สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการภูเก็ตเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย (งานบริหารกลาง)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่มีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนที่มีภาวะเนือยนิ่งมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 (วัดจากกลุ่มที่มาทำกิจกรรมทางกายใน 5 พื้นที่) 2.ประชาชนที่มีกิจกรรมทางกายอยู่แล้ว เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในระดับที่เพียงพอ ร้อยละ 10 (วัดจากกลุ่มที่มาทำกิจกรรมทางกายใน 5 พื้นที่)
0.00

 

 

 

2 เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของนักท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด : 1.นักท่องเที่ยวที่เข้ามาใน 5 พื้นที่ เข้าร่วมกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20
0.00

 

 

 

3 เพื่อสนับสนุนให้เมืองภูเก็ตเป็นเมืองที่มีสภาพแวดล้อมที่กระฉับกระเฉง (Active Environment)
ตัวชี้วัด : 1.ใน 5 พื้นที่มีแผนและโครงการปรับสภาพแวดล้อมและมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพออย่างต่อเนื่อง
0.00

 

 

 

4 4.เพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือกับเครือข่ายและกลไกทางสังคมในการพัฒนาภูเก็ตเป็นเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายระดับประเทศและนานาชาติ
ตัวชี้วัด : 1.มีข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างภาคเอกชน ท้องถิ่น ชุมชน และภาคการศึกษา ในการพัฒนาภูเก็ตเป็นเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายระดับประเทศและนานาชาติ 2.มีแผนในการพัฒนาภูเก็ตเป็นเมืองต้นแบบในการส่งเสริมพื้นที่สุขภาวะเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายระดับประเทศและนานาชาติ
0.00

 

 

 

5 5.เพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการประเด็นกิจกรรมทางกายควบคู่กับวัฒนธรรมการบริโภคอาหารนำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
ตัวชี้วัด : 1.แผนและโครงการใน 5 พื้นที่ มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเพิ่มกิจกรรมทางกายและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมพื้นถิ่น
0.00