่อมโยงการขับเคลื่อนงานในประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ จากตำบลศาลาด่าน ขยายผลไปสู่ตำบลเกาะลันตาน้อย ซึ่งเป็นตำบลใกล้เคียง

 

เกิดแผนงานในการขับเคลื่อนการทำงาน

-

ประชุมวางแผนการสร้างความมั่นคงทางอาหารควบคู่กับการอนุรักษ์ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ต.เกาะลันตาน้อย 28 พ.ย. 2565 28 พ.ย. 2565

 

1) ประชุมหารือเพื่อหาข้อสรุปในการดำเนินงานร่วมกับนายอำเภอเกาะลันตา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2) กำหนดแนวทางการทำงาน มอบหมายผู้ประสานงานเพื่อจัดการประชุมวางแผนงาน 3) จัดประชุมเพื่อวางแผนการทำงานในวันที่ 28 พฤศจิกายน 4) เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนงานในพื้นที่

 

1) เกิดแผนปฏิบัติงานและแนวทางการทำงานที่ชัดเจน 2) เกิดคณะทำงานในพื้นที่ควบคู่การทำงานกับทีมนักวิชาการ

-

ประชุมวางแผนเตรียมข้อมูลสำหรับการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น 1 ธ.ค. 2565 1 ธ.ค. 2565

 

1) ศึกษาข้อมูลพื้นที่ที่จะเสนอเพื่อเป็นโซนศาลาด่านโมเดล 2) ประสานงานแกนนำชุมชนชาวเล เพื่อจัดประชุมกลุ่มย่อย 3) จัดประชุมกลุ่มย่อย focus group ในวันที่ 1 ธันวาคม 66

 

ได้ชุดข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ที่เชื่อมโยงระหว่างแหล่งที่อยู่อาศัย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรม

-

ประชุมนำเสนอข้อมูลจากเวทีการอบรมแผนผังภูมินิเวศเพื่อนำสู่การพัฒนาเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น 2 ธ.ค. 2565 2 ธ.ค. 2565

 

1) นักวิชาการรวบรวมข้อมูลจากเวทีอบรมแผนผังภูมินิเวศ 2) จัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนาเป็นข้อบัญญัติหรือธรรมนูญท้องถิ่น/ชุมชน 3) เลือกพืั้นที่และวางแผนปฏิบัติการ

 

เกิดข้อเสนอการจัดทำโซน ศาลาด่านโมเดล ในพื้นที่ ม.1 บ้านศาลาด่าน ม.5 บ้านโล๊ะดุหยง และ ม.4 บ้านทุ่งหยี ให้เป็นการท่องเที่ยวปลอดภัย และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชุมชน

-

การประชุมเชิงปฏิบัติการคืนข้อมูลความมั่นคงด้านอาหารพื้นที่บ้านหลังสอด 25 ม.ค. 2566 25 ม.ค. 2566

 

กระบวนการปฏิบัติงานอย่างมีส่วนร่วม ระยะเวลา 1 เดือนในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อค้นหาฐานผลิตทางการเกษตรของบ้านหลังสอด โดยใช้หลัก SWOT มาวิเคราะห์ และส่งคืนข้อมูล

 

ชุมชนเห็นศักยภาพของพื้นที่ตนเอง มีแนวคิดจะจัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจเพื่อเป็นกลุ่มเกษตรกร เป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตรที่ตนเองมี

เป็นปัญหาทางกายภาพ ได้แก่ พันธ์พืชยังไม่ได้รับการพัฒนา สภาพดินที่ต้องมีการปรับปรุง และความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ ที่ส่งผลต่อฤดูกาลการเพาะปลูก  แนวทางการแก้ไข คือ การหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาให้คำแนะนำ เพื่อการปรับตัวในการทำการเกษตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ